SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  14
Télécharger pour lire hors ligne
Physics Online IV                       http://www.pec9.com                  บทที่ 13 แสง

                              ฟ สิ ก ส บทที่ 13 แสง
 ตอนที่ 1 การแทรกสอดแสง
   ทบทวนการแทรกสอดของคลนนา
                       ่ื ํ้
      สําหรับแนวปฎิบัพลําดับที่ n(An)
                        ⇔S1P – S2P⇔ = n←
                                   ⇔ ←
                             d sin ± = n ←
  เมื่อ P คือจุดซึ่งอยูบนแนวปฎิบัพลําดับที่ n(An)
      S1P คอ ระยะจาก S1 ถึง P
                ื
      S2P คอ ระยะจาก S2 ถึง P
            ื
       ← คอ ความยาวคลื่น (m)
              ื
        n คอ ลําดับที่ของปฎิบัพนั้น
                  ื
        d คอ ระยะหางจาก S1 ถึง S2
                    ื
        ± คอ มุมที่วัดจาก A0 ถึง An
                      ื
1. คลนชนดหนง เมอเกดการแทรกสอดจะเกดแนว ดังรูป
       ่ื ิ ่ึ ่ ื ิ                         ิ
    ก. คลื่นนี้มีความยาวคลื่นเทาใด               (0.75 เมตร)
    ข. ถาคลื่นนี้มีความถี่ 500 Hz จะมความเรวเทาใด (375 m/s)
                                      ี     ็ 
วธทํา
 ิี




2. คลื่นชนิดหนึ่งเมื่อเกิดการแทรกสอดแนวปฏิบัพที่ 2 เอียงทํามุมจากแนวกลาง 30o
    หากแหลงกําเนิดคลื่นทั้งสองอยูหางกัน 9 เมตร
    ก. ความยาวคลื่นนี้มีคาเปนเทาใด                                          (9/4 เมตร)
    ข. หากคลื่นนี้มีความเร็ว 300 m/s จะมีความถี่เทาใด                       (133.33 Hz)
วธทํา
 ิี



                                              39
Physics Online IV                         http://www.pec9.com           บทที่ 13 แสง
    สําหรับแนวบัพลําดับที่ n (Nn)
              ⇔S1P – S2P⇔= Φn – 1 Γ←
                         ⇔        2
                   d sin ± = Φn – 1 Γ←
                                  2
        n คือ ลําดับทีของแนวบัพนัน
                      ่          ้

3. จากรูป แสดงภาพการแทรกสอดของคลื่นผิวน้ํา                           ปฏิบัพ
    ที่เกิดจากแหลงกําเนิดอําพันธ S1 และ S2 มี
                                                                              P
    P เปนจดบนเสนบพ ถา S1P เทากับ 10 เซนติ
            ุ        ั
    เมตร และ S2P เทากับ 7 เซนติเมตร ถาอัตรา
    เร็วของคลื่นทั้งสองเทากับ 30 เซนติเมตร ตอ                 S1                     S2
    วินาที แหลงกําเนิดทั้งสองมีความถี่เทาใด (5 Hz)
วธทํา
 ิี




   การแทรกสอดแสง
      ในแนวปฏิบัพ (An) (แถบสวาง)
           S 1P – S 2P = n ←
               d sin± = n ←
                    ← = nDdx
       ในแนวบพ (Nn) (แถบมืด)
              ั
            S1P – S2P = (n – 1 )←
                                2
                d sin± = (n – 1 )←
                                2
                    ← = d 1x
                          (n - 2 )D

                                                40
Physics Online IV                    http://www.pec9.com                    บทที่ 13 แสง
   เมือ
      ่     ← = ความยาวคลื่น                    x = ระยะจากแนวกลางถึงแถบ
             n = ลําดับที่ของแถบสวางหรือแถบมืด      สวาง หรือ แถบมืดที่ n
             d = ความหางชองสลิต               D = ระยะจากสลิตถึงฉากรับ
4. เมื่อฉายแสงที่มีความยาวคลื่น 500 nm ตกตั้งฉากบนชองแคบคูหนึ่งซึ่งหางกัน 0.1 mm
    จงหาวาแถบสวางลําดับที่ 20 จะเอียงทํามุมกับแถบสวางกลางกี่องศา (sin 6o = 0.1) (6o)
วธทํา
 ิี




5. เมื่อฉายแสงที่มีความยาวคลื่น 700 nm ตกตั้งฉากบนชองแคบคูหนึ่งซึ่งหางกัน 0.2 mm
    จงหาวาแถบสวางลําดับที่ 10 ทั้งสองดานจะทํามุมกันกี่องศา (sin 2o = 0.035)     (4o)
วธทํา
 ิี




6. ชองแคบคูหนึงหางกัน 0.1 mm เมื่อฉายแสงความยาวคลื่น 600 nm ตกตังฉากบนชอง
             ่                                                   ้
   แคบ แถบสวางลําดับที่ 4 บนฉากที่หางออกไป 80 cm จะอยูหางจากแนวกลางเทาใด
วธทา
 ิี ํ                                                                  (1.92 Cm)




                                          41
Physics Online IV                     http://www.pec9.com                    บทที่ 13 แสง
7(En 42/1) เมื่อใชแสงที่มีความยาวคลื่น 5.0x10–7 เมตร ตกตั้งฉากกับสลิตคูเกิดภาพ
    การแทรกสอดบนฉากทีอยูหางออกไป 1.2 เมตร ถาระยะหางระหวางสลิตคูเทากับ
                            ่  
    0.1 มิลลิเมตร แถบสวาง 2 แถบที่ติดกันอยูหางกันกี่มิลลิเมตร                ( 6 mm)
วธทํา
 ิี




8(En 43/1) ใหแสงทมความยาวคลน 500 นาโนเมตร ผานสลตคในแนวตงฉาก เกิดลวดลายการ
                ่ี ี      ่ื                 ิ ู    ้ั
    แทรกสอดบนฉากทีอยูหางจากสลิต 1.5 เมตร วัดระยะระหวางกึ่งกลางของแถบสวาง 2 แถบที่
                       ่  
    ถัดกันได 5 มลลเิ มตร สลิตคูนมระยะหางระหวางชองสลิตเทาใดในหนวยมิลลิเมตร (0.15 mm)
                 ิ               ้ี ี
วธทํา
 ิี




9(มช 43) แสงสเี หลองความยาวคลน 550 นาโนเมตร ตก
                  ื          ่ื
    ตงฉากผานสลตคอนหนง พบวาบนฉากทีหางออกไป 1.5
      ้ั         ิ ู ั ่ึ               ่ 
    เมตร แถบสวางลาดบท่ี 3 และลําดับที่ 7 อยูหางกัน 6
                  ํ ั                         
    มลลเิ มตร ชองทังสองของสลิตคูนอยูหางกันกีไมโครเมตร ( 550 )
         ิ          ้             ้ี        ่
วธทํา
 ิี




                                            42
Physics Online IV                    http://www.pec9.com                    บทที่ 13 แสง
10(En 41) แสงขาวตกตังฉากกับเกรตติง สเปกตรัมลําดับที่ 3 ของแสงสีมวงตรงกับสเปกตรัม
                       ้
    ลําดับที่ 2 ของแสงสีแดง ถาความยาวคลื่นของแสงสีมวงเปน 440 นาโนเมตร ความยาว
    คลืนของแสงสีแดงเปนกีนาโนเมตร
       ่                  ่                                               ( 660 mm)
วธทํา
 ิี




11. เมื่อใหแสงความยาวคลื่น ←1 และ ←2 ผานสลิตคูซึ่งหางกัน d พบวาแถบมืดที่ 4 ของ
    แสงความยาวคลื่น ←1 เกิดขึ้นที่เดียวกับแถบมืดที่ 5 ของแสงความยาวคลื่น ←2 อัตราสวน
    ของ ←1 / ←2 มีคาเทาใด                                                      (9/ 7)
วธทํา
 ิี




12(มช 31) เกรตติงมี 2000 เสนตอเซนติเมตร ถาฉายแสงความยาวคลื่นขนาดหนึ่งไปยัง
                  ้
    เกรตติงนี้ แถบสวางที่เกิดขึ้นแถบแรกบนจอจะอยูหางจากแนวกลางเปนมุม 30 องศา
           ้
    แสงนันมีความยาวคลืนเทาใดในหนวยนาโนเมตร
         ้             ่                                                       (ขอ ง.)
       ก. 1.5 x 10–6          ข. 2.5 x 10–6     ค. 1.5 x 103      ง. 2.5 x 103
วธทํา
 ิี




                                          43
Physics Online IV                    http://www.pec9.com                บทที่ 13 แสง
13(En 36) จากการทดลองเพื่อศึกษาสเปกตรัมของกาซ
    ไฮโดรเจน โดยใชเกรตติงซึงมีจานวนชอง/เซนติเมตร
                             ่ ํ
    เทากับ 4500 ดังรูป พบวาเมื่อระยะ D เทากับ
    1 เมตร จะมีแถบสวางสีเดียวกันบนไมเมตรหางจาก
    จุด O ทั้งทางดานซายและขวาเทากันคือ 0.3 เมตร
    จงหาวาแถบสวางนั้น มีความยาวคลื่นประมาณ
        1. 464 nm         2. 565 nm          3. 632 nm     4. 667 nm         ( ขอ 4.)
วธทํา
 ิี




14. ฉายแสงที่มีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ลงบนเกรตติงทีมจานวนเสน 5000 เสนตอ
                                                      ่ ีํ
    เซนติเมตร ระหวางมุม ± = 0o ถึง ± = 90o จะมีตาแหนงสวางไดกตาแหนง
                                                 ํ              ่ี ํ          (3)
วธทํา
 ิี




15(มช 36) แสงความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร พุงผานเกรตติงพบวาแนวแถบสวางแถบที่ 4
    ทํามุมกับแนวแถบสวางตรงกลางเทากับ 30 องศา จงหาจํานวนชองสลิตตอเซนติเมตร
    ของเกรตติงนี้
       1. 2000          2. 200           3. 3333        4. 2500            ( ขอ 4.)
วธทํา
 ิี



                                          44
Physics Online IV                      http://www.pec9.com                       บทที่ 13 แสง
16. สองแสงสีแดงตั้งฉากกับเกรตติงอันหนึ่งปรากฏแถบสวางที่ 1 จะเบนออกจากแนวกลาง
    ไปเปนมุม 45 องศา ถานําเกรตติงอีกอันหนึงทีมระยะระหวางชองเปน 3 เทาของอันแรก
                                            ่ ่ ี
    มาวางแทนแถบสวางที่ 3 จะเบนออกจากแนวกลางเปนมุมกีองศา ่                       (45o)
วธทํา
 ิี




17. ถาฉายแสงความยาวคลื่น 500 และ 600 นาโนเมตร ผานตั้งฉากกับเกรตติงไปยังฉาก จงหา
    ลําดับของแสงสีทั้งสองที่ทําใหริ้วสวางซอนกันเปนครั้งแรกจากแนวกลาง
วธทํา
 ิี                                                                     (6 สีแรกซอน 5 สีสอง)




   ทบทวนการเลียวเบนของคลืน
              ้          ่
   หลักของฮอยเกนส กลาววา
    “ ทุก ๆ จุดบนหนาคลืน สามารถประพฤติตัวเปนแหลง
                          ่
      กําเนิดคลื่นใหมได”

                                             45
Physics Online IV                    http://www.pec9.com                บทที่ 13 แสง
18. หลักของฮอยเกนสใชอธิบายปรากฎการณใด                                   (ขอ ก)
                                                                              
     ก. การเลี้ยวเบน      ข. การแทรกสอด          ค. การเปลี่ยนเฟส   ง. การหักเห
   การเลยวเบนแสง
         ้ี
      การเลี้ยวเบนของคลื่นใด ๆ จะเกิด
 ไดดกตอเมือความกวางของชองแคบมี
     ี็  ่
 ขนาดเล็กกวาความยาวคลื่น (←)
      สําหรับคลื่นแสง หากความกวาง
 ชองแคบมีขนาดใหญกวาความยาวคลื่น
 จะทําใหเกิดแนวมืด เรียกแนวบัพ (N)
 สมการเกี่ยวกับการเลี้ยวเบน
   ในแนวบพ (Nn)
              ั
            d sin ± = n←
                        dx
                   ← = nD

          เมือ ←
             ่      =   ความยาวคลื่น
               n    =   ลําดับที่ของแถบมืด
               d    =   ความกวางของชองสลิตเดี่ยว
               x    =   ระยะจากแนวกลางถึงแถบมืดที่ n
               D    =   ระยะจากสลิตถึงฉากรับ
19. ฉายแสงผานสลิตเดี่ยวทําใหเกิดแนวมืดแถบแรกเบนไปจากแนวกลางเปนมุม 30o
    กําหนดความยาวคลื่น 650 nm จงหาความกวางของชองสลิต                   ( 1.3 ⊄m)
วธทํา
 ิี




                                          46
Physics Online IV                      http://www.pec9.com                   บทที่ 13 แสง
20(En 42/2) ใชแสงมความยาวคลน 400 นาโนเมตร ตก
                 ี        ่ื
    ตังฉากผานสลิตเดียวทีมความกวางของชองเทากับ 50
      ้              ่ ่ ี
    ไมโครเมตร จากการสังเกตภาพเลียวเบนบนฉาก พบ
                                    ้
    วาแถบมืดแถบแรกอยูหางจากกึ่งกลางแถบสวางกลาง
    6.0 มลลเิ มตร ระยะระหวางสลิตเดียวกับฉากเปนเทา
         ิ                            ่
    ใดในหนวยเซนติเมตร                           (75)
วธทํา
 ิี




21. ใชแสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ฉายผานสลิตเดี่ยวเกิดแถบมืด – สวาง บนฉากหาง
    ออกไป 3 เมตร ระยะหาง ระหวางจุดที่มืดที่สุดสองขางของแถบสวางที่กวางที่สุดเปน
    1.5 เซนติเมตร สลิตนั้นกวางเทาใด                                     (2.4x10–4 เมตร)
วธทํา
 ิี




22. แสงสีเดียวความยาวคลื่น 550 นาโนเมตร เคลื่อนที่ผานชองแคบซึ่งกวาง 0.5 มิลลิเมตร
    แลวเกิดแถบการแทรกสอดบนฉาก ซึ่งหางจากชองแคบ 1 เมตร แถบมืดทั้งสองขางของ
    แถบสวางตรงกลางจะอยูหางกันประมาณเทาใด                             (2.24x10–3 เมตร)
วธทํา
 ิี




                                             47
Physics Online IV                   http://www.pec9.com                    บทที่ 13 แสง
23. สลิตเดี่ยววางหางจากฉาก 60 cm ใชแสงความยาวคลื่น 600 nm ทําใหเกิดแถบการเลี้ยว
   เบนขึ้นที่ฉากวัดความกวางแถบสวางอันกลางได 0.7 cm จงหาความกวางชองสลิต
วธทา
 ิี ํ                                                                 (1.03x10–4 m)




24(En 33) ตองการใหตาแหนงริวมืดแรกของลวดลายจากการเลียวเบนของสลิตเดียวตรงกับ
                        ํ        ้                    ้              ่
    ตําแหนงมืดที่ 5 ของริวลวดลายจากการแทรกสอดของสลิตคูระยะระหวางสลิตคูตองเปน
                          ้                                             
    กี่เทาของความกวางของสลิต
         1. 5               2. 7
                               2         3. 9
                                            2             4. 11
                                                              2             (ขอ 3.)
วธทํา
 ิี




25(En 40) ถาตองการใหตาแหนงมืดแรกของการเลียวเบนผานสลิตเดียวเกิดตรงกับตําแหนงมืด
                           ํ                    ้
    ทีสามของริวจากการแทรกสอดของสลิตคู อยากทราบวาจะตองใหระยะหางระหวางชอง
      ่         ้
    สลิตคูเปนกี่เทาของความกวางของสลิตเดี่ยว
        1. 23                   5
                             2. 2               3. 7              4. 9        (ขอ 2.)
                                                   2                 2
วธทํา
 ิี




                                          48
Physics Online IV                     http://www.pec9.com                     บทที่ 13 แสง

                    แบบฝ ก หั ด ฟ สิ ก ส บทที่ 13 แสง
  การแทรกสอดของแสง
1. เมื่อฉายแสงความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ลงบนสลิตคู ซึ่งมีระยะหางระหวางสลิตเปน 10
   ไมโครเมตร อยากทราบวาจุดทีเ่ กิดการแทรกสอดแบบเสริมกันจุดที่ 2 จะเบนไปจากแนวที่
   ฉายแสงเปนมุมเทาใด                                                     (sin–1 0.1)
2. สลิดคูหางกัน 1 ไมโครเมตร มีแสงความยาวคลื่น 550 นาโนเมตร ผานในแนวตังฉาก
                                                                        ้
   จงหามุมทีแถบมืดแรกเบนออกจากแนวกลาง
              ่                                                       (sin–1 0.275)
3. ชองแคบคูมระยะหางระหวางชอง 0.1 มิลลิเมตร เมื่อฉายแสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร
             ี
   ผานชองแคบคู ปรากฏวาแถบสวางลําดับที่สองบนฉากที่หางออกไป 80 เซนติเมตร จะอยู
   หางจากแนวกลางเทาไร                                                      (9.6 m m)
4. สลิตคูหางกัน 0.03 มิลลิเมตร วางหางจากฉาก 2 เมตร เมื่อฉายแสงผานสลิต ปรากฏวา
   แถบสวางลําดับที่ 5 อยูหางจากแถบกลาง 14 เซนติเมตร ความยาวคลื่นของแสงเปนกี่
   นาโนเมตร                                                                   (420 nm)
5. สลิตคูมีระยะหางระหวางชองสลิตเทากับ 0.40 มิลลิเมตร เมื่อสองดวยแสงสีเดียวและเปน
   แสงอําพันธในแนวตั้งฉาก ปรากฏริ้วการแทรกสอดบนฉากที่อยูหางจากสลิต 2.50 เมตร
   วัดระยะระหวางแถบสวางลําดับถัดกันไดเทากับ 3.50 มิลลิเมตร แสงนี้มีความยาวคลื่นกี่
   นาโนเมตร                                                                       (560 nm)
6. แสงสีหนึ่ง เมือผานชองแคบคูซงอยูหางกัน 0.5 มิลลิเมตร ปรากฏวาแถบสวางที่ 4 และที่ 6
                  ่              ่ึ  
  อยูหางกัน 2 มิลลิเมตร บนฉาก ซึ่งอยูหางจากชองแคบคู 1 เมตร จงหาความยาวคลนของแสงน้ี
                                                                              ่ื
                                                                                 (500 nm)
7. จากการทดลองเรืองการแทรกสอดของแสงโดยใชสลิตคูพบวาระยะระหวางริวสวางทีอยูตด
                    ่                                                  ้     ่  ิ
   กันเทากับ 0.329 มิลลิเมตร ระยะระหวางชองสลิตเทากับ 0.5 มิลลิเมตร และระยะหาง
   ระหวางสลิตคูกับฉากเทากับ 40 เซนติเมตร จงหาความยาวคลืนของแสงในหนวยเมตร
                                                            ่
                                                                            (4.11 x 10–7 m)



                                            49
Physics Online IV                    http://www.pec9.com                     บทที่ 13 แสง
8. เมื่อใชแสงสีแดงความยาวคลื่น 650 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับสลิตคู เกิดภาพแทรกสอดบน
   ฉาก โดยแถบสวาง 2 แถบติดกันอยูหางกัน 0.25 มิลลิเมตร แตถาใชแสงสีมวงความยาว
   คลน 400 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับสลิตคูดังกลาว แถบสวาง 2 แถบติดกันจะหางกันกี่มิลลิเมตร
        ่ื
                                                                                   (0.15)
9. ฉายแสงสองคาความถี่ผานตั้งฉากกับสลิตคูไปยังฉากปรากฏวาลําดับที่ 2 ของแสงที่มีความ
   ยาวคลื่น 750 nm. ซอนอยูกับลําดับที่ 3 ของแสงสีหนึ่งแลวแสงสีนั้นจะมีความยาวคลื่นกี่
   นาโนเมตร                                                                     (500 nm)
10. เมื่อใหแสงความยาวคลื่น ←1 และ ←2 ผานสลิตคูซึ่งหางกัน d พบวาแถบมืดที่ 4 ของ
   แสงความยาวคลื่น ←1 เกิดขึ้นที่เดียวกับแถบมืดที่ 5 ของแสงความยาวคลื่น ←2 อัตราสวน
   ของ ←1 / ←2 มีคาเทาใด                                                       (917)
11. ในการทดลองเรื่องการแทรกสอดของแสง โดยใชสลิตคู สําหรับแสงสีเดียว A และแสงสี
   เดียว B พบวา แถบมืดที่ 5 นับจากแถบสวางกลางออกไปดานขางของแสง A ตกทับแถบ
   สวางอันดับที่ 4 ของแสง B พอดี จะหาคาอัตราสวนของความยาวคลืนแสง A ตอความยาว
                                                               ่
   คลื่นแสง B                                                                (8 )
                                                                                9
12. ฉายแสง A และ B ใหผานชองสลิตคูขนานกันไปบนฉากที่อยูหางออกไประยะหนึ่ง
   ปรากฏวาริ้วมืดที่สี่ของแสง A อยูซอนพอดีกับริ้วสวางที่หาของแสง B ถาแสง A มีความ
   ยาวคลื่น 5.8x10 –7 เมตร แสง B จะมีความยาวคลืนเทาใดในหนวยของเมตร
                                                      ่
                                                                          (4.06x10–7 เมตร)
13. เกรตติงมี 10,000 เสนตอเซนติเมตร ถาฉายแสงความยาวคลื่น ← ตกตังฉากกับเกรตติง
                                                                  ้
    แถบสวางที่เกิดขึ้นแถบแรกบนจอ จะอยูหางจากแนวกลางเปนมุม 30o คา ← มีคาเทาใด
                                                                                 (500 nm)
14. เกรตติงอันหนึงชนิด 4000 ชอง/เซนติเมตร ถาใหแสงมีความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร
                 ่
   สองผานจะเห็นแถบสวางบนฉากทั้งหมดกี่แถบ                                    (9 แถบ)
15. เกรตติงชนิด 6000 เสน/เซนติเมตร มีแสงตกผานทําใหเกิดแถบที่สองเบนทํามุม 37o กับ
   แถบสวางกลาง ถาระยะหางจากเกรตติงไปยังฉากเทากับ 60 เซนติเมตร จงหาความยาวคลื่น
                                                                                 (500 nm)

                                           50
Physics Online IV                     http://www.pec9.com                    บทที่ 13 แสง
16. ใชแสงที่มีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร สองผานเกรตติงอันหนึงทําใหแถบสวางที่ 2
                                                              ่
   เบนไปเปนมุม 30o จากแนวกลาง จงหาจํานวนชอง/เซนติเมตร ของเกรตติงนี้            (5000)
17. แสงความชวงคลื่น 600 นาโนเมตร พุงผานเกรตติง พบวาแนวแถบสวางที่ 4 ทํามุมกับแนว
                                    
   แถบสวางตรงกลางเทากับ 37 องศา จงหาจํานวนชองตอมิลลิเมตรของเกรตติงทีใชน้ี (250)
                                                                         ่
18. เมื่อใหลําแสงขนานผานสลิตคูหนึ่ง แสงสีใดตอไปนี้จะใหจํานวนแถบสวางมากที่สุด
      1. แสงสนาเงน
             ี ํ้ ิ         2. แสงสีเขียว        3. แสงสแสด
                                                        ี         4. แสงสแดง
                                                                         ี           (ขอ 1)

  การเลียวเบนของแสง
        ้
19. เมื่อใหแสงมีความยาวคลื่น 640 นาโนเมตร ผานชองแคบเดียว และตองการใหแถบมืดแรก
                                                         ่
   เบนจากแนวกลาง 30o จงหาความกวางของชองแคบนี้                       (1.28x10–6 เมตร)
20. แสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร และ 400 นาโนเมตร ตกกระทบชองสลิตเดี่ยวที่มีความ
   กวาง 10 ไมโครเมตรขอบของแถบสวางกลาง 2 แถบจากคลื่นทั้งสองที่เกิดขึ้นบนฉากที่อยู
   หางออกไป 1 เมตร จะหางกันกีเ่ ซนติเมตร                                   (2)
21. แสงความยาวคลื่น 550 นาโนเมตร ตกตังฉากบนสลิตเดียวกวาง 50 ไมโครเมตร เกิด
                                     ้            ่
   ภาพการแทรกสอดบนฉากหาง 0.6 เมตร แถบมืดที่สองอยูหางจากแถบมืดที่สี่เทาไร
                                                                         (1.32x10–2 เมตร)
22. ใชแสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ฉายผานสลิตเดี่ยวเกิดแถบมืด–สวาง บนฉากหาง
   ออกไป 3 เมตร ระยะหาง ระหวางจุดที่มืดที่สุดสองขางของแถบสวางที่กวางที่สุดเปน
   1.5 เซนติเมตร สลิตนั้นกวางเทาใด                                     (2.4x10–4 เมตร)
23. แสงสีเดียวความยาวคลื่น 550 นาโนเมตร เคลื่อนที่ผานชองแคบซึ่งกวาง 0.5 มิลลิเมตร
   แลวเกิดแถบการแทรกสอดบนฉาก ซึ่งหางจากชองแคบ 1 เมตร แถบมืดทั้งสองขางของ
   แถบสวางตรงกลางจะอยูหางกันประมาณเทาใด                              (2.24x10–3 เมตร)
24. แสงมีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับสลิตเดี่ยวที่มีความกวาง 2 ไมโครเมตร
   ปรากฏภาพ ชองแคบทีระยะหางออกไป 10 เซนติเมตร จงหาความกวางของแถบสวางตรง
                       ่
   กลางที่เกิดขึ้น                                                            (2.5 cm)


                                            51
Physics Online IV                 http://www.pec9.com                  บทที่ 13 แสง
25. เมื่อฉายแสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับสลิตเดี่ยว จะปรากฏภาพการ
    แทรกสอดบนฉากที่หางออกไปจากสลิต 1.5 เมตร และแถบสวางกลางกวาง 2 เซนติเมตร
    จงหาความกวางของสลิตนีในหนวยไมโครเมตร
                           ้                                                  (90)



          เฉลยแบบฝ ก หั ด ฟ สิ ก ส บทที่ 13 แสง (บางข อ )
18. ตอบขอ 1.
วธทา จากโจทย d จะคงที่ และ ± = 90 , ← ของแสงแตละสี ตองการหา n มากที่สุด
 ิี ํ
         จาก        d sin ± = n←
                          n = d
                                ←
      ไดวาเมือ ←นอยสุด ⊂ n มากที่สุด จากแสงสทกาหนดใหแสงสนาเงนมี ←นอยสุด
           ่                                  ี ่ี ํ    ี ํ้ ิ
      ζ แสงสนาเงนมจานวนแถบสวางมากทสด
                ี ํ้ ิ ี ํ               ่ี ุ
      ดงนน แสงสนาเงนจะใหจานวนแถบสวางมากทสด
       ั ้ั       ี ํ้ ิ     ํ                ่ี ุ




                                        52

Contenu connexe

Tendances

เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์thanakit553
 
ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02witthawat silad
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสิปป์แสง สุขผล
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558dnavaroj
 
เรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงเรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงApinya Phuadsing
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีพัน พัน
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น Wijitta DevilTeacher
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันเซิฟ กิ๊ฟ ติวเตอร์
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงWijitta DevilTeacher
 
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นแบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นChakkrawut Mueangkhon
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 

Tendances (20)

เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
 
172 130909011745-
172 130909011745-172 130909011745-
172 130909011745-
 
เรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงเรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสง
 
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ทฤษฎีและพลังงานกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แบบฝึกหัดกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าสถิต
แรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าสถิตแรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าสถิต
แรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าสถิต
 
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
 
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่นแบบทดสอบเรื่องคลื่น
แบบทดสอบเรื่องคลื่น
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
Pptติวonetม3
Pptติวonetม3Pptติวonetม3
Pptติวonetม3
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 

En vedette

บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2thanakit553
 
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าthanakit553
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่thanakit553
 
เรื่องที่ 14 ทัศนอุปกรณ์
เรื่องที่ 14  ทัศนอุปกรณ์เรื่องที่ 14  ทัศนอุปกรณ์
เรื่องที่ 14 ทัศนอุปกรณ์thanakit553
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกลthanakit553
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหลthanakit553
 
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1thanakit553
 
เรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัมเรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัมthanakit553
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียงthanakit553
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำthanakit553
 
เรื่องที่ 10 ความร้อน
เรื่องที่ 10  ความร้อนเรื่องที่ 10  ความร้อน
เรื่องที่ 10 ความร้อนthanakit553
 
บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ thanakit553
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2teerachon
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกลthanakit553
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่แนวตรง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่แนวตรงเอกสารประกอบการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่แนวตรง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่แนวตรงjatoorong
 
แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11Wilailak Luck
 
แรงและการเคลื่อนที่เทอม 2
แรงและการเคลื่อนที่เทอม 2แรงและการเคลื่อนที่เทอม 2
แรงและการเคลื่อนที่เทอม 2Janejira Meezong
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทานSunutcha Physic
 
สรุปการเคลื่อนที่
สรุปการเคลื่อนที่สรุปการเคลื่อนที่
สรุปการเคลื่อนที่KunKru Earn
 

En vedette (20)

บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
บทที่ 17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่ 18  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่ 18 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
 
เรื่องที่ 14 ทัศนอุปกรณ์
เรื่องที่ 14  ทัศนอุปกรณ์เรื่องที่ 14  ทัศนอุปกรณ์
เรื่องที่ 14 ทัศนอุปกรณ์
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหล
 
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
 
เรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัมเรื่องที่ 6 โมเมนตัม
เรื่องที่ 6 โมเมนตัม
 
เรื่องที่ 12 เสียง
เรื่องที่ 12  เสียงเรื่องที่ 12  เสียง
เรื่องที่ 12 เสียง
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
เรื่องที่ 10 ความร้อน
เรื่องที่ 10  ความร้อนเรื่องที่ 10  ความร้อน
เรื่องที่ 10 ความร้อน
 
บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่ บทที่ 2การเคลื่อนที่
บทที่ 2การเคลื่อนที่
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่แนวตรง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่แนวตรงเอกสารประกอบการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่แนวตรง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่แนวตรง
 
แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11แสงกับการมองเห็น 11
แสงกับการมองเห็น 11
 
แรงและการเคลื่อนที่เทอม 2
แรงและการเคลื่อนที่เทอม 2แรงและการเคลื่อนที่เทอม 2
แรงและการเคลื่อนที่เทอม 2
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
สรุปการเคลื่อนที่
สรุปการเคลื่อนที่สรุปการเคลื่อนที่
สรุปการเคลื่อนที่
 

Similaire à เรื่องที่ 13 แสง

แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์Chakkrawut Mueangkhon
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์Apinya Phuadsing
 
แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์Chakkrawut Mueangkhon
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3Wijitta DevilTeacher
 
เรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกลเรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกลApinya Phuadsing
 
เรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงเรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงApinya Phuadsing
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1Chakkrawut Mueangkhon
 
9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721CUPress
 
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอสมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอwattumplavittayacom
 
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)Worrachet Boonyong
 

Similaire à เรื่องที่ 13 แสง (20)

แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์
 
แสง และการมองเห็น
แสง และการมองเห็นแสง และการมองเห็น
แสง และการมองเห็น
 
P15
P15P15
P15
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
P14
P14P14
P14
 
แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์แสงและทัศน์ปกรณ์
แสงและทัศน์ปกรณ์
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
เรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกลเรื่องที่11คลื่นกล
เรื่องที่11คลื่นกล
 
เรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียงเรื่องที่12เสียง
เรื่องที่12เสียง
 
งานพลังงาน
งานพลังงานงานพลังงาน
งานพลังงาน
 
P16
P16P16
P16
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
 
9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอสมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
สมบัติของคลื่น(แจน14.12.54)นำเสนอ
 
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
 

Plus de thanakit553

Project based learning design 12
Project based learning design 12Project based learning design 12
Project based learning design 12thanakit553
 
การนำเสนอผลงาน12
การนำเสนอผลงาน12การนำเสนอผลงาน12
การนำเสนอผลงาน12thanakit553
 
Project based learning design 12
Project based learning design 12Project based learning design 12
Project based learning design 12thanakit553
 
3 d prainting for science learner 12
3 d prainting for science learner 123 d prainting for science learner 12
3 d prainting for science learner 12thanakit553
 
Educational robotics for basic education 12
Educational robotics for basic education 12Educational robotics for basic education 12
Educational robotics for basic education 12thanakit553
 
3 d prainting วันที่ 13
3 d prainting วันที่ 133 d prainting วันที่ 13
3 d prainting วันที่ 13thanakit553
 
3 d prainting 12
3 d prainting 123 d prainting 12
3 d prainting 12thanakit553
 
ตารางกำหนดการล่าสุด1
ตารางกำหนดการล่าสุด1ตารางกำหนดการล่าสุด1
ตารางกำหนดการล่าสุด1thanakit553
 
Educational 13 ประกาศ
Educational 13 ประกาศEducational 13 ประกาศ
Educational 13 ประกาศthanakit553
 
Educational 12 (2)
Educational 12 (2)Educational 12 (2)
Educational 12 (2)thanakit553
 
กำหนดการ58
กำหนดการ58กำหนดการ58
กำหนดการ58thanakit553
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์thanakit553
 
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์thanakit553
 
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51thanakit553
 

Plus de thanakit553 (20)

Robotic13
Robotic13Robotic13
Robotic13
 
Project13
Project13Project13
Project13
 
Oral13
Oral13Oral13
Oral13
 
3 d13
3 d133 d13
3 d13
 
Project based learning design 12
Project based learning design 12Project based learning design 12
Project based learning design 12
 
การนำเสนอผลงาน12
การนำเสนอผลงาน12การนำเสนอผลงาน12
การนำเสนอผลงาน12
 
Project based learning design 12
Project based learning design 12Project based learning design 12
Project based learning design 12
 
3 d prainting for science learner 12
3 d prainting for science learner 123 d prainting for science learner 12
3 d prainting for science learner 12
 
Educational robotics for basic education 12
Educational robotics for basic education 12Educational robotics for basic education 12
Educational robotics for basic education 12
 
3 d prainting วันที่ 13
3 d prainting วันที่ 133 d prainting วันที่ 13
3 d prainting วันที่ 13
 
3 d prainting 12
3 d prainting 123 d prainting 12
3 d prainting 12
 
ตารางกำหนดการล่าสุด1
ตารางกำหนดการล่าสุด1ตารางกำหนดการล่าสุด1
ตารางกำหนดการล่าสุด1
 
Educational 13 ประกาศ
Educational 13 ประกาศEducational 13 ประกาศ
Educational 13 ประกาศ
 
Educational 12 (2)
Educational 12 (2)Educational 12 (2)
Educational 12 (2)
 
กำหนดการ58
กำหนดการ58กำหนดการ58
กำหนดการ58
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์
 
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
แนวข้อสอบแสงเชิงฟิสิกส์
 
Img004
Img004Img004
Img004
 
Img003
Img003Img003
Img003
 
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51
ตัวชี้วัดฯ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ปี51
 

เรื่องที่ 13 แสง

  • 1. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 13 แสง ฟ สิ ก ส บทที่ 13 แสง ตอนที่ 1 การแทรกสอดแสง ทบทวนการแทรกสอดของคลนนา ่ื ํ้ สําหรับแนวปฎิบัพลําดับที่ n(An) ⇔S1P – S2P⇔ = n← ⇔ ← d sin ± = n ← เมื่อ P คือจุดซึ่งอยูบนแนวปฎิบัพลําดับที่ n(An) S1P คอ ระยะจาก S1 ถึง P ื S2P คอ ระยะจาก S2 ถึง P ื ← คอ ความยาวคลื่น (m) ื n คอ ลําดับที่ของปฎิบัพนั้น ื d คอ ระยะหางจาก S1 ถึง S2 ื ± คอ มุมที่วัดจาก A0 ถึง An ื 1. คลนชนดหนง เมอเกดการแทรกสอดจะเกดแนว ดังรูป ่ื ิ ่ึ ่ ื ิ ิ ก. คลื่นนี้มีความยาวคลื่นเทาใด (0.75 เมตร) ข. ถาคลื่นนี้มีความถี่ 500 Hz จะมความเรวเทาใด (375 m/s) ี ็  วธทํา ิี 2. คลื่นชนิดหนึ่งเมื่อเกิดการแทรกสอดแนวปฏิบัพที่ 2 เอียงทํามุมจากแนวกลาง 30o หากแหลงกําเนิดคลื่นทั้งสองอยูหางกัน 9 เมตร ก. ความยาวคลื่นนี้มีคาเปนเทาใด (9/4 เมตร) ข. หากคลื่นนี้มีความเร็ว 300 m/s จะมีความถี่เทาใด (133.33 Hz) วธทํา ิี 39
  • 2. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 13 แสง สําหรับแนวบัพลําดับที่ n (Nn) ⇔S1P – S2P⇔= Φn – 1 Γ← ⇔ 2 d sin ± = Φn – 1 Γ← 2 n คือ ลําดับทีของแนวบัพนัน ่ ้ 3. จากรูป แสดงภาพการแทรกสอดของคลื่นผิวน้ํา ปฏิบัพ ที่เกิดจากแหลงกําเนิดอําพันธ S1 และ S2 มี P P เปนจดบนเสนบพ ถา S1P เทากับ 10 เซนติ  ุ  ั เมตร และ S2P เทากับ 7 เซนติเมตร ถาอัตรา เร็วของคลื่นทั้งสองเทากับ 30 เซนติเมตร ตอ S1 S2 วินาที แหลงกําเนิดทั้งสองมีความถี่เทาใด (5 Hz) วธทํา ิี การแทรกสอดแสง ในแนวปฏิบัพ (An) (แถบสวาง) S 1P – S 2P = n ← d sin± = n ← ← = nDdx ในแนวบพ (Nn) (แถบมืด) ั S1P – S2P = (n – 1 )← 2 d sin± = (n – 1 )← 2 ← = d 1x (n - 2 )D 40
  • 3. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 13 แสง เมือ ่ ← = ความยาวคลื่น x = ระยะจากแนวกลางถึงแถบ n = ลําดับที่ของแถบสวางหรือแถบมืด สวาง หรือ แถบมืดที่ n d = ความหางชองสลิต D = ระยะจากสลิตถึงฉากรับ 4. เมื่อฉายแสงที่มีความยาวคลื่น 500 nm ตกตั้งฉากบนชองแคบคูหนึ่งซึ่งหางกัน 0.1 mm จงหาวาแถบสวางลําดับที่ 20 จะเอียงทํามุมกับแถบสวางกลางกี่องศา (sin 6o = 0.1) (6o) วธทํา ิี 5. เมื่อฉายแสงที่มีความยาวคลื่น 700 nm ตกตั้งฉากบนชองแคบคูหนึ่งซึ่งหางกัน 0.2 mm จงหาวาแถบสวางลําดับที่ 10 ทั้งสองดานจะทํามุมกันกี่องศา (sin 2o = 0.035) (4o) วธทํา ิี 6. ชองแคบคูหนึงหางกัน 0.1 mm เมื่อฉายแสงความยาวคลื่น 600 nm ตกตังฉากบนชอง  ่ ้ แคบ แถบสวางลําดับที่ 4 บนฉากที่หางออกไป 80 cm จะอยูหางจากแนวกลางเทาใด วธทา ิี ํ (1.92 Cm) 41
  • 4. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 13 แสง 7(En 42/1) เมื่อใชแสงที่มีความยาวคลื่น 5.0x10–7 เมตร ตกตั้งฉากกับสลิตคูเกิดภาพ การแทรกสอดบนฉากทีอยูหางออกไป 1.2 เมตร ถาระยะหางระหวางสลิตคูเทากับ ่   0.1 มิลลิเมตร แถบสวาง 2 แถบที่ติดกันอยูหางกันกี่มิลลิเมตร ( 6 mm) วธทํา ิี 8(En 43/1) ใหแสงทมความยาวคลน 500 นาโนเมตร ผานสลตคในแนวตงฉาก เกิดลวดลายการ  ่ี ี ่ื  ิ ู ้ั แทรกสอดบนฉากทีอยูหางจากสลิต 1.5 เมตร วัดระยะระหวางกึ่งกลางของแถบสวาง 2 แถบที่ ่   ถัดกันได 5 มลลเิ มตร สลิตคูนมระยะหางระหวางชองสลิตเทาใดในหนวยมิลลิเมตร (0.15 mm) ิ  ้ี ี วธทํา ิี 9(มช 43) แสงสเี หลองความยาวคลน 550 นาโนเมตร ตก ื ่ื ตงฉากผานสลตคอนหนง พบวาบนฉากทีหางออกไป 1.5 ้ั  ิ ู ั ่ึ ่  เมตร แถบสวางลาดบท่ี 3 และลําดับที่ 7 อยูหางกัน 6  ํ ั   มลลเิ มตร ชองทังสองของสลิตคูนอยูหางกันกีไมโครเมตร ( 550 ) ิ ้  ้ี   ่ วธทํา ิี 42
  • 5. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 13 แสง 10(En 41) แสงขาวตกตังฉากกับเกรตติง สเปกตรัมลําดับที่ 3 ของแสงสีมวงตรงกับสเปกตรัม ้ ลําดับที่ 2 ของแสงสีแดง ถาความยาวคลื่นของแสงสีมวงเปน 440 นาโนเมตร ความยาว คลืนของแสงสีแดงเปนกีนาโนเมตร ่ ่ ( 660 mm) วธทํา ิี 11. เมื่อใหแสงความยาวคลื่น ←1 และ ←2 ผานสลิตคูซึ่งหางกัน d พบวาแถบมืดที่ 4 ของ แสงความยาวคลื่น ←1 เกิดขึ้นที่เดียวกับแถบมืดที่ 5 ของแสงความยาวคลื่น ←2 อัตราสวน ของ ←1 / ←2 มีคาเทาใด (9/ 7) วธทํา ิี 12(มช 31) เกรตติงมี 2000 เสนตอเซนติเมตร ถาฉายแสงความยาวคลื่นขนาดหนึ่งไปยัง ้ เกรตติงนี้ แถบสวางที่เกิดขึ้นแถบแรกบนจอจะอยูหางจากแนวกลางเปนมุม 30 องศา ้ แสงนันมีความยาวคลืนเทาใดในหนวยนาโนเมตร ้ ่ (ขอ ง.) ก. 1.5 x 10–6 ข. 2.5 x 10–6 ค. 1.5 x 103 ง. 2.5 x 103 วธทํา ิี 43
  • 6. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 13 แสง 13(En 36) จากการทดลองเพื่อศึกษาสเปกตรัมของกาซ ไฮโดรเจน โดยใชเกรตติงซึงมีจานวนชอง/เซนติเมตร ่ ํ เทากับ 4500 ดังรูป พบวาเมื่อระยะ D เทากับ 1 เมตร จะมีแถบสวางสีเดียวกันบนไมเมตรหางจาก จุด O ทั้งทางดานซายและขวาเทากันคือ 0.3 เมตร จงหาวาแถบสวางนั้น มีความยาวคลื่นประมาณ 1. 464 nm 2. 565 nm 3. 632 nm 4. 667 nm ( ขอ 4.) วธทํา ิี 14. ฉายแสงที่มีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ลงบนเกรตติงทีมจานวนเสน 5000 เสนตอ ่ ีํ เซนติเมตร ระหวางมุม ± = 0o ถึง ± = 90o จะมีตาแหนงสวางไดกตาแหนง ํ ่ี ํ (3) วธทํา ิี 15(มช 36) แสงความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร พุงผานเกรตติงพบวาแนวแถบสวางแถบที่ 4 ทํามุมกับแนวแถบสวางตรงกลางเทากับ 30 องศา จงหาจํานวนชองสลิตตอเซนติเมตร ของเกรตติงนี้ 1. 2000 2. 200 3. 3333 4. 2500 ( ขอ 4.) วธทํา ิี 44
  • 7. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 13 แสง 16. สองแสงสีแดงตั้งฉากกับเกรตติงอันหนึ่งปรากฏแถบสวางที่ 1 จะเบนออกจากแนวกลาง ไปเปนมุม 45 องศา ถานําเกรตติงอีกอันหนึงทีมระยะระหวางชองเปน 3 เทาของอันแรก ่ ่ ี มาวางแทนแถบสวางที่ 3 จะเบนออกจากแนวกลางเปนมุมกีองศา ่ (45o) วธทํา ิี 17. ถาฉายแสงความยาวคลื่น 500 และ 600 นาโนเมตร ผานตั้งฉากกับเกรตติงไปยังฉาก จงหา ลําดับของแสงสีทั้งสองที่ทําใหริ้วสวางซอนกันเปนครั้งแรกจากแนวกลาง วธทํา ิี (6 สีแรกซอน 5 สีสอง) ทบทวนการเลียวเบนของคลืน ้ ่ หลักของฮอยเกนส กลาววา “ ทุก ๆ จุดบนหนาคลืน สามารถประพฤติตัวเปนแหลง ่ กําเนิดคลื่นใหมได” 45
  • 8. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 13 แสง 18. หลักของฮอยเกนสใชอธิบายปรากฎการณใด (ขอ ก)  ก. การเลี้ยวเบน ข. การแทรกสอด ค. การเปลี่ยนเฟส ง. การหักเห การเลยวเบนแสง ้ี การเลี้ยวเบนของคลื่นใด ๆ จะเกิด ไดดกตอเมือความกวางของชองแคบมี ี็  ่ ขนาดเล็กกวาความยาวคลื่น (←) สําหรับคลื่นแสง หากความกวาง ชองแคบมีขนาดใหญกวาความยาวคลื่น จะทําใหเกิดแนวมืด เรียกแนวบัพ (N) สมการเกี่ยวกับการเลี้ยวเบน ในแนวบพ (Nn) ั d sin ± = n← dx ← = nD เมือ ← ่ = ความยาวคลื่น n = ลําดับที่ของแถบมืด d = ความกวางของชองสลิตเดี่ยว x = ระยะจากแนวกลางถึงแถบมืดที่ n D = ระยะจากสลิตถึงฉากรับ 19. ฉายแสงผานสลิตเดี่ยวทําใหเกิดแนวมืดแถบแรกเบนไปจากแนวกลางเปนมุม 30o กําหนดความยาวคลื่น 650 nm จงหาความกวางของชองสลิต ( 1.3 ⊄m) วธทํา ิี 46
  • 9. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 13 แสง 20(En 42/2) ใชแสงมความยาวคลน 400 นาโนเมตร ตก  ี ่ื ตังฉากผานสลิตเดียวทีมความกวางของชองเทากับ 50 ้ ่ ่ ี ไมโครเมตร จากการสังเกตภาพเลียวเบนบนฉาก พบ ้ วาแถบมืดแถบแรกอยูหางจากกึ่งกลางแถบสวางกลาง 6.0 มลลเิ มตร ระยะระหวางสลิตเดียวกับฉากเปนเทา ิ ่ ใดในหนวยเซนติเมตร (75) วธทํา ิี 21. ใชแสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ฉายผานสลิตเดี่ยวเกิดแถบมืด – สวาง บนฉากหาง ออกไป 3 เมตร ระยะหาง ระหวางจุดที่มืดที่สุดสองขางของแถบสวางที่กวางที่สุดเปน 1.5 เซนติเมตร สลิตนั้นกวางเทาใด (2.4x10–4 เมตร) วธทํา ิี 22. แสงสีเดียวความยาวคลื่น 550 นาโนเมตร เคลื่อนที่ผานชองแคบซึ่งกวาง 0.5 มิลลิเมตร แลวเกิดแถบการแทรกสอดบนฉาก ซึ่งหางจากชองแคบ 1 เมตร แถบมืดทั้งสองขางของ แถบสวางตรงกลางจะอยูหางกันประมาณเทาใด (2.24x10–3 เมตร) วธทํา ิี 47
  • 10. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 13 แสง 23. สลิตเดี่ยววางหางจากฉาก 60 cm ใชแสงความยาวคลื่น 600 nm ทําใหเกิดแถบการเลี้ยว เบนขึ้นที่ฉากวัดความกวางแถบสวางอันกลางได 0.7 cm จงหาความกวางชองสลิต วธทา ิี ํ (1.03x10–4 m) 24(En 33) ตองการใหตาแหนงริวมืดแรกของลวดลายจากการเลียวเบนของสลิตเดียวตรงกับ ํ ้ ้ ่ ตําแหนงมืดที่ 5 ของริวลวดลายจากการแทรกสอดของสลิตคูระยะระหวางสลิตคูตองเปน ้    กี่เทาของความกวางของสลิต 1. 5 2. 7 2 3. 9 2 4. 11 2 (ขอ 3.) วธทํา ิี 25(En 40) ถาตองการใหตาแหนงมืดแรกของการเลียวเบนผานสลิตเดียวเกิดตรงกับตําแหนงมืด ํ ้ ทีสามของริวจากการแทรกสอดของสลิตคู อยากทราบวาจะตองใหระยะหางระหวางชอง ่ ้ สลิตคูเปนกี่เทาของความกวางของสลิตเดี่ยว 1. 23 5 2. 2 3. 7 4. 9 (ขอ 2.) 2 2 วธทํา ิี 48
  • 11. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 13 แสง แบบฝ ก หั ด ฟ สิ ก ส บทที่ 13 แสง การแทรกสอดของแสง 1. เมื่อฉายแสงความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ลงบนสลิตคู ซึ่งมีระยะหางระหวางสลิตเปน 10 ไมโครเมตร อยากทราบวาจุดทีเ่ กิดการแทรกสอดแบบเสริมกันจุดที่ 2 จะเบนไปจากแนวที่ ฉายแสงเปนมุมเทาใด (sin–1 0.1) 2. สลิดคูหางกัน 1 ไมโครเมตร มีแสงความยาวคลื่น 550 นาโนเมตร ผานในแนวตังฉาก ้ จงหามุมทีแถบมืดแรกเบนออกจากแนวกลาง ่ (sin–1 0.275) 3. ชองแคบคูมระยะหางระหวางชอง 0.1 มิลลิเมตร เมื่อฉายแสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร  ี ผานชองแคบคู ปรากฏวาแถบสวางลําดับที่สองบนฉากที่หางออกไป 80 เซนติเมตร จะอยู หางจากแนวกลางเทาไร (9.6 m m) 4. สลิตคูหางกัน 0.03 มิลลิเมตร วางหางจากฉาก 2 เมตร เมื่อฉายแสงผานสลิต ปรากฏวา แถบสวางลําดับที่ 5 อยูหางจากแถบกลาง 14 เซนติเมตร ความยาวคลื่นของแสงเปนกี่ นาโนเมตร (420 nm) 5. สลิตคูมีระยะหางระหวางชองสลิตเทากับ 0.40 มิลลิเมตร เมื่อสองดวยแสงสีเดียวและเปน แสงอําพันธในแนวตั้งฉาก ปรากฏริ้วการแทรกสอดบนฉากที่อยูหางจากสลิต 2.50 เมตร วัดระยะระหวางแถบสวางลําดับถัดกันไดเทากับ 3.50 มิลลิเมตร แสงนี้มีความยาวคลื่นกี่ นาโนเมตร (560 nm) 6. แสงสีหนึ่ง เมือผานชองแคบคูซงอยูหางกัน 0.5 มิลลิเมตร ปรากฏวาแถบสวางที่ 4 และที่ 6 ่  ่ึ   อยูหางกัน 2 มิลลิเมตร บนฉาก ซึ่งอยูหางจากชองแคบคู 1 เมตร จงหาความยาวคลนของแสงน้ี ่ื (500 nm) 7. จากการทดลองเรืองการแทรกสอดของแสงโดยใชสลิตคูพบวาระยะระหวางริวสวางทีอยูตด ่  ้ ่  ิ กันเทากับ 0.329 มิลลิเมตร ระยะระหวางชองสลิตเทากับ 0.5 มิลลิเมตร และระยะหาง ระหวางสลิตคูกับฉากเทากับ 40 เซนติเมตร จงหาความยาวคลืนของแสงในหนวยเมตร ่ (4.11 x 10–7 m) 49
  • 12. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 13 แสง 8. เมื่อใชแสงสีแดงความยาวคลื่น 650 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับสลิตคู เกิดภาพแทรกสอดบน ฉาก โดยแถบสวาง 2 แถบติดกันอยูหางกัน 0.25 มิลลิเมตร แตถาใชแสงสีมวงความยาว คลน 400 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับสลิตคูดังกลาว แถบสวาง 2 แถบติดกันจะหางกันกี่มิลลิเมตร ่ื (0.15) 9. ฉายแสงสองคาความถี่ผานตั้งฉากกับสลิตคูไปยังฉากปรากฏวาลําดับที่ 2 ของแสงที่มีความ ยาวคลื่น 750 nm. ซอนอยูกับลําดับที่ 3 ของแสงสีหนึ่งแลวแสงสีนั้นจะมีความยาวคลื่นกี่ นาโนเมตร (500 nm) 10. เมื่อใหแสงความยาวคลื่น ←1 และ ←2 ผานสลิตคูซึ่งหางกัน d พบวาแถบมืดที่ 4 ของ แสงความยาวคลื่น ←1 เกิดขึ้นที่เดียวกับแถบมืดที่ 5 ของแสงความยาวคลื่น ←2 อัตราสวน ของ ←1 / ←2 มีคาเทาใด (917) 11. ในการทดลองเรื่องการแทรกสอดของแสง โดยใชสลิตคู สําหรับแสงสีเดียว A และแสงสี เดียว B พบวา แถบมืดที่ 5 นับจากแถบสวางกลางออกไปดานขางของแสง A ตกทับแถบ สวางอันดับที่ 4 ของแสง B พอดี จะหาคาอัตราสวนของความยาวคลืนแสง A ตอความยาว ่ คลื่นแสง B (8 ) 9 12. ฉายแสง A และ B ใหผานชองสลิตคูขนานกันไปบนฉากที่อยูหางออกไประยะหนึ่ง ปรากฏวาริ้วมืดที่สี่ของแสง A อยูซอนพอดีกับริ้วสวางที่หาของแสง B ถาแสง A มีความ ยาวคลื่น 5.8x10 –7 เมตร แสง B จะมีความยาวคลืนเทาใดในหนวยของเมตร ่ (4.06x10–7 เมตร) 13. เกรตติงมี 10,000 เสนตอเซนติเมตร ถาฉายแสงความยาวคลื่น ← ตกตังฉากกับเกรตติง ้ แถบสวางที่เกิดขึ้นแถบแรกบนจอ จะอยูหางจากแนวกลางเปนมุม 30o คา ← มีคาเทาใด (500 nm) 14. เกรตติงอันหนึงชนิด 4000 ชอง/เซนติเมตร ถาใหแสงมีความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ่ สองผานจะเห็นแถบสวางบนฉากทั้งหมดกี่แถบ (9 แถบ) 15. เกรตติงชนิด 6000 เสน/เซนติเมตร มีแสงตกผานทําใหเกิดแถบที่สองเบนทํามุม 37o กับ แถบสวางกลาง ถาระยะหางจากเกรตติงไปยังฉากเทากับ 60 เซนติเมตร จงหาความยาวคลื่น (500 nm) 50
  • 13. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 13 แสง 16. ใชแสงที่มีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร สองผานเกรตติงอันหนึงทําใหแถบสวางที่ 2 ่ เบนไปเปนมุม 30o จากแนวกลาง จงหาจํานวนชอง/เซนติเมตร ของเกรตติงนี้ (5000) 17. แสงความชวงคลื่น 600 นาโนเมตร พุงผานเกรตติง พบวาแนวแถบสวางที่ 4 ทํามุมกับแนว  แถบสวางตรงกลางเทากับ 37 องศา จงหาจํานวนชองตอมิลลิเมตรของเกรตติงทีใชน้ี (250) ่ 18. เมื่อใหลําแสงขนานผานสลิตคูหนึ่ง แสงสีใดตอไปนี้จะใหจํานวนแถบสวางมากที่สุด 1. แสงสนาเงน ี ํ้ ิ 2. แสงสีเขียว 3. แสงสแสด ี 4. แสงสแดง ี (ขอ 1) การเลียวเบนของแสง ้ 19. เมื่อใหแสงมีความยาวคลื่น 640 นาโนเมตร ผานชองแคบเดียว และตองการใหแถบมืดแรก ่ เบนจากแนวกลาง 30o จงหาความกวางของชองแคบนี้ (1.28x10–6 เมตร) 20. แสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร และ 400 นาโนเมตร ตกกระทบชองสลิตเดี่ยวที่มีความ กวาง 10 ไมโครเมตรขอบของแถบสวางกลาง 2 แถบจากคลื่นทั้งสองที่เกิดขึ้นบนฉากที่อยู หางออกไป 1 เมตร จะหางกันกีเ่ ซนติเมตร (2) 21. แสงความยาวคลื่น 550 นาโนเมตร ตกตังฉากบนสลิตเดียวกวาง 50 ไมโครเมตร เกิด ้ ่ ภาพการแทรกสอดบนฉากหาง 0.6 เมตร แถบมืดที่สองอยูหางจากแถบมืดที่สี่เทาไร (1.32x10–2 เมตร) 22. ใชแสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ฉายผานสลิตเดี่ยวเกิดแถบมืด–สวาง บนฉากหาง ออกไป 3 เมตร ระยะหาง ระหวางจุดที่มืดที่สุดสองขางของแถบสวางที่กวางที่สุดเปน 1.5 เซนติเมตร สลิตนั้นกวางเทาใด (2.4x10–4 เมตร) 23. แสงสีเดียวความยาวคลื่น 550 นาโนเมตร เคลื่อนที่ผานชองแคบซึ่งกวาง 0.5 มิลลิเมตร แลวเกิดแถบการแทรกสอดบนฉาก ซึ่งหางจากชองแคบ 1 เมตร แถบมืดทั้งสองขางของ แถบสวางตรงกลางจะอยูหางกันประมาณเทาใด (2.24x10–3 เมตร) 24. แสงมีความยาวคลื่น 500 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับสลิตเดี่ยวที่มีความกวาง 2 ไมโครเมตร ปรากฏภาพ ชองแคบทีระยะหางออกไป 10 เซนติเมตร จงหาความกวางของแถบสวางตรง ่ กลางที่เกิดขึ้น (2.5 cm) 51
  • 14. Physics Online IV http://www.pec9.com บทที่ 13 แสง 25. เมื่อฉายแสงความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ตกตั้งฉากกับสลิตเดี่ยว จะปรากฏภาพการ แทรกสอดบนฉากที่หางออกไปจากสลิต 1.5 เมตร และแถบสวางกลางกวาง 2 เซนติเมตร จงหาความกวางของสลิตนีในหนวยไมโครเมตร ้ (90) เฉลยแบบฝ ก หั ด ฟ สิ ก ส บทที่ 13 แสง (บางข อ ) 18. ตอบขอ 1. วธทา จากโจทย d จะคงที่ และ ± = 90 , ← ของแสงแตละสี ตองการหา n มากที่สุด ิี ํ จาก d sin ± = n← n = d ← ไดวาเมือ ←นอยสุด ⊂ n มากที่สุด จากแสงสทกาหนดใหแสงสนาเงนมี ←นอยสุด  ่ ี ่ี ํ  ี ํ้ ิ ζ แสงสนาเงนมจานวนแถบสวางมากทสด ี ํ้ ิ ี ํ  ่ี ุ ดงนน แสงสนาเงนจะใหจานวนแถบสวางมากทสด ั ้ั ี ํ้ ิ ํ  ่ี ุ 52