SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  42
Télécharger pour lire hors ligne
Lesson 3-4
DEFINE
ROLE
Of PURCHASING
การจัดซื้อ...คืออะไร
???
นิยาม ความหมาย
1. การจัดซื้อ คือ กิจกรรมของผู้จัดซื้อโดยยึดหลัก 5 R’s
ประกอบด้วย
 Right Quality : การพิจารณาเลือกซื้อสินค้าให้ได้คุณสมบัติที่ถูกต้อง
 Right Quantity : การพิจารณาเลือกซื้อสินค้าในจํานวนที่ถูกต้อง
 Right Source : การพิจารณาเลือกซื้อสินค้าจากแหล่งที่ถูกต้อง
 Right Price : การพิจารณาเลือกซื้อสินค้าในราคาที่ถูกต้อง
 Right Want : การพิจารณาเลือกซื้อสินค้าที่ตรงต่อความต้องการของ
ลูกค้ามากที่สุด
นิยาม ความหมาย
2. การจัดซื้อ คือ กระบวนการของกิจกรรมต่างๆ ที่กระทําขึ้นเพื่อรับผิดชอบ
ในการจัดหาวัตถุดิบ วัสดุอุปกรณ์ ของใช้ต่างๆ ในกิจการให้มีความพร้อม
อยู่เสมอ
นิยาม ความหมาย
3. การจัดซื้อ คือ การกําหนดประมาณความต้องการใช้ของกิจการ การสรรหา
การคัดเลือกแหล่งขาย ในราคาที่เหมาะสม เงื่อนไขการชําระเงินที่พอใจ
การจัดทําใบสั่งซื้อ การติดตามผลการสั่งซื้อ เพื่อให้ได้มาซึ่งวัสดุอุปกรณ์ ในเวลา
ที่กําหนดไว้
นิยาม ความหมาย
สรุป
การจัดซื้อ คือ
ภารกิจเพื่อให้ได้มาซึ่งสินค้า วัตถุดิบ วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้
ตามที่กิจการต้องการ โดยมีคุณสมบัติที่ถูกต้อง จํานวนที่ถูกต้อง จังหวะ
เวลาที่ถูกต้อง ราคาที่ถูกต้อง จากแหล่งผู้ขายที่ถูกต้อง และจัดส่งไปยัง
สถานที่ที่ถูกต้อง ในสภาพที่พร้อมที่จะผลิต หรือ จัดจําหน่าย หรือเพื่อใช้งาน
การจัดซื้อมีกี่ประเภท
???
ประเภทของการจัดซื้อ
Joel D. Wisner, et al
Purchasing
Merchants Purchasing
(การจัดซื้อสินค้าเพื่อการจําหน่าย)
Industrial Purchasing
(การจัดซื้อเพื่อการอุตสาหกรรม)
เป้าหมายการจัดซื้อมีอะไรบ้าง
???
วัตถุประสงค์ของการจัดซื้อ
1. เพื่อให้ได้สินค้าที่มีคุณภาพเหมาะแก่ผู้ซื้อ และผู้ใช้
2. เพื่อให้ได้สินค้าตามจํานวนไม่ขาดตอน
3. เพื่อสต๊อกสินค้าตํ่าสุด
4. เพื่อสอดคล้องกับสภาวะความต้องการของตลาด
5. เพื่อให้ได้สินค้าในราคาตํ่าสุด เมื่อเปรียบเทียบกับคุณภาพบริการ
และคุณสมบัติของสินค้า
6. เพื่อให้กิจการมีกําไร อยู่ในสภาวะแข่งขันได้เป็นอย่างดี
7. เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาการจัดซื้อสินค้าซํ้าซ้อน สินค้าชํารุด เสียหายและล้าสมัย
8. เพื่อตอบสนองความต้องการของฝ่ายต่างๆ ในองค์การ และสอดคล้องกับ
นโยบายขององค์การ
บทบาทหน้าที่ของฝ่ายจัดซื้อมีอะไรบ้าง
???
บทบาทฝ่ายจัดซื้อ
1. การเลือกสรรสินค้า (Merchandise Assortment)
การเลือกสรรสินค้าให้เหมาะกับกิจการค้าปลีกนั้นมี หลัก 3 ประการ
1.1 ความกว้าง (Width)
คือการมีสินค้ามากมายหลายชนิดอยู่ในร้าน เหมาะกับร้านค้าปลีก
แต่ละประเภท และทําเลที่ตั้ง
1.2 ความลึก (Depth)
คือการมีสินค้าน้อยประเภท แต่ในแต่ละประเภทนั้น มีหลายตรายี่ห้อ
หลายขนาด หลายสี หลายรุ่น
บทบาทฝ่ายจัดซื้อ
1. การเลือกสรรสินค้า (Merchandise Assortment)
1.3 ความสมบูรณ์ครบถ้วน (Consistency)
คือการจัดหาสินค้าให้มีความสมบูรณ์ครบถ้วน ตามที่ลูกค้าจะคาดหวังได้
ว่าจะหาสินค้าชนิดนี้จากที่นี่ เน้นในร้านค้าปลีกเฉพาะอย่าง โดยจะทําให้ร้าน
ค้าปลีกเฉพาะอย่างนั้นสามารถจัดซื้อ สินค้ามาเพิ่มมากขึ้น เพื่อสนองความต้องการ
ของลูกค้าเพราะมีกลยุทธ์ที่เน้น ความลึกสินค้ามากกว่าความกว้าง ตรงข้ามกับร้านค้า
ปลีกที่เน้นกลยุทธ์ความกว้าง
บทบาทฝ่ายจัดซื้อ
2. เข้าใจวงจรชีวิตสินค้า (Product Life Cycle:PLC)
ฝ่ายจัดซื้อจะต้องเข้าใจถึงวงจรชีวิตของสินค้า เพื่อทําให้ตัดสินใจเลือกสินค้า
ได้ดีขึ้น สินค้าบางชนิดมีวงจรชีวิตที่ยาวมาก แต่สินค้าบางประเภทเช่น สินค้าแฟชั่น
อาจล้าสมัยอย่างรวดเร็ว เมื่อมีแฟชั่นใหม่ออกมา
วงจรชีวิตสินค้า แบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน
บทบาทฝ่ายจัดซื้อ
1. ขั้นแนะนํา (Introduction)
• สินค้าใหม่เพิ่งเข้าสู่ตลาด
• ผู้บริโภคยังไม่ค่อยรู้จัก
• ต้องมีการจัดการส่งเสริมการขายมาก
• ต้นทุนสูง
• กําไรน้อย
บทบาทฝ่ายจัดซื้อ
2. ขั้นเติบโต (Growth)
• สินค้ามียอดขายเพิ่มขึ้นอย่างเร็ว
• ผู้บริโภครู้จักมากขึ้น
• ยอดขายเป็นผลจากการ
ลงทุนส่งเสริมการขายในช่วง
แนะนําสินค้า
• ต้นทุนต่อหน่วยลดลง
• กําไรสูงขึ้น
บทบาทฝ่ายจัดซื้อ
3. ขั้นเติบโตเต็มที่ (Maturity)
• สินค้ามียอดขายเริ่มคงตัว
• ผู้บริโภครู้จักโดยทั่วไป
• การแข่งขันสูง มีตราสินค้าเข้า
มาช่วงชิงส่วนแบ่งตลาดมากราย
• มีการจัดส่งเสริมการขายเพื่อรักษา
ส่วนแบ่งตลาด
• กําไรต่อหน่วยตํ่าลง
บทบาทฝ่ายจัดซื้อ
4. ขั้นอิ่มตัว (Saturation)
• สินค้ามียอดขายสูงสุด
• แต่ยอดขายยังคงที่ต่อไปได้
• มีการขยาย line สินค้า
• มีการเพิ่มเข้ามาของลูกค้าใหม่
และออกไปของลูกค้าเก่า
• กําไรต่อหน่วยขึ้นกับการเปลี่ยน
แปลงยอดขายรวมที่เพิ่มขึ้นหรือ
ลดลง
บทบาทฝ่ายจัดซื้อ
4. ขั้นยอดขายคงที่จากการทํา
Product Development
เช่น Line Extension
ยอดขายคงที่จากการทํา
Product Development
เช่น Line Extension
บทบาทฝ่ายจัดซื้อ
บทบาทฝ่ายจัดซื้อ
5. ขั้นถดถอย (Saturation)
• สินค้ามียอดขายตกตํ่า ชะงักงัน
• ผู้บริโภคเปลี่ยนไปใช้สินค้า
ประเภทอื่น เช่น นํ้ามันเบนซิน
กับ E20 หรือ กางเกงขากระดิ่ง
กับ กางเกงขาเดฟ
• กําไรต่อหน่วยตํ่าลง
บทบาทหน้าที่ฝ่ายจัดซื้อ
ฝ่ายจัดซื้อจะต้องทราบว่า ผู้บริโภคต้องการอะไร (What) ต้องการเมื่อไร
(When) ความต้องการนั้นอยู่ที่ไหน (Where) ตลอดจนปริมาณที่ต้องการ
(In What Quantity) ในราคาที่เขาพึงพอใจ (Price) และสามารถ
จัดซื้อมาได้นั้น เป็นเรื่องที่ยาก แต่สามารถเรียนรู้ศึกษาได้ จากการเข้าใจใน
พฤติกรรมของผู้บริโภค ผู้บริโภคมีความต้องการ (Needs) และความอยากได้
(Wants) เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา บทบาทที่ฝ่ายจัดซื้อจะต้องพิจารณา ได้แก่
3. การสํารวจความต้องการลูกค้า
หน้าที่ฝ่ายจัดซื้อ
หน้าที่ในการจัดซื้อ
1. จัดซื้อให้ได้คุณสมบัติของสินค้าที่ถูกต้อง
2. จัดซื้อให้ได้จํานวนสินค้าที่ถูกต้อง
3. จัดซื้อสินค้าจากแหล่งผู้ขายได้อย่างถูกต้อง
4. จัดซื้อสินค้าได้ในราคาที่ถูกต้อง
5. จัดซื้อตรงกับความต้องการของลูกค้ามากที่สุด
หน้าที่ในการจัดซื้อ
1. จัดซื้อให้ได้คุณสมบัติของสินค้าที่ถูกต้อง
จัดซื้อสินค้าที่เหมาะสมกับผู้บริโภคแต่ละรายจะนําไปใช้
ดังนั้น คุณสมบัติของสินค้าจึงมีตั้งแต่ราคาสูง จนถึงราคาตํ่า ตามอํานาจ
การซื้อของผู้บริโภคแต่ละราย
หน้าที่ในการจัดซื้อ
2. จัดซื้อให้ได้จํานวนสินค้าที่ถูกต้อง
การศึกษาข้อมูลการซื้อขายในอดีต และการคาดคะเนความต้อง
การของผู้บริโภคในอนาคต ฤดูกาล ภาวะเศรษฐกิจ หรือรายได้ จึงกําหนด
จํานวนประมาณการสินค้าได้ตรงกับความต้องการของผู้บริโภค ผลประโยชน์ที่
จะได้รับจากการซื้อครั้งละมากๆ โดยมีคลังสินค้าสนับสนุนต่อเนื่อง สินค้าไม่ขาดตอน
ถึงแม้ว่าจะขายดีมาก หรือขายได้น้อยก็ตาม จํานวนสินค้าในคลังสินค้าก็ยังคงเหลือ
ในปริมาณที่ตํ่า
หน้าที่ในการจัดซื้อ
3. จัดซื้อสินค้าจากแหล่งผู้ขายได้อย่างถูกต้อง
ผู้จัดซื้อ ได้สินค้าจากแหล่งผู้ผลิตโดยตรง โดยพิจารณาคุณสมบัติ
ของผู้ขายดังนี้
 มีความซื่อสัตย์ จริงใจ และยุติธรรม
 มีความคิดก้าวหน้าในการปรับปรุงสินค้าและกรรมวิธีผลิตให้ดีอยู่เสมอ
 มีฐานะทางการเงินไม่กระทบต่อการส่งสินค้าให้ครบตามจํานวน
 มีความสามารถในการจัดส่งสินค้าได้ครบถ้วน ถูกต้อง ตรงเวลา
 มีการกําหนดราคาพอสมควรจากแหล่งผลิต จากแหล่งผู้ผลิต ที่จะให้
ผู้ค้าปลีกกําหนดราคาขายแล้วพอจะมีกําไร
 มีอัธยาศัยไมตรีที่ดีต่อผู้จัดซื้อ และได้รับความสะดวกในการเคลื่อนย้าย
จัดส่งสินค้า ประหยัดค่าใช้จ่าย
หน้าที่ในการจัดซื้อ
4. จัดซื้อสินค้าได้ในราคาที่ถูกต้อง
ต้องจัดซื้อสินค้าในราคายุติธรรม (Fair Price) คือผู้ขายขายสินค้า
นั้นแล้วยังคงได้กําไร ผู้จัดซื้อซื้อไปแล้วก็จะได้ผลกําไรจากนําไปขายต่อ ผู้ซื้อ
จะต้องทําการเปรียบเทียบราคาขายจากผู้ขายรายอื่น ๆ ประกอบ มิใช่ราคาตํ่า
เพียงอย่างเดียวก็ตัดสินใจซื้อ จะต้องพิจารณาอย่างอื่นประกอบด้วย เช่น
ความต้องการของลูกค้า จํานวนคุณสมบัติการส่งมอบ เงื่อนไขการชําระเงิน
หน้าที่ในการจัดซื้อ
5. จัดซื้อตรงกับความต้องการของลูกค้ามากที่สุด
จัดซื้อสินค้าให้ตรงกับความต้องการลูกค้ามากที่สุด และลูกค้า
พร้อมที่จะตัดสินใจซื้อ ฝ่ายขาย ฝ่ายจัดซื้อ สามารถวางแผนร่วมกัน โดย
ศึกษาถึงประสบการณ์การขายในอดีตที่ผ่านมา ตลอดจนศึกษาวัฏจักร
ชีวิตผลิตภัณฑ์ที่มีอยู่ในตลาดปัจจุบัน และพฤติกรรมการบริโภคของลูกค้า
เช่น การสํารวจพฤติกรรมผู้บริโภคของ สํานักต่างๆ เช่น PWC, KPMG,
Neilson, Euro Mornitor เป็นต้น
กิจกรรมประจําวันของการจัดซื้อมีอะไรบ้าง
???
กิจกรรมประจําวันของการจัดซื้อ
งานเกี่ยวกับข่าวสารทั่วไป
งานเกี่ยวกับการวิจัย
งานเกี่ยวกับการจัดซื้อ
งานเกี่ยวกับการบริหารคลัง
งานเบ็ดเตล็ด
กิจกรรมประจําวันของการจัดซื้อ
งานเกี่ยวกับข่าวสารทั่วไป
- ทําบันทึกการซื้อ
- ทําบันทึกราคา
- ทําบันทึกสต้อกและการใช้
- ทําบันทึกเกี่ยวกับผู้ขาย
- ทําบันทึกแฟ้มคุณลักษณะเฉพาะ
- ทําบันทึกแฟ้มแคตาล้อค
กิจกรรมประจําวันของการจัดซื้อ
งานเกี่ยวกับการวิจัย
- จัดทําการศึกษาตลาด
trend
mk size
mk growth
purchasing power
- จัดทําการวิเคราะห์ต้นทุน ราคา
คู่แข่ง
demand supply
PLC
กิจกรรมประจําวันของการจัดซื้อ
งานเกี่ยวกับการจัดซื้อ
- ตรวจใบขอซื้อ
ใบขอซื้อ (Purchase Requisition : PR)
คือ เอกสารที่ใช้บริหารการควบคุมภายในของบริษัทเกี่ยวกับการจัดซื้อ ปกติแล้วหน้าที่
การจัดซื้อ หรือการออกใบสั่งซื้อ จะเป็นหน้าที่ของฝ่ายจัดซื้อ หรือแผนกจัดซื้อ ส่วนฝ่าย
อื่นๆ หรือแผนกอื่นๆ หากต้องการจัดซื้อ ตัวอย่างเช่น ซื้อคอมพิวเตอร์ เพื่อใช้ใน
สํานักงานสําหรับแผนก หรือซื้อโต๊ะ ตู้หรืออุปกรณ์ต่างๆในออฟฟิศ จะต้องใช้ใบขอ
ซื้อ เป็นต้น
ใบขอซื้อ (Purchase Requisition : PR)
ดังนั้น ใบขอซื้อจึงเข้ามาทําหน้าที่เป็นตัวแทนของความต้องการซื้อของแต่ละแผนก
โดยใบขอซื้อนั้นต้องผ่านการเห็นชอบของผู้มีอํานาจลงนามในแผนกนั้นๆด้วย
อธิบายง่าย ๆ ก็คือ ต้องจัดทําใบขอซื้อ โดยให้ผู้บริหาร หรือผู้มีอํานาจลงนามของแผนก
ที่ต้องการจัดซื้อลงนามอนุมัติก่อน แผนกหรือฝ่ายจัดซื้อจึงจะทําการเปรียบเทียบราคา
และหา Supplier ที่ดีทีสุดเพื่อทําการออกใบสั่งซื้อต่อไป
กิจกรรมประจําวันของการจัดซื้อ
งานเกี่ยวกับการจัดซื้อ
- แสวงหาใบเสนอราคา
ใบเสนอราคาเป็นเอกสารที่ผู้ประกอบการ ออกให้กับฝ่ายลูกค้า(ผู้ซื้อ) เพื่อให้ลูกค้าพิจารณา
ราคาสินค้า/บริการ รวมถึงเงื่อนไขต่าง ๆ ก่อนตัดสินใจซื้อ ในฐานะของผู้ประกอบการ ควร
สร้างความน่าเชื่อถือให้กับธุรกิจด้วยการเปิดใบเสนอราคาที่ที่มีองค์ประกอบหลัก ๆ ที่
สําคัญดังต่อไปนี้ รายละเอียดของงาน สินค้า/บริการ เงื่อนไขการจัดส่ง ระยะเวลาเครดิต
ลายเซ็นอนุมัติซื้อ บนใบเสนอราคา
หมายถึง การลงชื่อเพื่อตกลงในใบเสนอราคาซึ่งระบุถึงเงื่อนไขต่างๆ เมื่อลูกค้าลงชื่ออนุมัติ
แล้ว ผู้ประกอบการก็สามารถเริ่มทํางานได้ทันที
กิจกรรมประจําวันของการจัดซื้อ
งานเกี่ยวกับการจัดซื้อ
- วิเคราะห์ใบเสนอราคา
- ทําการเลือกว่าจะซื้อเงินสดหรือแบ่งเป็นรายงวด
- กําหนดการซื้อและวันส่งของ
- ต่อรองราคาพนักงานขาย
- ออกใบสั่งซื้อ
ใบสั่งซื้อ (อังกฤษ: Purchase Order; P/O, P.O.)
เป็นเอกสารข้อตกลงหรือสัญญาในเชิงพาณิชย์ ที่ออกโดยผู้ซื้อเพื่อสั่งซื้อพัสดุ
สินค้าหรือบริการจากผู้ขาย โดยระบุชนิด จํานวน ...
ใบสั่งซื้อ (อังกฤษ: Purchase Order; P/O, P.O.)
เป็นเอกสารข้อตกลงหรือสัญญาในเชิงพาณิชย์ ที่ออกโดยผู้ซื้อเพื่อสั่งซื้อพัสดุ
สินค้าหรือบริการจากผู้ขาย โดยระบุชนิด จํานวน และราคา
พร้อมทั้งอาจจะรวมถึงเงื่อนไขต่างๆ ตามที่ได้ตกลงกับผู้ขาย
กิจกรรมประจําวันของการจัดซื้อ
งานเกี่ยวกับการจัดซื้อ
- ตรวจสอบใบแจ้งหนี้
ใบวางบิล/ใบแจ้งหนี้ (INVOICE)
เป็นเอกสารที่ผู้ประกอบการออกเพื่อ ให้ลูกค้าทราบถึงจํานวนเงินที่ต้องชําระ และใช้
เป็นเอกสารสําหรับการชําระเงิน ส่วนใหญ่มักใช้กับบริษัทที่มีขนาดใหญ่ หรือธุรกิจที่มี
การใช้เครดิตในการชําระเงิน โดยในแต่ละบริษัทจะมีวันสําหรับการวางบิลที่แตกต่าง
กัน ซึ่งสามารถสอบถามวันจากฝ่ายบัญชีของลูกค้าได้โดยตรง
กิจกรรมประจําวันของการจัดซื้อ
งานเกี่ยวกับการบริหารคลัง
- เก็บรักษา stock ให้น้อยที่สุด
- ปรับปรุงการหมุนเวียนของสินค้า
- หลีกเลี่ยงสินค้าเกินความจําเป็น และล้าสมัย
กิจกรรมประจําวันของการจัดซื้อ
งานเบ็ดเตล็ด
- ตัดสินใจว่าจะผลิตเองหรือซื้อ
- การออกคุณลักษณะเฉพาะ
- การหาสินค้าทดแทน
- การตรวจสอบคุณภาพสินค้า
- งบประมาณสําหรับการจัดซื้อสินค้า
การร่วมงานจัดซื้อกับหน่วยงานต่างๆมีอะไรบ้าง
???
การร่วมงานจัดซื้อกับหน่วยงานต่างๆ
1. งานจัดซื้อกับฝ่ายผลิต
2. งานจัดซื้อกับฝ่ายวิศวกรรม
3. งานจัดซื้อกับฝ่ายการตลาด
4. งานจัดซื้อกับฝ่ายคลังสินค้า
5. งานจัดซื้อกับฝ่ายจัดส่ง
6. งานจัดซื้อกับการประกันคุณภาพ
7. งานจัดซื้อกับฝ่ายการเงิน

Contenu connexe

Similaire à Lesson 3 4lastest

เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อเรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
supatra39
 
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
JeenNe915
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
arm_smiley
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
supatra39
 
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
arm_smiley
 
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
supatra39
 
การจัดการตลาด
การจัดการตลาดการจัดการตลาด
การจัดการตลาด
pronprom11
 

Similaire à Lesson 3 4lastest (14)

เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อเรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ
 
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00เรื่องที่ 4  การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
เรื่องที่ 4 การแสวงหาข่าวสารและการประเมินค่าทางเลือกก่อนการซื้อ00
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
 
บทที่ 5 ระบบการจัดซื้อ.pptx
บทที่ 5 ระบบการจัดซื้อ.pptxบทที่ 5 ระบบการจัดซื้อ.pptx
บทที่ 5 ระบบการจัดซื้อ.pptx
 
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคลเรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย  การจัดการงานบุคคล
เรื่องที่ 3 การคัดเลือกแหล่งจัดซื้อสินค้า การจัดจำหน่าย การจัดการงานบุคคล
 
กลุ่ม6 higher market
กลุ่ม6 higher marketกลุ่ม6 higher market
กลุ่ม6 higher market
 
ระบบการซื้อ
ระบบการซื้อระบบการซื้อ
ระบบการซื้อ
 
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
 
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
 
Pre Purchase Stage
Pre Purchase StagePre Purchase Stage
Pre Purchase Stage
 
Market
MarketMarket
Market
 
การจัดการตลาด
การจัดการตลาดการจัดการตลาด
การจัดการตลาด
 
Merchandizing Management
Merchandizing ManagementMerchandizing Management
Merchandizing Management
 

Plus de Thamonwan Theerabunchorn

บทที่ 5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
บทที่  5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯบทที่  5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
บทที่ 5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
Thamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
Thamonwan Theerabunchorn
 

Plus de Thamonwan Theerabunchorn (20)

ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชร
ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชรภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชร
ภญ.ธมลวรรณ ธีระบัญชร
 
Qr code เข้าห้องเรียน
Qr code เข้าห้องเรียนQr code เข้าห้องเรียน
Qr code เข้าห้องเรียน
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
 
1intro information system
1intro information system1intro information system
1intro information system
 
บทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketingบทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketing
 
บทที่ 5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
บทที่  5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯบทที่  5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
บทที่ 5 การดำเนินธุรกิจอย่างมีคุณธรรมฯ
 
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
บทที่ 3 การประกอบธุรกิจขนาดย่อมและขนาดเล็
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯบทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
 
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าวตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำนมข้าว
 
3 c 2
3 c 23 c 2
3 c 2
 
3 c 1
3 c 13 c 1
3 c 1
 
4. 4 ps
4. 4 ps4. 4 ps
4. 4 ps
 
3การวางแผนทางธุรกิจ
3การวางแผนทางธุรกิจ3การวางแผนทางธุรกิจ
3การวางแผนทางธุรกิจ
 
2การจัดตั้งธุรกิจ
2การจัดตั้งธุรกิจ2การจัดตั้งธุรกิจ
2การจัดตั้งธุรกิจ
 
1ผู้ประกอบการ
1ผู้ประกอบการ1ผู้ประกอบการ
1ผู้ประกอบการ
 
Humaness f1
Humaness f1Humaness f1
Humaness f1
 
Lesson9
Lesson9Lesson9
Lesson9
 
Lesson6 7
Lesson6 7Lesson6 7
Lesson6 7
 

Lesson 3 4lastest