SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  13
Télécharger pour lire hors ligne
1
กระบวนการการทางานในห้องสมุด VS เนื้อหาวิชาชีพ VS โครงสร้าง
หลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา
โดย อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์
ภาคปลาย ปีการศึกษา 2557
เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2558
คาถาม: หลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษามีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับกระบวนการการทางานใน
ห้องสมุด หรือลักษณะงานในห้องสมุด และเนื้อหาวิชาชีพสารสนเทศศึกษา อย่างไร จงอธิบาย
ในการอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา กระบวนการ
การทางานในห้องสมุด หรือลักษณะงานในห้องสมุด และเนื้อหาวิชาชีพสารสนเทศศึกษา
นักศึกษาต้องอ่านรายละเอียดของทั้ง 3 หัวข้อต่อไปนี้ และหาจุดเชื่อมโยง หรือสัมพันธ์กัน
กระบวนการการทางานในห้องสมุด
กระบวนการการทางานในห้องสมุด สามารถศึกษาได้จากแผนภูมิโครงสร้างการบริหารงานของ
ห้องสมุดแห่งนั้น ในที่นี้ขอใช้แผนภูมิการแบ่งส่วนงานของ สานักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย และสานักบรรณสารการพัฒนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ มาช่วยในการอธิบาย
โครงสร้างองค์กรของสานักงานวิทยทรัพยากร (หอสมุดกลาง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(http://www.car.chula.ac.th/topic/organizationinfo)
2
ปัจจุบัน สานักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประกอบด้วย 1 ฝ่าย และ 8
ศูนย์ดังนี้
1. ฝ่ายบริหาร (AdministrativeDivision) เป็นสานักงานผู้อานวยการ มีภาระหน้าที่
รับผิดชอบ สนับสนุนงานบริหารด้านแผน งบประมาณ การเงิน บัญชี พัสดุ บุคคล สารบรรณ
งานระบบกายภาพ ประกันคุณภาพ เทคโนโลยีสารสนเทศ และงานบริหารอื่น ๆ (คนทางานไม่
จาเป็นต้องจบวิชาชีพบรรณารักษ์ เป็นฝ่ายสนับสนุนข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการห้องสมุด)
นับตั้งแต่ข้อ 2-6 งานของศูนย์ต่างๆ เหล่านี้คืองานของบรรณารักษ์ซึ่งผู้สอนได้จัดเรียงลาดับ
ศูนย์ตามกระบวนการการทางานของห้องสมุด
2. ศูนย์พัฒนาและวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ (Collection Development & Information
Resource Analysis Center) รับผิดชอบการจัดหาสารสนเทศชนิดต่าง ๆ ทั้งในรูปสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์
และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ จากการจัดซื้อ การบอกรับเป็นสมาชิกจากสานักพิมพ์ทั้งในประเทศและ
ต่างประเทศ รวมทั้งจากการบริจาค และแลกเปลี่ยนจากสถาบันระดับชาติ และนานาชาติ โดย
ครอบคลุมทุกสาขาวิชาที่มีการเรียนการสอนในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และดูแลรักษาสภาพสิ่งพิมพ์
ให้คงทนถาวรด้วย (คืองานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ - - Collection Development)
3. ศูนย์จัดการทรัพยากรสารสนเทศ (Information Resources Management Center)
รับผิดชอบ การจัดการทรัพยากรสารสนเทศประเภทสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์
(ยกเว้นฐานข้อมูลและสื่อออนไลน์) โดยมีกระบวนงานตั้งแต่ รับทรัพยากรสารสนเทศเข้าระบบคลังเพื่อ
การคัดเลือก จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศให้พร้อมใช้งาน จัดเก็บ-จัดเรียงขึ้นชั้น สารวจและ
ประเมินสภาพทรัพยากร อนุรักษ์และบารุงรักษาทรัพยากรสารสนเทศ วางแผนพื้นที่จัดเก็บทรัพยากร
(คืองานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศและสร้างฐานข้อมูลห้องสมุด- -Classification & Cataloging,
การจัดเตรียม-จัดเก็บ-จัดเรียงขึ้นชั้น รวมงานซ่อมและบารุงรักษาทรัพยากรสารสนเทศ)
4. ศูนย์บริการสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้และวิจัย (Information Services Center for
Learning and Research - ILR) มีภาระหน้าที่รับผิดชอบในการจัดการบริการสารสนเทศ และส่งเสริม
การรู้สารสนเทศ ศึกษาและเลือกใช้นวัตกรรมการบริการเพื่อการพัฒนาบริการพื้นฐานและบริการเชิง
ลึก ตัวอย่างงาน เช่น บริการตอบคาถามและช่วยค้นคว้า (Reference Services), บริการฐานข้อมูล
ทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด (OPAC), จัดอบรมการใช้งานฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด
(OPAC) และระบบสืบค้น Single Search, แนะนา/สอนการเขียนและการจัดการบรรณานุกรมและการ
อ้างอิง, จัดทาคู่มือ OPAC และระบบสืบค้น Single Search, บริการ One StopServices, บริการ
สนับสนุนการวิจัย (Research SupportServices), บริการฐานข้อมูลเพื่อการค้นคว้าวิจัย (CU Reference
Databases), บริการสืบค้นสารสนเทศ ประมวล และ/หรือสังเคราะห์สารสนเทศ เพื่อการวิจัย, ปฐมนิเทศ
การใช้ห้องสมุด, อบรม/สอนการรู้และการใช้ทรัพยากรสารสนเทศและบริการ, บริการยืม-คืนทรัพยากร
3
สารสนเทศและบริการระหว่างห้องสมุด (Circulation & Interlibrary Service) ฯลฯ (คืองานบริการ
สารสนเทศ - - Information Services and Dissemination ทั้งหมด ได้แก่ งานบริการตอบคาถามและช่วย
การค้นคว้าวิจัย งานบริการยืมคืน งานบริการยืมระหว่างห้องสมุด งานการส่งเสริมการอ่านและ
การใช้ห้องสมุด)
5. ศูนย์พัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี (Centerfor Media Development, Innovation
and Technology) เดิมคือ ศูนย์โสตทัศนศึกษากลาง (Audio Visual Center) มีหน้าที่ผลิต และบริการสื่อ
เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน การค้นคว้าวิจัยของอาจารย์ นิสิต บุคลากร และหน่วยงานต่างๆ ของ
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีภารกิจในการบันทึกองค์ความรู้ ภูมิปัญญาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ในรูปสื่อชนิดต่างๆ โดยเก็บไว้ในรูปของวีดิทัศน์ และนามาบริหารจัดการ จัดเก็บอย่างเป็นระบบ ให้อยู่
ในรูปแบบมาตรฐานของการใช้งาน และเผยแพร่ให้ประชาคมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ใช้งานอย่างมี
ประสิทธิภาพ นอกจากนั้นยังให้บริการถ่ายทอดสดกิจกรรมต่างๆ ผ่านระบบเครือข่าย บริการผลิตสื่อ
กราฟิก สื่อภาพดิจิทัล สื่อเสียง สื่อวีดิทัศน์ สื่อผสม และสื่อใหม่ๆ (คืองานโสตทัศนวัสดุและ
อุปกรณ์ - - Audio Visual Materials & Equipment ตอนนี้พัฒนามาเป็น “ศูนย์พัฒนาสื่อประเภทต่างๆ”)
6. ศูนย์เครือข่ายห้องสมุดดิจิทัลจุฬาฯ (CUDigital Library Center) เป็นผู้ดูแลพัฒนา
ระบบห้องสมุดดิจิทัลและบริหารจัดการเครือข่าย เพื่อสนับสนุนบริการสืบค้นสารสนเทศ มีหน้าที่หลัก
คือ
- บริหารจัดการระบบห้องสมุดอัตโนมัติของเครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดในจุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย (Chulalinet)
- ดูแลเครือข่ายของสานักงานวิทยทรัพยากร และห้องสมุดในเครือข่ายฯ ให้สามารถรองรับการ
ให้บริการสารสนเทศออนไลน์ เพื่อประโยชน์ต่อการเรียนการสอนและการค้นคว้าวิจัย
- บริหารจัดการอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายของสานักงานฯ พร้อมทั้งให้
คาปรึกษาทางด้านเทคโนโลยีกับห้องสมุดในเครือข่ายฯ
- พัฒนาโปรแกรมที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพในการให้บริการต่างๆ ของสานักงานวิทยทรัพยากร
- อบรมเสริมสร้างความรู้แก่บุคลากรของสานักงานฯ และเครือข่ายห้องสมุดฯ ให้มีความรู้ด้าน
เทคโนโลยี
(คืองานเทคโนโลยีสารสนเทศ - - Information Technology)
7. ศูนย์มรดกภูมิปัญญา จุฬาฯ(CU Intellectual Heritage Center) มีหน้าที่ในการดาเนินงาน
พัฒนาและบริการทรัพยากรสารสนเทศที่เป็นมรดกทางภูมิปัญญาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยการ
จัดหาและรวบรวมหนังสือ/เอกสารที่เป็นสิ่งพิมพ์หายาก และสื่อต่างๆที่ทรงคุณค่าของมหาวิทยาลัย
พร้อมจัดบริการที่มีประสิทธิภาพ ให้ความสาคัญกับการสงวนรักษาและอนุรักษ์ต้นฉบับอย่างเป็นระบบ
และต่อยอดองค์ความรู้ด้วยนวัตกรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (คืองานจัดเก็บและให้บริการหนังสือหา
ยาก- - Rare Books ซึ่งห้องสมุดส่วนใหญ่ไม่มีงานนี้)
4
8. ศูนย์สารสนเทศนานาชาติ (International Information Center) รวบรวมและให้บริการ
ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการศึกษาเฉพาะภูมิภาครวมถึงความร่วมมือระหว่างประเทศในโครงการ
พัฒนาในภูมิภาคต่าง ๆ ทั่วโลกทั้งในรูปแบบสิ่งพิมพ์สื่ออิเล็กทรอนิกส์และฐานข้อมูลออนไลน์จัดแบ่ง
ตามประเทศหรือกลุ่มประเทศ และตามองค์กรที่มีความร่วมมือกัน ดังนี้ ทรัพยากรสารสนเทศเกี่ยวกับ
สหภาพยุโรปและประเทศในทวีปยุโรป(European documentation), ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการศึกษา
เกี่ยวกับประเทศสหรัฐอเมริกา(American studies), ทรัพยากรสารสนเทศที่จัดทาโดยธนาคารโลก
(World Bank documentation) โดยกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund- IMF)
และโดยธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank documentation) (ห้องสมุดส่วนใหญ่ไม่มีศูนย์นี้)
9. ศูนย์เอกสารประเทศไทย (Thailand Information Center) รวบรวมเอกสารสิ่งพิมพ์
เฉพาะด้าน โดยจะเน้นทางด้านสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวกับประเทศไทย และประเทศใน
เอเชีย รวมทั้งประเทศอื่นๆ ที่มีสถานการณ์และปัญหาสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ที่มีความสัมพันธ์กับ
ประเทศไทย โดยจะมีเอกสารทั่วไปและเอกสารที่พิมพ์ในจานวนจากัด เช่น วิทยานิพนธ์ขั้นปริญญาโท
และเอกทั้งในประเทศและต่างประเทศ รายงานการการสารวจและวิจัย รายงานการประชุมสัมมนา
ข้อมูลสถิติ เป็นต้น รวมทั้งบทความจากวารสารและหนังสือพิมพ์ที่ได้เลือกสรรแล้ว
ต่อไปจะเป็นโครงสร้างองค์กรของสานักบรรณสารการพัฒนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร
ศาสตร์ หรือ ห้องสมุดนิด้า (http://library.nida.ac.th/2015/index.php/th/about-us/lic-struc/struc-lib)
5
สานักบรรณสารการพัฒนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ หรือห้องสมุดนิด้า จัดแบ่ง
โครงสร้างองค์กรโดยแยกภาระงานวิชาชีพของบรรณารักษ์ / นักวิชาการ ออกจากงานปฏิบัติการ
ห้องสมุด ดังนั้นจึงแบ่งงานออกเป็น ๒ ส่วน คือ
๑) กลุ่มสนับสนุนการปฏิบัติงานห้องสมุด เป็นสายงานหลักด้านการดาเนินงานห้องสมุด
กลุ่มผู้ปฏิบัติงานนี้ ประกอบด้วย กลุ่มงานเทคนิค กลุ่มงานบริการ และกลุ่มงานจดหมาย
เหตุ
๒) สานักงานเลขานุการ เป็นสายงานที่ปฏิบัติงานสนับสนุนในสายงานหลัก ประกอบด้วย
กลุ่มงานบริหารและธุรการ กลุ่มงานการเงินและพัสดุ และกลุ่มงานแผนและพัฒนาองค์การ
กลุ่มสนับสนุนการปฏิบัติงานห้องสมุด
เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบการดาเนินงานและปฏิบัติงานห้องสมุดแบ่งออกเป็น ๓ กลุ่มงาน คือ
กลุ่มงานเทคนิค กลุ่มงานบริการ และกลุ่มงานจดหมายเหตุ มีขอบเขตภาระงาน ดังนี้
๑. กลุ่มงานเทคนิค มีขอบเขตภาระงานดังนี้
๑.๑ งานเตรียมข้อมูลในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ มีหน้าที่รวบรวมความ
ต้องการทรัพยากรสารสนเทศจากแหล่งต่าง ๆ เช่น คณาอาจารย์ นักศึกษา และ Course Syllabus
เป็นต้น และทาการตรวจสอบกับฐานข้อมูลว่ามีทรัพยากรสารสนเทศนั้นในห้องสมุดหรือไม่ พร้อมทั้ง
รวบรวมข้อมูลการใช้บริการทรัพยากรสารสนเทศนั้น เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ
สาหรับทรัพยากรสารสนเทศประเภทวารสารได้มีการจัดเตรียม / สารวจข้อมูลวารสารเพื่อการจัดหา
ได้แก่ ข้อมูลสถานที่ติดต่อ ราคาบอกรับเป็นสมาชิกปีปัจจุบัน ใบสมัครสมาชิก และติดต่อผู้จัดทา /
สานักพิมพ์เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลก่อนการสั่งซื้อ
๑.๒ งานจัดเก็บ / ปรับปรุงฐานข้อมูล มีหน้าที่จัดเก็บ / บันทึกข้อมูล / ปรับปรุง
ฐานข้อมูลต่าง ๆ ได้แก่ ฐานข้อมูลหนังสือ งานวิจัยและสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศนวัสดุ ฐานข้อมูลวารสาร
ฐานข้อมูลดรรชนีวารสารไทย และฐานข้อมูลเศรษฐกิจพอเพียง
๑.๓ งานเตรียมทรัพยากรสารสนเทศเพื่อออกให้บริการ มีหน้าที่เตรียมและ
ตรวจสอบความเรียบร้อยของทรัพยากรสารสนเทศเพื่อให้บริการ ได้แก่ การติดใบรองปกหนังสือ ติด
บัตรกาหนดส่ง ติดบาร์โค้ด และเทปแม่เหล็ก พิมพ์ Label เลขเรียงหนังสือ ติดสันหนังสือ
จัดทารายชื่อหนังสือพร้อมส่งตัวเล่มออกให้บริการ
๑.๔ งานแปลงเอกสารสื่อสิ่งพิมพ์ให้อยู่ในรูปดิจิทัล มีหน้าที่จัดการสแกนหนังสือ
ใหม่ ได้แก่ หน้าปก สารบัญ และเนื้อหา 10 หน้าแรก เพื่อการเป็น e-Library และเอกสารสิ่งพิมพ์ของ
สถาบันที่เป็นรูปเล่มให้เป็นดิจิทัล
๑.๕ งานเชื่อมโยงเอกสารฉบับเต็มกับรายการทางบรรณานุกรม มีหน้าที่
เชื่อมโยงเอกสารฉบับเต็ม (Full text) กับรายการดรรชนีในฐานข้อมูลดรรชนีวารสารไทย เพื่อผู้ใช้จะได้
อ่านบทความฉบับเต็มขณะสืบค้น โดยไม่ต้องหาวารสารจากชั้น
6
๑.๖ งานวารสารเย็บเล่ม มีหน้าที่รวบรวมและจัดเตรียมรายชื่อวารสารฉบับปลีกเพื่อ
ส่ง เย็บเล่ม พร้อมทั้งตรวจสอบความถูกต้องและความสมบูรณ์ของตัวเล่มวารสารเมื่อได้รับคืนจาก
ร้านค้า ตลอดจนจัดเตรียมวารสารที่เย็บเล่มแล้วส่งให้งานบริการเพื่อออกให้บริการต่อไป
๑.๗ งานอนุรักษ์และบารุงรักษาสภาพสิ่งพิมพ์ นาสิ่งพิมพ์ที่มีคุณค่าและผ่านการ
ออกให้บริการแก่ผู้ใช้ที่มีสภาพรูปเล่มไม่แข็งแรง ชารุดในส่วนต่าง ๆ มาดาเนินการตามวิธีการอนุรักษ์
สิ่งพิมพ์ โดยเลือกใช้วิธีให้เหมาะสมกับสภาพการชารุดของสิ่งพิมพ์นั้น ๆ ให้กลับมีสภาพที่ดีและยืดอายุ
การใช้งาน สามารถนาออกให้บริการได้ต่อไป สาหรับสิ่งพิมพ์ที่จัดหามาใหม่แต่มีสภาพรูปเล่มไม่
ทนทาน ดูไม่เหมาะสมก็จะดาเนินการหุ้มปกพลาสติกก่อนนาออกให้บริการ
๑.๘ งานพิมพ์บันทึกข้อความที่เกี่ยวเนื่องกับงานเทคนิค ได้แก่ งานพิมพ์บันทึก
ส่งโสตทัศนวัสดุ งานพิมพ์บันทึกส่งคืนวารสารที่ทาดรรชนีเสร็จแล้ว และงานพิมพ์บันทึกรายชื่อ
วารสารที่ทางสานักรับผิดชอบทาดรรชนีร่วมกับสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นต้น
๒. กลุ่มงานบริการ มีขอบเขตภาระงานดังนี้
๒.๑ งานบริการยืมคืน มีหน้าที่จัดการเกี่ยวกับทะเบียนสมาชิก, งานโอนข้อมูลจาก
ฐานข้อมูลกองบริการการศึกษา (หมายถึงสานักทะเบียนและประมวลผลของ UTCC), งานบัตรสมาชิก,
บริการยืม-คืน, บริการจองหนังสือ, บริการหนังสือสารองประจาวิชาและทั่วไป, บริการหนังสือ
สถานภาพ On Shelf, บริการหนังสือส่งถึงที่ Book Delivery Service (BDS), บริการให้ยืมระหว่าง
ห้องสมุด, งานเตือนสิ่งพิมพ์ก่อนครบกาหนดส่ง งานทวงสิ่งพิมพ์ค้างส่ง, งานแจ้งหนังสือด่วนคณาจารย์,
ถอนหนังสือที่หมดอายุการจอง, งานปรับ, งานตรวจสอบพันธะ, งานหนังสือจากตู้นอกเวลา, บริการ
ห้องค้นคว้า, บริการขอเลข ISBN/ISSN, บริการรับ-ส่งโทรสาร, รับหนังสือบริจาคและจัดทารายชื่อส่ง
งานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ, ควบคุมดูแลเสียงตามสายของสานัก, งานควบคุมดูแลระบบทางเข้า,
งานตรวจสอบความปลอดภัยเกี่ยวกับทรัพยากรสารสนเทศ, งานสถิติ
๒.๒ งานบริหารจัดการระบบการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ มีหน้าที่จัดการ
ตรวจรับทรัพยากรสารสนเทศใหม่ที่รับจากงานเทคนิค, บริหารจัดการระบบการจัดเก็บหนังสืออ้างอิง
หนังสือภาษาไทยและหนังสือภาษาอังกฤษ เอกสารตารา งานวิจัย วิทยานิพนธ์ ภาคนิพนธ์ เอกสาร
World Bank บทคัดย่อวิทยานิพนธ์ /งานวิจัย สามะโนประชากร เอกสารการประชุม, การจัดแสดง
หนังสือใหม่/เอกสาร World Bank จุลสาร วารสารใหม่, จัดการวารสารฉบับปีปัจจุบัน วารสารเย็บ
เล่มภาษาไทย วารสารเย็บเล่มภาษาอังกฤษ หนังสือพิมพ์ ให้พร้อมบริการ, งานสารวจทรัพยากร
สารสนเทศ, งานตรวจสอบ /อ่านชั้น/ปรับขยายชั้น ป้ายหมวดหมู่, ดูแลที่นั่งอ่าน, งานคัดออก,
งานส่งซ่อม, ฝึกอบรมการจัดชั้นให้แก่เจ้าหน้าที่งานอื่น ๆ, งานสถิติ
๒.๓ งานบริการระหว่างห้องสมุด มีหน้าที่รับคาขอรับบริการจากบรรณารักษ์บริการ
สารสนเทศ และให้บริการระหว่างห้องสมุดทั้งในรูปแบบของเอกสารฉบับจริง ถ่ายเอกสาร แฟ้มข้อมูล
การสแกน โดยวิธีมาติดต่อขอรับบริการด้วยตนเอง ทางไปรษณีย์ โทรสาร แนบแฟ้มข้อมูลกับ
จดหมายไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) และMSN โดยจะประสานงานกับร้านค้าเพื่อถ่ายเอกสาร
ระหว่างห้องสมุด คิดราคาค่าบริการระหว่างห้องสมุด พิมพ์จดหมายนาส่งเอกสารระหว่างห้องสมุด
7
พิมพ์ใบแจ้งราคาและซอง เก็บหลักฐานบริการถ่ายเอกสารระหว่างห้องสมุด ประสานงานกับสานักงาน
เลขานุการเรื่องการส่งเอกสารระหว่างห้องสมุดและการเงิน งานสถิติ
๒.๔ งานข้อมูลประชาสัมพันธ์ มีหน้าที่รวบรวม เตรียมข้อมูล และ ปรับปรุง
(Update) ข้อมูลที่งานบริการต้องการประชาสัมพันธ์ให้กับผู้ใช้บริการทราบ
๒.๕ งานจัดอบรมที่เกี่ยวกับการใช้ห้องสมุด มีหน้าที่เตรียมการจัดอบรมตั้งแต่
เตรียมข้อมูลที่จะประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการอบรม การรับสมัครผู้เข้าอบรม การเชิญวิทยากร การจัด
ตารางห้องอบรม การจัดการในวันอบรม และการรวบรวมข้อมูลในการประมวลผลส่งให้สานักงาน
เลขานุการทาการประเมินผล
๒.๖ งานบริการวีดิทัศน์ มีหน้าที่จัดตารางการบริการวีดิทัศน์ ดูแล และควบคุมห้อง
โสตวีดิทัศน์ และให้บริการวีดิทัศน์ตามตาราง
๓. กลุ่มงานจดหมายเหตุ เป็นหน่วยงานที่ทาหน้าที่รวบรวมประวัติบุคคลสาคัญของสถาบัน
บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ทั้งในอดีตและปัจจุบัน รวบรวม จัดเก็บเอกสารจดหมายเหตุ / เอกสารโสต
ทัศนจดหมายเหตุของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ให้เป็นระบบเพื่อสะดวกต่อการศึกษา ค้นคว้า
ความเป็นมาและพัฒนาการของสถาบัน เพื่ออนุรักษ์เอกสารจดหมายเหตุ / เอกสารโสตทัศนจดหมาย
เหตุของสถาบันให้เป็นหลักฐานเชิงประวัติศาสตร์ที่ถาวร และเผยแพร่สารสนเทศจดหมายเหตุแก่
หน่วยงานและบุคคลทั้งภายในและภายนอกสถาบัน
กลุ่มงานจดหมายเหตุประกอบด้วยงานย่อย ๓ งานคือ งานรวบรวมเอกสารจดหมายเหตุ /
เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุ งานจัดเก็บเอกสารจดหมายเหตุ / เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุ งาน
บริการสารสนเทศจดหมายเหตุ มีขอบเขตภาระงานดังนี้
๓.๑ งานรวบรวมเอกสารจดหมายเหตุ / เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุ ทาหน้าที่
รับมอบเอกสารจดหมายเหตุ / เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุที่เกี่ยวกับประวัติ พัฒนาการ และการ
ดาเนินงานของสถาบัน ซึ่งมีลักษณะเป็นเอกสารจดหมายเหตุ ตามที่กาหนดไว้
๓.๒ งานจัดเก็บเอกสารจดหมาย / เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุ ทาหน้าที่
จัดเก็บเอกสาร จดหมายเหตุ / เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุ, สแกนต้นฉบับเอกสารจดหมายเหตุ,
อนุรักษ์เอกสารจดหมายเหตุ / เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุตามหลักวิชาการจดหมายเหตุ, รวบรวม
สารสนเทศจากเอกสารจดหมายเหตุ / เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุเพื่อจัดนิทรรศการ, จัดทาเอกสาร
ประกอบนิทรรศการ และจัดทาเอกสารประชาสัมพันธ์งานจดหมายเหตุ
๓.๓ งานบริการสารสนเทศจดหมายเหตุของสถาบัน ทาหน้าที่เผยแพร่สารสนเทศ
จดหมายเหตุแก่หน่วยงาน และบุคคลทั้งภายในและภายนอกสถาบัน มีรายละเอียดดังนี้ คือ จัดแสดง
ให้คาแนะนา / ตอบคาถามเรื่องที่เกี่ยวข้องกับเอกสารจดหมายเหตุ / เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุ
บริการสาเนาเอกสารจดหมายเหตุ / เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุ และให้บริการยืมเอกสารจดหมาย
เหตุ / เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุแก่บุคคล / หน่วยงานเจ้าของเอกสาร
สานักงานเลขานุการ
8
เป็นหน่วยงานสนับสนุนการบริหารและการดาเนินงานห้องสมุด มีหน้าที่รับผิดชอบบริหารและ
อานวยการ ๓ กลุ่มงาน มีขอบเขตภาระงาน ดังนี้
๑. กลุ่มงานบริหารและธุรการ ทาหน้าที่เป็นหน่วยงานกลางของสานักบรรณสารการพัฒนา ใน
การให้บริการและอานวยความสะดวกแก่การดาเนินงานห้องสมุด ซึ่งปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ เช่นงาน
ธุรการ งานสารบรรณ งานสถานที่และครุภัณฑ์ งานประชาสัมพันธ์ งานจัดการความรู้ งานบริหาร
ความเสี่ยง งานประเมินความพึงพอใจ และทาหน้าที่ฝ่ายเลขานุการการประชุม สายสนับสนุนของ
สานัก
๒. กลุ่มงานการเงินและพัสดุ ทาหน้าที่เป็นหน่วยงานในการบริหารและปฏิบัติงานเกี่ยวกับการ
เบิกจ่ายเงิน การจัดทาบัญชีพัสดุ จัดซื้อ จัดจ้าง วัสดุ-ครุภัณฑ์ หนังสือ วารสาร และฐานข้อมูล
ออนไลน์ รวมทั้งบริหารการใช้จ่ายเงินของสานัก ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล
สามารถตรวจสอบได้
๓. กลุ่มงานแผนและพัฒนาองค์การ ทาหน้าที่ประสานจัดทาแผนระดับต่าง ๆ ทั้งแผนระยะยาว
แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติงานและติดตามผลการปฏิบัติงานตามแผน จัดทางบประมาณประเภทต่าง ๆ
งานประกันคุณภาพ งานทรัพยากรบุคคล สนับสนุนงานบริการทางวิชาการของสานัก
9
ตัวอย่าง Organization Chart ของ Princeton University Library
(http://library.princeton.edu/about/orgchart)
สิ่งที่นักศึกษาต้องจับประเด็นให้ได้:
งานของห้องสมุด มีงานอะไรบ้าง หากยึดกระบวนการการทางานในห้องสมุดเป็นหลัก คือ เริ่ม
ตั้งแต่งานจัดหา งานเทคนิค และงานบริการ จากนั้นก็จะเป็นงานอื่นๆ อาทิ งานจดหมายเหตุ
งานหนังสือหายาก ฯลฯ และในแต่ละงานมีหน้าที่ความรับผิดชอบ อะไรบ้าง
เนื้อหาวิชาชีพสารสนเทศศึกษา
ชุติมา สัจจานันท์ (2546) กล่าวว่า IFLA กาหนดองค์ประกอบหลักของเนื้อหาวิทยาการ
สาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ ไว้ดังนี้
1. สิ่งแวดล้อมทางด้านสารสนเทศ นโยบายและจริยธรรมสารสนเทศ ประวัติของศาสตร์
2. การผลิต การสื่อสาร และการใช้สารสนเทศ
3. การประเมินความต้องการสารสนเทศ และการออกแบบการบริการที่ตอบสนองความ
ต้องการของผู้ใช้
4. กระบวนการถ่ายทอดสารสนเทศ
10
5. การจัดเก็บ ค้นคืน สงวนรักษา และอนุรักษ์สารสนเทศ
6. การวิจัย การวิเคราะห์ และการสังเคราะห์สารสนเทศ
7. การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารกับผลผลิตและบริการห้องสมุดและสารสนเทศ
8. การจัดการทรัพยากรสารสนเทศและการจัดการความรู้
9. การจัดการหน่วยงานหรือสถาบันบริการสารสนเทศ
10. การประเมินเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ผลผลิตจากการใช้สารสนเทศและห้องสมุด
American Library Association - -ALA หรือสมาคมห้องสมุดอเมริกัน กาหนดขอบเขตของ
หลักสูตรบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ว่าเป็นศาสตร์เกี่ยวกับสารสนเทศ และความรู้ที่บันทึก
ไว้ บริการและเทคโนโลยี เพื่ออานวยความสะดวกในการจัดการและการใช้ โดยมีเนื้อหาสาระ
ประกอบด้วย การผลิตสารสนเทศและความรู้ การสื่อสาร การเลือก การจัดหา การจัดหมวดหมู่
และทารายการ การจัดเก็บและค้นคืน การอนุรักษ์ การวิเคราะห์ การตีความ การประเมิน การ
สังเคราะห์ การกระจาย และการจัดการสารสนเทศ (ชุติมา สัจจานันท์, 2546)
ผศ. ดร. พิมพ์ราไพ เปรมสมิทธิ์ กล่าวว่า “หลักสูตรสารสนเทศศึกษา” เกี่ยวข้องกับ การ
สร้างสารสนเทศและความรู้ การสื่อสาร การเลือกสรร การจัดหา การจัดระบบสารสนเทศ
การจัดเก็บและค้นคืน การสงวนรักษา การวิเคราะห์ การตีความ การประเมิน การ
สังเคราะห์ การเผยแพร่ และ การจัดการ
ผศ.นฤตย์ นิ่มสมบุญ (ม.ป.ป.) กล่าวถึง องค์ประกอบหลักของเนื้อหาที่เป็นพื้นฐานของ
สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา ไว้ดังนี้ (ดูรูปภาพประกอบ)
11
1. การจัดการเนื้อหาสารสนเทศ (Information content) ซึ่งรวมทั้งเนื้อหาในรูปแบบพิมพ์
และอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง งานวิเคราะห์เนื้อหา สารสนเทศ ในทุกรูปแบบ เช่น การวิเคราะห์
สารสนเทศ การทาดรรชนีและสาระสังเขป ฯลฯ ซึ่งต้องมีมาตรฐานในการดาเนินงาน เช่น การใช้
AACR 2หรือ MARC หรือ Metadata เป็นต้น
2. ระบบสารสนเทศ (Information systems) หมายถึง งานด้านการดูแลระบบคอมพิวเตอร์
(Computer system ) ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบบุคลากรไอที ระบบการสื่อสาร หรือ
ระบบที่ใช้ในการจัดการสารสนเทศ
3. บุคลากรในงานสารสนเทศ (People) หมายรวมถึง ผู้จัดการ หรือ องค์กรที่จัดการ-
สารสนเทศ ผู้ใช้ ผู้ให้บริการ ผู้ดูแลระบบสารสนเทศ ซึ่งกลุ่มบุคคลข้างต้นจะทางานต่างๆ ที่
เกี่ยวข้องกับการให้บริการสารสนเทศ (information services)
4. องค์กรที่เกี่ยวข้องกับสารสนเทศ (Organization) เช่น สานักพิมพ์ ห้องสมุด ผู้
จาหน่ายฐานข้อมูล และ องค์กรที่มีหน้าที่จัดการสารสนเทศ งานในกลุ่มนี้ เช่น การบริหารงาน-
ศูนย์สารสนเทศ การจัดซื้อจัดหาทรัพยากรที่ต้องเกี่ยวข้องกับหน่วยงานภายนอกหลายส่วน
องค์กรวิชาชีพด้านสารสนเทศศึกษา เป็นต้น
สิ่งที่นักศึกษาต้องจับประเด็นให้ได้:
เนื้อหาวิชาชีพสารสนเทศศึกษา มีขอบเขตครอบคลุมเรื่องหลักใดบ้าง
12
หลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา
ในที่นี้จะใช้หลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย โดยจะนาเสนอเฉพาะรายวิชาเอกของสาขาเท่านั้น เพื่อให้นักศึกษาลอง
เอารายวิชาต่างๆ ไปกรุ๊ปไว้ใน “เนื้อหาวิชาชีพสารสนเทศศึกษา” เพื่อหาจุดเชื่อมโยง หรือ
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา กระบวนการการทางานในห้องสมุด หรือ
ลักษณะงานในห้องสมุด และเนื้อหาวิชาชีพสารสนเทศศึกษา ว่ามีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันอย่างไร
วิชาเอกบังคับ
HN101 สารสนเทศกับสังคม (Information and Society)
HN102 การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ (Information ResourcesDevelopment)
HN201 ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิง (Reference Resources)
HN202 การวิเคราะห์สารสนเทศ (Information Analysis)
HN203 การทาดรรชนีและสาระสังเขป (Indexing and Abstracting)
HN204 การบริการและเผยแพร่สารสนเทศ (Information Services and Dissemination)
HN301 การทารายการทรัพยากรสารสนเทศ (Cataloging of Information Resources)
HN302 การจัดการห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ (Management of Librariesand Information
Centers)
HN303 การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information Systems Development)
HN304 การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (Information Storage and Retrieval)
HN305 การพัฒนาฐานข้อมูลในงานสารสนเทศ (Database Development in Information
Work)
HN306 การวิจัยในสาขาสารสนเทศศึกษา (Research in Information Studies)
HN401 ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (ElectronicLibraries)
วิชาเอกเลือก
HN231 การอ่านเพื่องานสารสนเทศ (Reading for Information Work)
HN232 ภาษาอังกฤษเพื่องานสารสนเทศ (English for Information Work)
HN233 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเพื่องาน สารสนเทศ (Introduction to
Computer Programming for Information Work)
HN234 การพัฒนาสื่อประสมเพื่องานสารสนเทศ (Multimedia Development for Information
Work)
HN235 การจัดการเว็บไซต์เพื่องานสารสนเทศ (Web Site Management for Information
Work)
13
HN331 แหล่งสารสนเทศทางธุรกิจและอุตสาหกรรม (Information Sources in Business and
Industry)
HN332 การจัดการสารสนเทศธุรกิจ (Management of Business Information)
HN333 การตลาดเพื่องานบริการสารสนเทศ (Marketing for Information Services)
HN334 การจัดการสารสนเทศสานักงาน (Office Information Management)
HN335 กิจกรรมสารสนเทศเพื่อบริการสังคม (Information Activities for Social Services)
HN336 การจัดการจดหมายเหตุ (ArchivesManagement)
HN337 ประสบการณ์วิชาชีพ (Practicum)
HN431 บูรณาการความรู้เพื่อวิชาชีพสารสนเทศ (Knowledge Integration for Information
Profession)
HN432 การจัดการความรู้ในห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ (Knowledge Management in
Librariesand Information Centers)
HN433 คลังความรู้ (Knowledge Repositories)
HN434 การจัดการโครงการเพื่องานสารสนเทศ (Project Management for Information
Work)
HN435 ธุรกิจสารสนเทศ (Information Business)
HN436 การประมวลสารสนเทศสาเร็จรูป (Information Repackaging)
HN437 การศึกษาอิสระ (Independent Study)
HN438 สหกิจศึกษา (Co-operative Education)
อนึ่งให้นักศึกษาอ่านคาอธิบายรายวิชาของแต่ละวิชาข้างต้นได้จากเอกสาร “หลักสูตร
สารสนเทศศึกษา (ใช้กับนักศึกษารหัส 55 เป็นต้นไป) คณะมนุษยศาสตร์และประยุกต์ศิลป์
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย” ที่หน้า 44-49 ซึ่งครูได้ใส่ไว้ใน iTunes U ในบทที่ 3 ให้เรียบร้อยแล้ว
สิ่งที่นักศึกษาต้องจับประเด็นให้ได้:
รายวิชาเอกแต่ละวิชาของหลักสูตรสารสนเทศศึกษา เรียนเกี่ยวกับอะไร
และสามารถจัดรายวิชาต่างๆ เหล่านั้นไว้ใน “เนื้อหาวิชาชีพสารสนเทศ” ได้ด้วย
โดยอาศัยความรู้เรื่อง “กระบวนการการทางานในห้องสมุด” มาช่วย
**********************************
ไม่มีสิ่งใดในโลกนี้ได้มาโดยง่ายดาย ล้วนต้องผ่านความอดทนที่จะศึกษาเรียนรู้ด้วยกันทั้งสิ้น

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
Srion Janeprapapong
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
Srion Janeprapapong
 
Digital literacy
Digital literacyDigital literacy
Digital literacy
Marreea Mk
 
ทักษะทางสารนิเทศเทอม154
ทักษะทางสารนิเทศเทอม154ทักษะทางสารนิเทศเทอม154
ทักษะทางสารนิเทศเทอม154
nawasai
 
บทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศ
Kanitta_p
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
chushi1991
 

Tendances (20)

ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
ข้อมูล สารสนเทศ และความรู้
 
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศบทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 ทักษะการรู้สารสนเทศ
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
 
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
ระบบการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศบท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศบท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
 
พฤติกรรมสารสนเทศ
พฤติกรรมสารสนเทศพฤติกรรมสารสนเทศ
พฤติกรรมสารสนเทศ
 
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
2.1.2 การประเมินค่าทรัพยกรสารสนเทศ evaluate material
 
การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ
การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศการสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ
การสืบค้นข้อมูลสารสนเทศ
 
Digital literacy
Digital literacyDigital literacy
Digital literacy
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
ทักษะทางสารนิเทศเทอม154
ทักษะทางสารนิเทศเทอม154ทักษะทางสารนิเทศเทอม154
ทักษะทางสารนิเทศเทอม154
 
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศบทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
 
บทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศและการรู้สารสนเทศ
 
collection development
collection developmentcollection development
collection development
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
3.1 การจัดหมวดหมู่ห้องสมุด classification
3.1 การจัดหมวดหมู่ห้องสมุด classification3.1 การจัดหมวดหมู่ห้องสมุด classification
3.1 การจัดหมวดหมู่ห้องสมุด classification
 
บทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศ
 
ทบทวนความรู้เดิม
ทบทวนความรู้เดิมทบทวนความรู้เดิม
ทบทวนความรู้เดิม
 

En vedette

เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
Srion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
Srion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
Srion Janeprapapong
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
Srion Janeprapapong
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
Srion Janeprapapong
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
Srion Janeprapapong
 

En vedette (19)

เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
สารานุกรม
สารานุกรมสารานุกรม
สารานุกรม
 
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
 
Reference resources
Reference resources Reference resources
Reference resources
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
 
Dspace
DspaceDspace
Dspace
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
Data in Digital Era
Data in Digital EraData in Digital Era
Data in Digital Era
 
Open Digital Education
Open Digital EducationOpen Digital Education
Open Digital Education
 
MOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in ThailandMOOC - OER ... Royal Project in Thailand
MOOC - OER ... Royal Project in Thailand
 
Data Seal ... Comment in Thailand
Data Seal ... Comment in ThailandData Seal ... Comment in Thailand
Data Seal ... Comment in Thailand
 

Similaire à ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด หรือลักษณ

KKULIBKM PULINET Sanguan-150654
KKULIBKM PULINET Sanguan-150654KKULIBKM PULINET Sanguan-150654
KKULIBKM PULINET Sanguan-150654
Gritiga Soonthorn
 
แผนการสอนJt308
แผนการสอนJt308แผนการสอนJt308
แผนการสอนJt308
Pises Tantimala
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
phoom_man
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
phoom_man
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
phoom_man
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotion
decnun
 
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
KKU Library
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
dechathon
 
Reference service
Reference serviceReference service
Reference service
eden95487
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
dechathon
 

Similaire à ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด หรือลักษณ (20)

รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
รายงานผลการดำเนินงานศูนย์สา่รนิเทศมนุษยศาสตร์
 
KKULIBKM PULINET Sanguan-150654
KKULIBKM PULINET Sanguan-150654KKULIBKM PULINET Sanguan-150654
KKULIBKM PULINET Sanguan-150654
 
V 267
V 267V 267
V 267
 
V 264
V 264V 264
V 264
 
แผนการสอนJt308
แผนการสอนJt308แผนการสอนJt308
แผนการสอนJt308
 
รายงานประจำปี 2552 2553
รายงานประจำปี 2552 2553รายงานประจำปี 2552 2553
รายงานประจำปี 2552 2553
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotion
 
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
รายงานการประชุมครั้งที่ 4 2554
 
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
Reference service
Reference serviceReference service
Reference service
 
Reference service
Reference serviceReference service
Reference service
 
บทที่1test
บทที่1testบทที่1test
บทที่1test
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 
Proposal ict2
Proposal ict2Proposal ict2
Proposal ict2
 

Plus de Srion Janeprapapong

การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
Srion Janeprapapong
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
Srion Janeprapapong
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
Srion Janeprapapong
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
Srion Janeprapapong
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
Srion Janeprapapong
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)
Srion Janeprapapong
 
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
Srion Janeprapapong
 

Plus de Srion Janeprapapong (11)

รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
 
พจนานุกรม
พจนานุกรมพจนานุกรม
พจนานุกรม
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)
 
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
 

ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด หรือลักษณ

  • 1. 1 กระบวนการการทางานในห้องสมุด VS เนื้อหาวิชาชีพ VS โครงสร้าง หลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา โดย อาจารย์ศรีอร เจนประภาพงศ์ ภาคปลาย ปีการศึกษา 2557 เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2558 คาถาม: หลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษามีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับกระบวนการการทางานใน ห้องสมุด หรือลักษณะงานในห้องสมุด และเนื้อหาวิชาชีพสารสนเทศศึกษา อย่างไร จงอธิบาย ในการอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา กระบวนการ การทางานในห้องสมุด หรือลักษณะงานในห้องสมุด และเนื้อหาวิชาชีพสารสนเทศศึกษา นักศึกษาต้องอ่านรายละเอียดของทั้ง 3 หัวข้อต่อไปนี้ และหาจุดเชื่อมโยง หรือสัมพันธ์กัน กระบวนการการทางานในห้องสมุด กระบวนการการทางานในห้องสมุด สามารถศึกษาได้จากแผนภูมิโครงสร้างการบริหารงานของ ห้องสมุดแห่งนั้น ในที่นี้ขอใช้แผนภูมิการแบ่งส่วนงานของ สานักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และสานักบรรณสารการพัฒนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ มาช่วยในการอธิบาย โครงสร้างองค์กรของสานักงานวิทยทรัพยากร (หอสมุดกลาง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (http://www.car.chula.ac.th/topic/organizationinfo)
  • 2. 2 ปัจจุบัน สานักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประกอบด้วย 1 ฝ่าย และ 8 ศูนย์ดังนี้ 1. ฝ่ายบริหาร (AdministrativeDivision) เป็นสานักงานผู้อานวยการ มีภาระหน้าที่ รับผิดชอบ สนับสนุนงานบริหารด้านแผน งบประมาณ การเงิน บัญชี พัสดุ บุคคล สารบรรณ งานระบบกายภาพ ประกันคุณภาพ เทคโนโลยีสารสนเทศ และงานบริหารอื่น ๆ (คนทางานไม่ จาเป็นต้องจบวิชาชีพบรรณารักษ์ เป็นฝ่ายสนับสนุนข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการห้องสมุด) นับตั้งแต่ข้อ 2-6 งานของศูนย์ต่างๆ เหล่านี้คืองานของบรรณารักษ์ซึ่งผู้สอนได้จัดเรียงลาดับ ศูนย์ตามกระบวนการการทางานของห้องสมุด 2. ศูนย์พัฒนาและวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ (Collection Development & Information Resource Analysis Center) รับผิดชอบการจัดหาสารสนเทศชนิดต่าง ๆ ทั้งในรูปสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ จากการจัดซื้อ การบอกรับเป็นสมาชิกจากสานักพิมพ์ทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ รวมทั้งจากการบริจาค และแลกเปลี่ยนจากสถาบันระดับชาติ และนานาชาติ โดย ครอบคลุมทุกสาขาวิชาที่มีการเรียนการสอนในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และดูแลรักษาสภาพสิ่งพิมพ์ ให้คงทนถาวรด้วย (คืองานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ - - Collection Development) 3. ศูนย์จัดการทรัพยากรสารสนเทศ (Information Resources Management Center) รับผิดชอบ การจัดการทรัพยากรสารสนเทศประเภทสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (ยกเว้นฐานข้อมูลและสื่อออนไลน์) โดยมีกระบวนงานตั้งแต่ รับทรัพยากรสารสนเทศเข้าระบบคลังเพื่อ การคัดเลือก จัดเตรียมทรัพยากรสารสนเทศให้พร้อมใช้งาน จัดเก็บ-จัดเรียงขึ้นชั้น สารวจและ ประเมินสภาพทรัพยากร อนุรักษ์และบารุงรักษาทรัพยากรสารสนเทศ วางแผนพื้นที่จัดเก็บทรัพยากร (คืองานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศและสร้างฐานข้อมูลห้องสมุด- -Classification & Cataloging, การจัดเตรียม-จัดเก็บ-จัดเรียงขึ้นชั้น รวมงานซ่อมและบารุงรักษาทรัพยากรสารสนเทศ) 4. ศูนย์บริการสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้และวิจัย (Information Services Center for Learning and Research - ILR) มีภาระหน้าที่รับผิดชอบในการจัดการบริการสารสนเทศ และส่งเสริม การรู้สารสนเทศ ศึกษาและเลือกใช้นวัตกรรมการบริการเพื่อการพัฒนาบริการพื้นฐานและบริการเชิง ลึก ตัวอย่างงาน เช่น บริการตอบคาถามและช่วยค้นคว้า (Reference Services), บริการฐานข้อมูล ทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด (OPAC), จัดอบรมการใช้งานฐานข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด (OPAC) และระบบสืบค้น Single Search, แนะนา/สอนการเขียนและการจัดการบรรณานุกรมและการ อ้างอิง, จัดทาคู่มือ OPAC และระบบสืบค้น Single Search, บริการ One StopServices, บริการ สนับสนุนการวิจัย (Research SupportServices), บริการฐานข้อมูลเพื่อการค้นคว้าวิจัย (CU Reference Databases), บริการสืบค้นสารสนเทศ ประมวล และ/หรือสังเคราะห์สารสนเทศ เพื่อการวิจัย, ปฐมนิเทศ การใช้ห้องสมุด, อบรม/สอนการรู้และการใช้ทรัพยากรสารสนเทศและบริการ, บริการยืม-คืนทรัพยากร
  • 3. 3 สารสนเทศและบริการระหว่างห้องสมุด (Circulation & Interlibrary Service) ฯลฯ (คืองานบริการ สารสนเทศ - - Information Services and Dissemination ทั้งหมด ได้แก่ งานบริการตอบคาถามและช่วย การค้นคว้าวิจัย งานบริการยืมคืน งานบริการยืมระหว่างห้องสมุด งานการส่งเสริมการอ่านและ การใช้ห้องสมุด) 5. ศูนย์พัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี (Centerfor Media Development, Innovation and Technology) เดิมคือ ศูนย์โสตทัศนศึกษากลาง (Audio Visual Center) มีหน้าที่ผลิต และบริการสื่อ เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน การค้นคว้าวิจัยของอาจารย์ นิสิต บุคลากร และหน่วยงานต่างๆ ของ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มีภารกิจในการบันทึกองค์ความรู้ ภูมิปัญญาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในรูปสื่อชนิดต่างๆ โดยเก็บไว้ในรูปของวีดิทัศน์ และนามาบริหารจัดการ จัดเก็บอย่างเป็นระบบ ให้อยู่ ในรูปแบบมาตรฐานของการใช้งาน และเผยแพร่ให้ประชาคมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ใช้งานอย่างมี ประสิทธิภาพ นอกจากนั้นยังให้บริการถ่ายทอดสดกิจกรรมต่างๆ ผ่านระบบเครือข่าย บริการผลิตสื่อ กราฟิก สื่อภาพดิจิทัล สื่อเสียง สื่อวีดิทัศน์ สื่อผสม และสื่อใหม่ๆ (คืองานโสตทัศนวัสดุและ อุปกรณ์ - - Audio Visual Materials & Equipment ตอนนี้พัฒนามาเป็น “ศูนย์พัฒนาสื่อประเภทต่างๆ”) 6. ศูนย์เครือข่ายห้องสมุดดิจิทัลจุฬาฯ (CUDigital Library Center) เป็นผู้ดูแลพัฒนา ระบบห้องสมุดดิจิทัลและบริหารจัดการเครือข่าย เพื่อสนับสนุนบริการสืบค้นสารสนเทศ มีหน้าที่หลัก คือ - บริหารจัดการระบบห้องสมุดอัตโนมัติของเครือข่ายสารสนเทศห้องสมุดในจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย (Chulalinet) - ดูแลเครือข่ายของสานักงานวิทยทรัพยากร และห้องสมุดในเครือข่ายฯ ให้สามารถรองรับการ ให้บริการสารสนเทศออนไลน์ เพื่อประโยชน์ต่อการเรียนการสอนและการค้นคว้าวิจัย - บริหารจัดการอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์เครือข่ายของสานักงานฯ พร้อมทั้งให้ คาปรึกษาทางด้านเทคโนโลยีกับห้องสมุดในเครือข่ายฯ - พัฒนาโปรแกรมที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพในการให้บริการต่างๆ ของสานักงานวิทยทรัพยากร - อบรมเสริมสร้างความรู้แก่บุคลากรของสานักงานฯ และเครือข่ายห้องสมุดฯ ให้มีความรู้ด้าน เทคโนโลยี (คืองานเทคโนโลยีสารสนเทศ - - Information Technology) 7. ศูนย์มรดกภูมิปัญญา จุฬาฯ(CU Intellectual Heritage Center) มีหน้าที่ในการดาเนินงาน พัฒนาและบริการทรัพยากรสารสนเทศที่เป็นมรดกทางภูมิปัญญาของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยการ จัดหาและรวบรวมหนังสือ/เอกสารที่เป็นสิ่งพิมพ์หายาก และสื่อต่างๆที่ทรงคุณค่าของมหาวิทยาลัย พร้อมจัดบริการที่มีประสิทธิภาพ ให้ความสาคัญกับการสงวนรักษาและอนุรักษ์ต้นฉบับอย่างเป็นระบบ และต่อยอดองค์ความรู้ด้วยนวัตกรรมทางเทคโนโลยีสารสนเทศ (คืองานจัดเก็บและให้บริการหนังสือหา ยาก- - Rare Books ซึ่งห้องสมุดส่วนใหญ่ไม่มีงานนี้)
  • 4. 4 8. ศูนย์สารสนเทศนานาชาติ (International Information Center) รวบรวมและให้บริการ ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการศึกษาเฉพาะภูมิภาครวมถึงความร่วมมือระหว่างประเทศในโครงการ พัฒนาในภูมิภาคต่าง ๆ ทั่วโลกทั้งในรูปแบบสิ่งพิมพ์สื่ออิเล็กทรอนิกส์และฐานข้อมูลออนไลน์จัดแบ่ง ตามประเทศหรือกลุ่มประเทศ และตามองค์กรที่มีความร่วมมือกัน ดังนี้ ทรัพยากรสารสนเทศเกี่ยวกับ สหภาพยุโรปและประเทศในทวีปยุโรป(European documentation), ทรัพยากรสารสนเทศเพื่อการศึกษา เกี่ยวกับประเทศสหรัฐอเมริกา(American studies), ทรัพยากรสารสนเทศที่จัดทาโดยธนาคารโลก (World Bank documentation) โดยกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund- IMF) และโดยธนาคารพัฒนาเอเชีย (Asian Development Bank documentation) (ห้องสมุดส่วนใหญ่ไม่มีศูนย์นี้) 9. ศูนย์เอกสารประเทศไทย (Thailand Information Center) รวบรวมเอกสารสิ่งพิมพ์ เฉพาะด้าน โดยจะเน้นทางด้านสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวกับประเทศไทย และประเทศใน เอเชีย รวมทั้งประเทศอื่นๆ ที่มีสถานการณ์และปัญหาสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ที่มีความสัมพันธ์กับ ประเทศไทย โดยจะมีเอกสารทั่วไปและเอกสารที่พิมพ์ในจานวนจากัด เช่น วิทยานิพนธ์ขั้นปริญญาโท และเอกทั้งในประเทศและต่างประเทศ รายงานการการสารวจและวิจัย รายงานการประชุมสัมมนา ข้อมูลสถิติ เป็นต้น รวมทั้งบทความจากวารสารและหนังสือพิมพ์ที่ได้เลือกสรรแล้ว ต่อไปจะเป็นโครงสร้างองค์กรของสานักบรรณสารการพัฒนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหาร ศาสตร์ หรือ ห้องสมุดนิด้า (http://library.nida.ac.th/2015/index.php/th/about-us/lic-struc/struc-lib)
  • 5. 5 สานักบรรณสารการพัฒนา สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ หรือห้องสมุดนิด้า จัดแบ่ง โครงสร้างองค์กรโดยแยกภาระงานวิชาชีพของบรรณารักษ์ / นักวิชาการ ออกจากงานปฏิบัติการ ห้องสมุด ดังนั้นจึงแบ่งงานออกเป็น ๒ ส่วน คือ ๑) กลุ่มสนับสนุนการปฏิบัติงานห้องสมุด เป็นสายงานหลักด้านการดาเนินงานห้องสมุด กลุ่มผู้ปฏิบัติงานนี้ ประกอบด้วย กลุ่มงานเทคนิค กลุ่มงานบริการ และกลุ่มงานจดหมาย เหตุ ๒) สานักงานเลขานุการ เป็นสายงานที่ปฏิบัติงานสนับสนุนในสายงานหลัก ประกอบด้วย กลุ่มงานบริหารและธุรการ กลุ่มงานการเงินและพัสดุ และกลุ่มงานแผนและพัฒนาองค์การ กลุ่มสนับสนุนการปฏิบัติงานห้องสมุด เป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบการดาเนินงานและปฏิบัติงานห้องสมุดแบ่งออกเป็น ๓ กลุ่มงาน คือ กลุ่มงานเทคนิค กลุ่มงานบริการ และกลุ่มงานจดหมายเหตุ มีขอบเขตภาระงาน ดังนี้ ๑. กลุ่มงานเทคนิค มีขอบเขตภาระงานดังนี้ ๑.๑ งานเตรียมข้อมูลในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ มีหน้าที่รวบรวมความ ต้องการทรัพยากรสารสนเทศจากแหล่งต่าง ๆ เช่น คณาอาจารย์ นักศึกษา และ Course Syllabus เป็นต้น และทาการตรวจสอบกับฐานข้อมูลว่ามีทรัพยากรสารสนเทศนั้นในห้องสมุดหรือไม่ พร้อมทั้ง รวบรวมข้อมูลการใช้บริการทรัพยากรสารสนเทศนั้น เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ สาหรับทรัพยากรสารสนเทศประเภทวารสารได้มีการจัดเตรียม / สารวจข้อมูลวารสารเพื่อการจัดหา ได้แก่ ข้อมูลสถานที่ติดต่อ ราคาบอกรับเป็นสมาชิกปีปัจจุบัน ใบสมัครสมาชิก และติดต่อผู้จัดทา / สานักพิมพ์เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลก่อนการสั่งซื้อ ๑.๒ งานจัดเก็บ / ปรับปรุงฐานข้อมูล มีหน้าที่จัดเก็บ / บันทึกข้อมูล / ปรับปรุง ฐานข้อมูลต่าง ๆ ได้แก่ ฐานข้อมูลหนังสือ งานวิจัยและสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศนวัสดุ ฐานข้อมูลวารสาร ฐานข้อมูลดรรชนีวารสารไทย และฐานข้อมูลเศรษฐกิจพอเพียง ๑.๓ งานเตรียมทรัพยากรสารสนเทศเพื่อออกให้บริการ มีหน้าที่เตรียมและ ตรวจสอบความเรียบร้อยของทรัพยากรสารสนเทศเพื่อให้บริการ ได้แก่ การติดใบรองปกหนังสือ ติด บัตรกาหนดส่ง ติดบาร์โค้ด และเทปแม่เหล็ก พิมพ์ Label เลขเรียงหนังสือ ติดสันหนังสือ จัดทารายชื่อหนังสือพร้อมส่งตัวเล่มออกให้บริการ ๑.๔ งานแปลงเอกสารสื่อสิ่งพิมพ์ให้อยู่ในรูปดิจิทัล มีหน้าที่จัดการสแกนหนังสือ ใหม่ ได้แก่ หน้าปก สารบัญ และเนื้อหา 10 หน้าแรก เพื่อการเป็น e-Library และเอกสารสิ่งพิมพ์ของ สถาบันที่เป็นรูปเล่มให้เป็นดิจิทัล ๑.๕ งานเชื่อมโยงเอกสารฉบับเต็มกับรายการทางบรรณานุกรม มีหน้าที่ เชื่อมโยงเอกสารฉบับเต็ม (Full text) กับรายการดรรชนีในฐานข้อมูลดรรชนีวารสารไทย เพื่อผู้ใช้จะได้ อ่านบทความฉบับเต็มขณะสืบค้น โดยไม่ต้องหาวารสารจากชั้น
  • 6. 6 ๑.๖ งานวารสารเย็บเล่ม มีหน้าที่รวบรวมและจัดเตรียมรายชื่อวารสารฉบับปลีกเพื่อ ส่ง เย็บเล่ม พร้อมทั้งตรวจสอบความถูกต้องและความสมบูรณ์ของตัวเล่มวารสารเมื่อได้รับคืนจาก ร้านค้า ตลอดจนจัดเตรียมวารสารที่เย็บเล่มแล้วส่งให้งานบริการเพื่อออกให้บริการต่อไป ๑.๗ งานอนุรักษ์และบารุงรักษาสภาพสิ่งพิมพ์ นาสิ่งพิมพ์ที่มีคุณค่าและผ่านการ ออกให้บริการแก่ผู้ใช้ที่มีสภาพรูปเล่มไม่แข็งแรง ชารุดในส่วนต่าง ๆ มาดาเนินการตามวิธีการอนุรักษ์ สิ่งพิมพ์ โดยเลือกใช้วิธีให้เหมาะสมกับสภาพการชารุดของสิ่งพิมพ์นั้น ๆ ให้กลับมีสภาพที่ดีและยืดอายุ การใช้งาน สามารถนาออกให้บริการได้ต่อไป สาหรับสิ่งพิมพ์ที่จัดหามาใหม่แต่มีสภาพรูปเล่มไม่ ทนทาน ดูไม่เหมาะสมก็จะดาเนินการหุ้มปกพลาสติกก่อนนาออกให้บริการ ๑.๘ งานพิมพ์บันทึกข้อความที่เกี่ยวเนื่องกับงานเทคนิค ได้แก่ งานพิมพ์บันทึก ส่งโสตทัศนวัสดุ งานพิมพ์บันทึกส่งคืนวารสารที่ทาดรรชนีเสร็จแล้ว และงานพิมพ์บันทึกรายชื่อ วารสารที่ทางสานักรับผิดชอบทาดรรชนีร่วมกับสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นต้น ๒. กลุ่มงานบริการ มีขอบเขตภาระงานดังนี้ ๒.๑ งานบริการยืมคืน มีหน้าที่จัดการเกี่ยวกับทะเบียนสมาชิก, งานโอนข้อมูลจาก ฐานข้อมูลกองบริการการศึกษา (หมายถึงสานักทะเบียนและประมวลผลของ UTCC), งานบัตรสมาชิก, บริการยืม-คืน, บริการจองหนังสือ, บริการหนังสือสารองประจาวิชาและทั่วไป, บริการหนังสือ สถานภาพ On Shelf, บริการหนังสือส่งถึงที่ Book Delivery Service (BDS), บริการให้ยืมระหว่าง ห้องสมุด, งานเตือนสิ่งพิมพ์ก่อนครบกาหนดส่ง งานทวงสิ่งพิมพ์ค้างส่ง, งานแจ้งหนังสือด่วนคณาจารย์, ถอนหนังสือที่หมดอายุการจอง, งานปรับ, งานตรวจสอบพันธะ, งานหนังสือจากตู้นอกเวลา, บริการ ห้องค้นคว้า, บริการขอเลข ISBN/ISSN, บริการรับ-ส่งโทรสาร, รับหนังสือบริจาคและจัดทารายชื่อส่ง งานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ, ควบคุมดูแลเสียงตามสายของสานัก, งานควบคุมดูแลระบบทางเข้า, งานตรวจสอบความปลอดภัยเกี่ยวกับทรัพยากรสารสนเทศ, งานสถิติ ๒.๒ งานบริหารจัดการระบบการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ มีหน้าที่จัดการ ตรวจรับทรัพยากรสารสนเทศใหม่ที่รับจากงานเทคนิค, บริหารจัดการระบบการจัดเก็บหนังสืออ้างอิง หนังสือภาษาไทยและหนังสือภาษาอังกฤษ เอกสารตารา งานวิจัย วิทยานิพนธ์ ภาคนิพนธ์ เอกสาร World Bank บทคัดย่อวิทยานิพนธ์ /งานวิจัย สามะโนประชากร เอกสารการประชุม, การจัดแสดง หนังสือใหม่/เอกสาร World Bank จุลสาร วารสารใหม่, จัดการวารสารฉบับปีปัจจุบัน วารสารเย็บ เล่มภาษาไทย วารสารเย็บเล่มภาษาอังกฤษ หนังสือพิมพ์ ให้พร้อมบริการ, งานสารวจทรัพยากร สารสนเทศ, งานตรวจสอบ /อ่านชั้น/ปรับขยายชั้น ป้ายหมวดหมู่, ดูแลที่นั่งอ่าน, งานคัดออก, งานส่งซ่อม, ฝึกอบรมการจัดชั้นให้แก่เจ้าหน้าที่งานอื่น ๆ, งานสถิติ ๒.๓ งานบริการระหว่างห้องสมุด มีหน้าที่รับคาขอรับบริการจากบรรณารักษ์บริการ สารสนเทศ และให้บริการระหว่างห้องสมุดทั้งในรูปแบบของเอกสารฉบับจริง ถ่ายเอกสาร แฟ้มข้อมูล การสแกน โดยวิธีมาติดต่อขอรับบริการด้วยตนเอง ทางไปรษณีย์ โทรสาร แนบแฟ้มข้อมูลกับ จดหมายไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-mail) และMSN โดยจะประสานงานกับร้านค้าเพื่อถ่ายเอกสาร ระหว่างห้องสมุด คิดราคาค่าบริการระหว่างห้องสมุด พิมพ์จดหมายนาส่งเอกสารระหว่างห้องสมุด
  • 7. 7 พิมพ์ใบแจ้งราคาและซอง เก็บหลักฐานบริการถ่ายเอกสารระหว่างห้องสมุด ประสานงานกับสานักงาน เลขานุการเรื่องการส่งเอกสารระหว่างห้องสมุดและการเงิน งานสถิติ ๒.๔ งานข้อมูลประชาสัมพันธ์ มีหน้าที่รวบรวม เตรียมข้อมูล และ ปรับปรุง (Update) ข้อมูลที่งานบริการต้องการประชาสัมพันธ์ให้กับผู้ใช้บริการทราบ ๒.๕ งานจัดอบรมที่เกี่ยวกับการใช้ห้องสมุด มีหน้าที่เตรียมการจัดอบรมตั้งแต่ เตรียมข้อมูลที่จะประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการอบรม การรับสมัครผู้เข้าอบรม การเชิญวิทยากร การจัด ตารางห้องอบรม การจัดการในวันอบรม และการรวบรวมข้อมูลในการประมวลผลส่งให้สานักงาน เลขานุการทาการประเมินผล ๒.๖ งานบริการวีดิทัศน์ มีหน้าที่จัดตารางการบริการวีดิทัศน์ ดูแล และควบคุมห้อง โสตวีดิทัศน์ และให้บริการวีดิทัศน์ตามตาราง ๓. กลุ่มงานจดหมายเหตุ เป็นหน่วยงานที่ทาหน้าที่รวบรวมประวัติบุคคลสาคัญของสถาบัน บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ทั้งในอดีตและปัจจุบัน รวบรวม จัดเก็บเอกสารจดหมายเหตุ / เอกสารโสต ทัศนจดหมายเหตุของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ให้เป็นระบบเพื่อสะดวกต่อการศึกษา ค้นคว้า ความเป็นมาและพัฒนาการของสถาบัน เพื่ออนุรักษ์เอกสารจดหมายเหตุ / เอกสารโสตทัศนจดหมาย เหตุของสถาบันให้เป็นหลักฐานเชิงประวัติศาสตร์ที่ถาวร และเผยแพร่สารสนเทศจดหมายเหตุแก่ หน่วยงานและบุคคลทั้งภายในและภายนอกสถาบัน กลุ่มงานจดหมายเหตุประกอบด้วยงานย่อย ๓ งานคือ งานรวบรวมเอกสารจดหมายเหตุ / เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุ งานจัดเก็บเอกสารจดหมายเหตุ / เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุ งาน บริการสารสนเทศจดหมายเหตุ มีขอบเขตภาระงานดังนี้ ๓.๑ งานรวบรวมเอกสารจดหมายเหตุ / เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุ ทาหน้าที่ รับมอบเอกสารจดหมายเหตุ / เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุที่เกี่ยวกับประวัติ พัฒนาการ และการ ดาเนินงานของสถาบัน ซึ่งมีลักษณะเป็นเอกสารจดหมายเหตุ ตามที่กาหนดไว้ ๓.๒ งานจัดเก็บเอกสารจดหมาย / เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุ ทาหน้าที่ จัดเก็บเอกสาร จดหมายเหตุ / เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุ, สแกนต้นฉบับเอกสารจดหมายเหตุ, อนุรักษ์เอกสารจดหมายเหตุ / เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุตามหลักวิชาการจดหมายเหตุ, รวบรวม สารสนเทศจากเอกสารจดหมายเหตุ / เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุเพื่อจัดนิทรรศการ, จัดทาเอกสาร ประกอบนิทรรศการ และจัดทาเอกสารประชาสัมพันธ์งานจดหมายเหตุ ๓.๓ งานบริการสารสนเทศจดหมายเหตุของสถาบัน ทาหน้าที่เผยแพร่สารสนเทศ จดหมายเหตุแก่หน่วยงาน และบุคคลทั้งภายในและภายนอกสถาบัน มีรายละเอียดดังนี้ คือ จัดแสดง ให้คาแนะนา / ตอบคาถามเรื่องที่เกี่ยวข้องกับเอกสารจดหมายเหตุ / เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุ บริการสาเนาเอกสารจดหมายเหตุ / เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุ และให้บริการยืมเอกสารจดหมาย เหตุ / เอกสารโสตทัศนจดหมายเหตุแก่บุคคล / หน่วยงานเจ้าของเอกสาร สานักงานเลขานุการ
  • 8. 8 เป็นหน่วยงานสนับสนุนการบริหารและการดาเนินงานห้องสมุด มีหน้าที่รับผิดชอบบริหารและ อานวยการ ๓ กลุ่มงาน มีขอบเขตภาระงาน ดังนี้ ๑. กลุ่มงานบริหารและธุรการ ทาหน้าที่เป็นหน่วยงานกลางของสานักบรรณสารการพัฒนา ใน การให้บริการและอานวยความสะดวกแก่การดาเนินงานห้องสมุด ซึ่งปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ เช่นงาน ธุรการ งานสารบรรณ งานสถานที่และครุภัณฑ์ งานประชาสัมพันธ์ งานจัดการความรู้ งานบริหาร ความเสี่ยง งานประเมินความพึงพอใจ และทาหน้าที่ฝ่ายเลขานุการการประชุม สายสนับสนุนของ สานัก ๒. กลุ่มงานการเงินและพัสดุ ทาหน้าที่เป็นหน่วยงานในการบริหารและปฏิบัติงานเกี่ยวกับการ เบิกจ่ายเงิน การจัดทาบัญชีพัสดุ จัดซื้อ จัดจ้าง วัสดุ-ครุภัณฑ์ หนังสือ วารสาร และฐานข้อมูล ออนไลน์ รวมทั้งบริหารการใช้จ่ายเงินของสานัก ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผล สามารถตรวจสอบได้ ๓. กลุ่มงานแผนและพัฒนาองค์การ ทาหน้าที่ประสานจัดทาแผนระดับต่าง ๆ ทั้งแผนระยะยาว แผนกลยุทธ์ แผนปฏิบัติงานและติดตามผลการปฏิบัติงานตามแผน จัดทางบประมาณประเภทต่าง ๆ งานประกันคุณภาพ งานทรัพยากรบุคคล สนับสนุนงานบริการทางวิชาการของสานัก
  • 9. 9 ตัวอย่าง Organization Chart ของ Princeton University Library (http://library.princeton.edu/about/orgchart) สิ่งที่นักศึกษาต้องจับประเด็นให้ได้: งานของห้องสมุด มีงานอะไรบ้าง หากยึดกระบวนการการทางานในห้องสมุดเป็นหลัก คือ เริ่ม ตั้งแต่งานจัดหา งานเทคนิค และงานบริการ จากนั้นก็จะเป็นงานอื่นๆ อาทิ งานจดหมายเหตุ งานหนังสือหายาก ฯลฯ และในแต่ละงานมีหน้าที่ความรับผิดชอบ อะไรบ้าง เนื้อหาวิชาชีพสารสนเทศศึกษา ชุติมา สัจจานันท์ (2546) กล่าวว่า IFLA กาหนดองค์ประกอบหลักของเนื้อหาวิทยาการ สาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ ไว้ดังนี้ 1. สิ่งแวดล้อมทางด้านสารสนเทศ นโยบายและจริยธรรมสารสนเทศ ประวัติของศาสตร์ 2. การผลิต การสื่อสาร และการใช้สารสนเทศ 3. การประเมินความต้องการสารสนเทศ และการออกแบบการบริการที่ตอบสนองความ ต้องการของผู้ใช้ 4. กระบวนการถ่ายทอดสารสนเทศ
  • 10. 10 5. การจัดเก็บ ค้นคืน สงวนรักษา และอนุรักษ์สารสนเทศ 6. การวิจัย การวิเคราะห์ และการสังเคราะห์สารสนเทศ 7. การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสารกับผลผลิตและบริการห้องสมุดและสารสนเทศ 8. การจัดการทรัพยากรสารสนเทศและการจัดการความรู้ 9. การจัดการหน่วยงานหรือสถาบันบริการสารสนเทศ 10. การประเมินเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ผลผลิตจากการใช้สารสนเทศและห้องสมุด American Library Association - -ALA หรือสมาคมห้องสมุดอเมริกัน กาหนดขอบเขตของ หลักสูตรบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ว่าเป็นศาสตร์เกี่ยวกับสารสนเทศ และความรู้ที่บันทึก ไว้ บริการและเทคโนโลยี เพื่ออานวยความสะดวกในการจัดการและการใช้ โดยมีเนื้อหาสาระ ประกอบด้วย การผลิตสารสนเทศและความรู้ การสื่อสาร การเลือก การจัดหา การจัดหมวดหมู่ และทารายการ การจัดเก็บและค้นคืน การอนุรักษ์ การวิเคราะห์ การตีความ การประเมิน การ สังเคราะห์ การกระจาย และการจัดการสารสนเทศ (ชุติมา สัจจานันท์, 2546) ผศ. ดร. พิมพ์ราไพ เปรมสมิทธิ์ กล่าวว่า “หลักสูตรสารสนเทศศึกษา” เกี่ยวข้องกับ การ สร้างสารสนเทศและความรู้ การสื่อสาร การเลือกสรร การจัดหา การจัดระบบสารสนเทศ การจัดเก็บและค้นคืน การสงวนรักษา การวิเคราะห์ การตีความ การประเมิน การ สังเคราะห์ การเผยแพร่ และ การจัดการ ผศ.นฤตย์ นิ่มสมบุญ (ม.ป.ป.) กล่าวถึง องค์ประกอบหลักของเนื้อหาที่เป็นพื้นฐานของ สาขาวิชาสารสนเทศศึกษา ไว้ดังนี้ (ดูรูปภาพประกอบ)
  • 11. 11 1. การจัดการเนื้อหาสารสนเทศ (Information content) ซึ่งรวมทั้งเนื้อหาในรูปแบบพิมพ์ และอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง งานวิเคราะห์เนื้อหา สารสนเทศ ในทุกรูปแบบ เช่น การวิเคราะห์ สารสนเทศ การทาดรรชนีและสาระสังเขป ฯลฯ ซึ่งต้องมีมาตรฐานในการดาเนินงาน เช่น การใช้ AACR 2หรือ MARC หรือ Metadata เป็นต้น 2. ระบบสารสนเทศ (Information systems) หมายถึง งานด้านการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ (Computer system ) ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ระบบบุคลากรไอที ระบบการสื่อสาร หรือ ระบบที่ใช้ในการจัดการสารสนเทศ 3. บุคลากรในงานสารสนเทศ (People) หมายรวมถึง ผู้จัดการ หรือ องค์กรที่จัดการ- สารสนเทศ ผู้ใช้ ผู้ให้บริการ ผู้ดูแลระบบสารสนเทศ ซึ่งกลุ่มบุคคลข้างต้นจะทางานต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องกับการให้บริการสารสนเทศ (information services) 4. องค์กรที่เกี่ยวข้องกับสารสนเทศ (Organization) เช่น สานักพิมพ์ ห้องสมุด ผู้ จาหน่ายฐานข้อมูล และ องค์กรที่มีหน้าที่จัดการสารสนเทศ งานในกลุ่มนี้ เช่น การบริหารงาน- ศูนย์สารสนเทศ การจัดซื้อจัดหาทรัพยากรที่ต้องเกี่ยวข้องกับหน่วยงานภายนอกหลายส่วน องค์กรวิชาชีพด้านสารสนเทศศึกษา เป็นต้น สิ่งที่นักศึกษาต้องจับประเด็นให้ได้: เนื้อหาวิชาชีพสารสนเทศศึกษา มีขอบเขตครอบคลุมเรื่องหลักใดบ้าง
  • 12. 12 หลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา ในที่นี้จะใช้หลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และประยุกต์ศิลป์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย โดยจะนาเสนอเฉพาะรายวิชาเอกของสาขาเท่านั้น เพื่อให้นักศึกษาลอง เอารายวิชาต่างๆ ไปกรุ๊ปไว้ใน “เนื้อหาวิชาชีพสารสนเทศศึกษา” เพื่อหาจุดเชื่อมโยง หรือ ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษา กระบวนการการทางานในห้องสมุด หรือ ลักษณะงานในห้องสมุด และเนื้อหาวิชาชีพสารสนเทศศึกษา ว่ามีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกันอย่างไร วิชาเอกบังคับ HN101 สารสนเทศกับสังคม (Information and Society) HN102 การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ (Information ResourcesDevelopment) HN201 ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิง (Reference Resources) HN202 การวิเคราะห์สารสนเทศ (Information Analysis) HN203 การทาดรรชนีและสาระสังเขป (Indexing and Abstracting) HN204 การบริการและเผยแพร่สารสนเทศ (Information Services and Dissemination) HN301 การทารายการทรัพยากรสารสนเทศ (Cataloging of Information Resources) HN302 การจัดการห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ (Management of Librariesand Information Centers) HN303 การพัฒนาระบบสารสนเทศ (Information Systems Development) HN304 การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ (Information Storage and Retrieval) HN305 การพัฒนาฐานข้อมูลในงานสารสนเทศ (Database Development in Information Work) HN306 การวิจัยในสาขาสารสนเทศศึกษา (Research in Information Studies) HN401 ห้องสมุดอิเล็กทรอนิกส์ (ElectronicLibraries) วิชาเอกเลือก HN231 การอ่านเพื่องานสารสนเทศ (Reading for Information Work) HN232 ภาษาอังกฤษเพื่องานสารสนเทศ (English for Information Work) HN233 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเพื่องาน สารสนเทศ (Introduction to Computer Programming for Information Work) HN234 การพัฒนาสื่อประสมเพื่องานสารสนเทศ (Multimedia Development for Information Work) HN235 การจัดการเว็บไซต์เพื่องานสารสนเทศ (Web Site Management for Information Work)
  • 13. 13 HN331 แหล่งสารสนเทศทางธุรกิจและอุตสาหกรรม (Information Sources in Business and Industry) HN332 การจัดการสารสนเทศธุรกิจ (Management of Business Information) HN333 การตลาดเพื่องานบริการสารสนเทศ (Marketing for Information Services) HN334 การจัดการสารสนเทศสานักงาน (Office Information Management) HN335 กิจกรรมสารสนเทศเพื่อบริการสังคม (Information Activities for Social Services) HN336 การจัดการจดหมายเหตุ (ArchivesManagement) HN337 ประสบการณ์วิชาชีพ (Practicum) HN431 บูรณาการความรู้เพื่อวิชาชีพสารสนเทศ (Knowledge Integration for Information Profession) HN432 การจัดการความรู้ในห้องสมุดและศูนย์สารสนเทศ (Knowledge Management in Librariesand Information Centers) HN433 คลังความรู้ (Knowledge Repositories) HN434 การจัดการโครงการเพื่องานสารสนเทศ (Project Management for Information Work) HN435 ธุรกิจสารสนเทศ (Information Business) HN436 การประมวลสารสนเทศสาเร็จรูป (Information Repackaging) HN437 การศึกษาอิสระ (Independent Study) HN438 สหกิจศึกษา (Co-operative Education) อนึ่งให้นักศึกษาอ่านคาอธิบายรายวิชาของแต่ละวิชาข้างต้นได้จากเอกสาร “หลักสูตร สารสนเทศศึกษา (ใช้กับนักศึกษารหัส 55 เป็นต้นไป) คณะมนุษยศาสตร์และประยุกต์ศิลป์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย” ที่หน้า 44-49 ซึ่งครูได้ใส่ไว้ใน iTunes U ในบทที่ 3 ให้เรียบร้อยแล้ว สิ่งที่นักศึกษาต้องจับประเด็นให้ได้: รายวิชาเอกแต่ละวิชาของหลักสูตรสารสนเทศศึกษา เรียนเกี่ยวกับอะไร และสามารถจัดรายวิชาต่างๆ เหล่านั้นไว้ใน “เนื้อหาวิชาชีพสารสนเทศ” ได้ด้วย โดยอาศัยความรู้เรื่อง “กระบวนการการทางานในห้องสมุด” มาช่วย ********************************** ไม่มีสิ่งใดในโลกนี้ได้มาโดยง่ายดาย ล้วนต้องผ่านความอดทนที่จะศึกษาเรียนรู้ด้วยกันทั้งสิ้น