SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  11
Télécharger pour lire hors ligne
หน่วยที 3: การวางแผนด้านว ัสดุอุปกรณ์และระบบ

ผลสัมฤทธิจากการศึกษา

คําชีแจง

3.1 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์

3.2 ซอร์ฟแวร์

3.3 อินเตอร์เน็ ตและการเชือมต่ออินเตอร์เน็ ต

3.4 กระแสไฟฟ้ า

บทสรุปย่อ

การประเมินผล

รายการอ ้างอิง


    ั
 ผลสมฤทธิจากการศึกษา

หลังจากเรียนจบแล ้ว ผู ้เรียนควรจะมีความสามารถดังนี:

•          ให ้ความหมายและเลือกอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์และซอร์ฟแวร์ทจําเป็ นสําหรับศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนทีดูแล
                                                            ี
อยูได ้
   ่
•          สร ้างทางเลือกทีชาญฉลาดเกียวกับการเชือมต่อระบบอินเตอร์เน็ ตของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนได ้
•          อธิบายการใช ้งานโดยทัวไปของอินเตอร์เน็ ตได ้
•          เข ้าใจความสําคัญของพลังงานทางเลือก

 คําชีแจง

ในหน่วยการเรียนทีแล ้ว ผู ้เรียนได ้เรียนรู ้ถึงผู ้เรียนค่าของการวางแผนสําหรับศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนรวมทังการ
วางแผนด ้านการบริหารจัดการ ในบทเรียนที 7 จะอธิบายถึงทักษะการใช ้เทคโนโลยีสารสนเทศขันพืนฐาน ซึงจะให ้
คําอธิบายเกียวกับฮาร์ดแวร์และซอร์ฟแวร์อย่างละเอียดมากกว่าในหน่วยการเรียนนี

                                                                                          ํ
หน่วยนี ผู ้เรียนจะได ้ข ้อมูลพืนฐานทีช่วยในการตัดสินใจเลือกฮาร์ดแวร์และซอร์ฟแวร์สาหรับศูนย์การเรียนรู ้ ICT
ชุมชนทีดูแลอยู่ ผู ้เรียนยังจะได ้เรียนรู ้เรืองการเชือมต่ออินเตอร์เน็ ต กระแสไฟฟ้ า อินเตอร์เน็ ตและอีเมล์ด ้วย

คอมพิวเตอร์ประกอบด ้วยฮาร์ดแวร์และซอร์ฟแวร์ โดยคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์หมายถึง ส่วนประกอบทีเป็ น
โครงสร ้างคอมพิวเตอร์ทงหมด เช่น:
                      ั




                                                                                                             Page 1
•        หน่วยประมวลผลกลาง หรือ ซีพยู
                                   ี
•        จอภาพ
•        คียบอร์ด เมาส์ เป็ นต ้น
            ์

ซอร์ฟแวร์หมายถึง โปรแกรมทีถูกจัดเก็บไว ้ในหน่วยความจําของคอมพิวเตอร์ทจะช่วยในการเขียนจดหมาย
                                                                       ี
                            ั
จัดการงบประมาณ ออกแบบโบร์ชวร์ เข ้าระบบอินเตอร์เน็ ต รวมทังระบบปฏิบตการต่าง ๆ เป็ นต ้น
                                                                   ั ิ

ในการนี ถือเป็ นเรืองดีหากผู ้เรียนสามารถขอความช่วยเหลือจากผู ้เชียวชาญด ้านคอมพิวเตอร์ในชุมชนในการเลือก
ฮาร์ดแวร์และซอร์ฟแวร์ทเหมาะสมกับลักษณะของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ทังนีหากผู ้เชียวชาญนันเป็ นตัวแทน
                         ี
จากภาคธุรกิจ ผู ้ดูแลศูนย์ฯ จะต ้องให ้ความระมัดระวังเป็ นพิเศษ เพราะอาจจะมีประเด็นการโน ้มน ้าวใจให ้ซือสินค ้าที
เป็ นตัวแทนจําหน่ายอยู่ได ้

การเลือกเทคโนโลยีควรอยูบนพืนฐานของลักษณะบริการทีศูนย์ฯ ต ้องการจัดให ้ประชาชน เทคโนโลยีสมัยใหม่
                             ่
นํ ามาซึงบริการรูปแบบใหม่ ทีอาจจะเกียวข ้องกับบริการภายในศูนย์ฯ ด ้วยก็ได ้ อย่างไรก็ด ี เทคโนโลยีทกประเภทมี
                                                                                                   ุ
ค่าใช ้จ่าย ซึงเป็ นประเด็นทีต ้องให ้ความสําคัญด ้วย

อุปกรณ์อเล็กทรอนิกส์ราคาถูกถือเป็ นการลดต ้นทุนได ้ อย่างไรก็ด ี ในฐานะผู ้ดูแลศูนย์ฯ ผู ้เรียนควรจะเลือกใช ้
         ิ
เทคโนโลยีทมีประสิทธิภาพมากกว่าประเด็นอืน ๆ การใช ้เทคโนโลยีราคาถูก อาจแก ้ปั ญหาได ้ในระดับหนึง แต่ไม่
               ี
อาจนํ ามาซึงการแก ้ปั ญหาอย่างถาวร ดังนันหากศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนไม่เลือกใช ้เทคโนโลยีทมีประสิทธิภาพ
                                                                                                  ี
ก็จะทําให ้ปั ญหาต่าง ๆ ไม่ได ้รับการแก ้ไขอย่างยังยืน

 3.1 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์

ดังเช่นทีทราบกันแล ้วว่า คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์หมายถึง องค์ประกอบทางกายภาพของระบบคอมพิวเตอร์ ใน
หลักสูตรนี “ฮาร์ดแวร์” หมายถึง คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อน ๆ ทีเชือมต่อกับคอมพิวเตอร์ เช่น เครืองปรินเตอร์
                                                       ื
เครืองสแกนเนอร์ โมเดม กล ้องถ่ายรูป วีดโอ เป็ นต ้น
                                        ี

3.1.1 คอมพิวเตอร์

ในฐานะผู ้บริหารศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ผู ้เรียนต ้องตัดสินใจเลือกซือคอมพิวเตอร์ทเหมาะสม โดยตัวเลือกที
                                                                                      ี
สําคัญทีสุดคือ การตัดสินใจว่าจะเลือกใช ้คอมพิวเตอร์แบบตังโต๊ะหรือแบบพกพา ซึงส่วนใหญ่จะเลือกคอมพิวเตอร์
ตังโต๊ะเนืองจากราคาตํากว่า อย่างไรก็ตามในพืนทีห่างไกลทีกระแสไฟฟ้ ามีปัญหา การใช ้คอมพิวเตอร์แบบพกพา
ถือเป็ นทางเลือกทีดีกว่า

3.1.2 อุปกรณ์ตอพ่วงอืน ๆ
              ่

อุปกรณ์ตอพ่วงอืน ๆ ไม่ถอเป็ นส่วนหนึงของระบบคอมพิวเตอร์ อาจหมายรวมถึง:
        ่              ื

เครืองปรินเตอร์

          ่                                                    ั                              ั
อุปกรณ์ตอพ่วงทีมีความสําคัญทีสุด คือ เครืองปรินเตอร์ ในปั จจุบนมีเครืองปรินเตอร์แบบมัลติฟังค์ชนทีสามารถ
เป็ นทังเครืองปรินเตอร์ แฟกซ์ ถ่ายเอกสารและสแกนเนอร์ได ้ในเครืองเดียวกัน อย่างไรก็ตามราคาของเครืองปริน
                    ั
เตอร์แบบมัลติฟังค์ชนค่อนข ้างสูง แต่ถ ้าเปรียบเทียบกับการซืออุปกรณ์ตอพ่วงทังหมดก็ถอว่าถูกกว่า
                                                                     ่             ื




                                                                                                           Page 2
โมเดม ฮับและอุปกรณ์สําหรับการเชือมต่ออินเตอร์เน็ ต

 การใช ้อุปกรณ์เสริมหลังจากเชือมต่ออินเตอร์เน็ ตแล ้วจะมีความแตกต่างกันไป ตามระบบการเชือมต่อทีต่างกัน
 ได ้แก่:

 กล ้องเวบแคม – ถือเป็ นอุปกรณ์ตอพ่วงทีสําคัญทีใช ้ในศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนมากทีสุด เนืองจากการถ่ายภาพ
                                  ่
 ดิจตอลเป็ นสิงทีชุมชนในพืนทีห่างไกลต ้องการมาก การมีเทคโนโลยีสมัยใหม่นี ทําให ้การถ่ายภาพและการ
    ิ
 บันทึกภาพแบบดิจตอลมีราคาถูกลง รวมทังการใช ้งานทีง่ายขึน อย่างไรก็ตามเทคโนโลยีนีก็มการแข่งขันกัน
                    ิ                                                                       ี
 ค่อนข ้างสูง ตามระดับผู ้เรียนภาพทีแตกต่างกัน กล ้องบันทึกภาพแบบดิจตอลเป็ นอุปกรณ์สําคัญในกิจกรรมด ้านการ
                                                                         ิ
 พัฒนาต่าง ๆ และการใช ้เทคโนโลยีนต ้องอาศัยการเชือมต่ออินเตอร์เน็ ตด ้วย
                                      ี

 อุปกรณ์จ ัดเก็บข้อมูล

 ไดร์ฟปากกา

 ไดร์ฟปากกาเป็ นอุปกรณ์ทช่วยอํานวยความสะดวกในการจัดเก็บข ้อมูลขนาดเล็ก โดยศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน
                               ี
 บางแห่งจัดไดร์ฟประเภทนีไว ้บริการ นอกจากนีผู ้เรียนสามารถแจ ้งผู ้ใช ้บริการศูนย์ฯ ว่า พวกเขาอาจนํ าไดร์ฟมาเอง
 ก็ได ้ ซึงในการนีผู ้เรียนอาจทําสัญญากับร ้านจําหน่ายอุปกรณ์จัดเก็บข ้อมูลเพือจําหน่ายอุปกรณ์ในราคาถูกแก่
 ผู ้ใช ้บริการได ้

 ฮาร์ดไดร์ฟแยก – คอมพิวเตอร์สวนใหญ่มฮาร์ดไดร์ฟทีใช ้ในการเก็บข ้อมูลจากโปรแกรมต่าง ๆ อยูแล ้ว อย่างไรก็
                                    ่         ี                                                  ่
 ตาม ถ ้าผู ้เรียนต ้องการเสริมความสามารถให ้กับคอมพิวเตอร์ ผู ้เรียนสามารถใช ้ฮาร์ดไดร์ฟแยกเชือมต่อกับ
 คอมพิวเตอร์ได ้ เพือเป็ นการป้ องกันข ้อมูลสูญหาย รวมทังยังสามารถลอกความจําจากโปรแกรมต่าง ๆ เก็บไว ้ใน
 ฮาร์ดไดร์ฟแยกได ้ด ้วย

   คําถาม 3.1

   1. อธิบายความหมายของฮาร์ดแวร์ ความยาวไม่เกิน 2 บรรทัด
     _______________________________________________________________
    _______________________________________________________________

    2. บอกชืออุปกรณ์ตอพ่วง 3 ชนิดทีสามารถนํ ามาใช ้ภายในศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนได ้
                     ่
  ι.______________________
 ιι.______________________
ιιι.______________________
ιϖ.

   3.2 ซอร์ฟแวร์

 3.2.1 ระบบปฏิบ ัติการ

 ซอร์ฟแวร์ทมักใช ้ภายในศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนมักจะเป็ นโปรแกรมวินโดว์ลขสิทธิหรือไม่ก็โปรแกรมฟรี (FOSS)
           ี                                                               ิ
 ทังนีลักษณะของซอร์ฟแวร์จะขึนอยู่กบลักษณะของคอมพิวเตอร์ด ้วย
                                    ั




                                                                                                         Page 3
ซอร์ฟแวร์ลขสิทธิ เป็ นซอร์ฟแวร์ทมีราคาแพงและมีการระบุผู ้ใช ้อย่างเฉพาะเจาะจง อย่างไรก็ตาม ซอร์ฟแวร์
          ิ                     ี
ประเภทนีสะดวกต่อการบํารุงรักษาและมักจะเสนอทางแก ้ปั ญหาการใช ้งานอย่างมีประสิทธิภาพไว ้ด ้วยเสมอ

ซอร์ฟแวร์ฟรี จะมีราคาถูกกว่า และสามารถตอบสนองความต ้องการของคอมพิวเตอร์ได ้ในระดับหนึง อย่างไรก็ด ี
ระบบการปฏิบตการไม่มประสิทธิภาพเหมือนซอร์ฟแวร์ลขสิทธิ ดังนันจึงต ้องใช ้เวลาสําหรับแก ้ปั ญหาการใช ้งานใน
             ั ิ    ี                          ิ
บางครัง ซึงอาจหมายถึงการเสียผลประโยชน์บางอย่างตามมาด ้วย

ตัวเลือกระหว่างซอร์ฟแวร์ลขสิทธิและซอร์ฟแวร์ฟรีจะขึนอยูกับงบประมาณและระดับการสนั บสนุนทางเทคนิคทีมี
                               ิ                        ่
อยู่ ความจําเป็ นของผู ้ใช ้บริการศูนย์ฯ และนโยบายของภาครัฐ ในการนีผู ้เรียนอาจจะปรึกษาผู ้เชียวชาญด ้าน
คอมพิวเตอร์เพือเลือกซอร์ฟแวร์ทเหมาะสมทีสุด
                                     ี

ซอร์ฟแวร์ทถือว่าเหมาะสมทีสุดสําหรับการใช ้งานภายในศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ควรจะมีโปรแกรมทีจําเป็ น เช่น
          ี
โปรแกรมพิมพ์งาน โปรแกรมนํ าเสนอ การจัดการและรับส่งอีเมล์ รวมทังโปรแกรมคํานวณต่าง ๆ

3.2.2 ซอร์ฟแวร์พนฐานสําหร ับการใชงานสําน ักงาน
                ื                ้

โดยทัวไปแล ้วซอร์ฟแวร์ทเหมาะสมสําหรับการใช ้งานสํานักงาน (เช่น โปรแกรมไมโครซอฟหรือโปรแกรม Open
                         ี
Office) โดยทัวไปแล ้ว มักจะรวมโปรแกรมเหล่านีเข ้าไปด ้วย:

1. โปรแกรมพิมพ์งาน

โปรแกรมนีมีประโยชน์สาหรับการพิมพ์จดหมาย คูมอและเอกสารต่าง ๆ โดยลักษณะการใช ้งานก็ไม่แตกต่างจาก
                       ํ                         ่ ื
การพิมพ์ดดมากนั ก โปรแกรมนียังทําให ้ผู ้ใช ้งานสามารถเพิมรูปภาพและภาพเคลือนไหวเข ้าไปได ้ด ้วย ซึง
            ี
โปรแกรมทัวไปทีนิยมใช ้ ได ้แก่ โปรแกรม Word และ Writer โปรแกรมพิมพ์งานนียังมีประโยชน์สําหรับการพัฒนา
เอกสารคูมอสําหรับการจัดอบรมต่าง ๆ ด ้วย แช่น การบันทึกข ้อมูลและการจัดทําเอกสารเพือประเมินผล รวมทังการ
          ่ ื
บันทึกข ้อมูลด ้านกลยุทธ์การตลาดและแผนความก ้าวหน ้าของศูนย์ฯ ด ้วย

2. โปรแกรมคํานวณ

                        ํ
โปรแกรมนีมีประโยชน์สาหรับการบริหารจัดการโดยเฉพาะด ้านการเงินของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน เช่น การทํา
บัญชีรับจ่าย รายละเอียดงบประมาณ และการระดมทุน โปรแกรมนียังสามารถคํานวณทางคณิตศาสตร์และการ
จัดการบัญชีให ้มีความง่ายมากขึน โปรแกรมนีสามารถใช ้งานได ้ผ่านโปรแกรม Excel

3. โปรแกรมจ ัดทําประกาศและการนําเสนอ

โปรแกรมนีมีประโยชน์ในการจัดการอบรมและทําการตลาดของศูนย์ฯ โดยจะช่วยในการจัดทําแผ่นพับ ป้ ายประกาศ
และคูมอทีสามารถใช ้สําหรับการโฆษณากิจกรรมต่าง ๆ ของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน รวมทังการจัดบริการสําหรับ
     ่ ื
ชุมชนได ้ด ้วย

 คําถาม 3.2

  1. เขียนระบบปฏิบตการทีมีความเหมาะสมสําหรับศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนมากทีสุด 3 ประเภท
                  ั ิ
ι.__________________________




                                                                                                     Page 4
ιι.__________________________
ιιι.__________________________
ιϖ.

  3.3    อินเตอร์เน็ ตและการเชือมต่ออินเตอร์เน็ ต

 นอกจากความรู ้เรืองฮาร์ดแวร์และซอร์ฟแวร์ ผู ้เรียนยังจําเป็ นจะต ้องมีความเข ้าใจเกียวกับอินเตอร์เน็ ตและการ
 เชือมต่ออินเตอร์เน็ ต ในทันทีทผู ้เรียนเชือมต่ออินเตอร์เน็ ต ผู ้เรียนจําเป็ นจะต ้องเข ้าใจในประเด็นต่าง ๆ ต่อไปนี
                               ี

 3.3.1 ประเภทของการเชือมต่ออินเตอร์เน็ ต

 เทคโนโลยีการเชือมต่ออินเตอร์เน็ ตโดยทัวไปใช ้หลักการคล ้าย ๆ กัน กล่าวคือ ศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนจะ
 เชือมต่ออินเตอร์เน็ ตความเร็วสูงผ่านระบบให ้บริการอินเตอร์เน็ ต อย่างไรก็ตาม การให ้บริการอินเตอร์เน็ ตมักจะถูก
 จํากัดในพืนทีห่างไกล ดังนันศูนย์ฯ ทีตังอยูในพืนทีห่างไกลควรจะมองหาทางเลือกในการเชือมต่ออินเตอร์เน็ ต
                                           ่
 รูปแบบอืนเอาไว ้บ ้าง

     ั
 โทรศพท์

 เทคโนโลยีอนเตอร์เน็ ตในปั จจุบนต่างก็มงเน ้นทีราคาถูกและบริการอันหลากหลาย (เช่น การใช ้อินเตอร์เน็ ตผ่าน
           ิ                     ั     ุ่
 สายโทรศัพท์) ในพืนทีทีไม่มการติดตังสายสัญญาณโทรศัพท์ หรือพืนทีทีห่างไปไม่เกิน 20 กิโลเมตร สามารถใช ้
                              ี
 ระบบอินเตอร์เน็ ตไร ้สายเชือมต่อสัญญาณอินเตอร์เน็ ตทีอยูใกล ้ทีสุดได ้
                                                         ่

 ดาวเทียม

 ในพืนทีทีอยูหางไกลออกไปซึงไม่มการติดตังสายสัญญาณโทรศัพท์ สัญญาณดาวเทียมถือเป็ นตัวเลือกทีดีทสุด
             ่ ่                ี                                                                    ี
 โดยการเชือต่อสัญญาณดาวเทียมจะช่วยทําให ้การเข ้าถึงอินเตอร์เน็ ตในพืนทีห่างไกลมีความเป็ นไปได ้มากขึน
 อย่างไรก็ตามในบางประเทศยังมีประเด็นการจดลิขสิทธิ รวมทังฮาร์ดแวร์ทมีราคาสูงเมือเทียบกับระบบอืน ๆ ทีใช ้
                                                                     ี
 กันทัวไป

 การเชือมต่อเครือข่ายดาวเทียมยังต ้องการจานดาวเทียมขนาดเล็กเพือรับส่งข ้อมูลด ้วย เป็ นเหมือนตัวเชือมประสาน
 ระหว่างสัญญาณดาวเทียมและคอมพิวเตอร์ภายในศูนย์ฯ นอกจากนียังต ้องมีโมเดมดาวเทียมทีเชือมต่อกับ
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในศูนย์ฯ ด ้วย

     ั
 โทรศพท์มอถือ
         ื

 โทรศัพท์มอถือเริมมีบทบาทในการใช ้เป็ นเครืองมือเชือมต่อสัญญาณอินเตอร์เน็ ตมากขึนทุกขณะ โดยจะเป็ นการ
            ื
 เชือมต่อผ่านการ์ดความจํา ซึงมีความสะดวกสบายมาก ใช ้กันมากในพืนทีเล็ก ๆ ทีไม่มบริการโทรศัพท์พนฐาน การ
                                                                                    ี               ื
 ใช ้งานอินเตอร์เน็ ตบนมือถือเป็ นอีกทางเลือกหนึงของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน โดยเฉพาะในปั จจุบนทีการเชือม
                                                                                                 ั
 งานอินเตอร์เน็ ตเคลือนทีได ้รับความนิยมมากขึน

 เทคโนโลยีไร้สาย

 Wifi เป็ นเทคโนโลยีไร ้สายทีให ้บริการเชือมต่ออินเตอร์เน็ ตในราคาถูก ในเมืองใหญ่จะมีผู ้ให ้บริการอินเตอร์เน็ ตเปิ ด
 บริการ Wifi ให ้กับกลุมผู ้ใช ้งานจํานวนมาก นอกจากนียังมีระบบ Wimax ทีเป็ นเครืองมือเพิมประสิทธิภาพการ
                       ่




                                                                                                                 Page 5
เข ้าถึงอินเตอร์เน็ ตแบบไร ้สายให ้กับกลุมผู ้ใช ้งานด ้วย เช่น การส่งสัญญาณผ่านสายเคเบิลทีมีอตราค่าบริการถูกกว่า
                                         ่                                                    ั
เมือก่อนมาก

3.3.2 โอกาสจากการเข้าถึงอินเตอร์เน็ ต

อินเตอร์เน็ ตเป็ นระบบเครือข่ายทีเชือมคอมพิวเตอร์ทัวโลกเพือการรับส่งข ้อมูลและการสือสารระหว่างกัน ภายใน
ศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน อินเตอร์เน็ ตจะถูกจัดตังไว ้ทีส่วนกลาง แต่ก็อนุญาตให ้ผู ้ใช ้สามารถรับส่งข ้อมูลระหว่าง
กันได ้อย่างเป็ นส่วนตัว การใช ้งานอินเตอร์เน็ ตยังรวมทังการใช ้อีเมล์ เวปไซด์ ห ้องสนทนา ระบบข่าวสารและอืน ๆ

ในฐานะผู ้ดูแลศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน อินเตอร์เน็ ตมีประโยชน์ในหลายด ้าน ได ้แก่:

1. การเข ้าถึงข ้อมูลและเวปไซด์ รวมทังบริการต่าง ๆ ทีช่วยส่งเสริมการทํางานและกิจกรรมของศูนย์ฯ ซึงจะเป็ น
ประโยชน์ในระยะยาวแก่ชมชน  ุ

2. การเปิ ดโอกาสด ้านการประสานงานและการสือสารระหว่างประชาชนและกลุมผู ้เชียวชาญทีอยูในพืนทีห่างไกล
                                                                 ่                 ่
กัน

3. การเพิมโอกาสในการเข ้าถึงข ้อมูลเพือยกระดับผู ้เรียนภาพชีวตของประชาชน เช่น การประชาสัมพันธ์เพือกําจัด
                                                             ิ
ยุงลายอันเป็ นพาหะนํ าโรคแก่ชมชน เป็ นต ้น
                             ุ

4. การเพิมประสิทธิภาพการติดต่อสือสารเพือดําเนินกิจกรรมของชุมชน

3.3.3 การเชือมต่ออินเตอร์เน็ ตและการเลือกผูให้บริการอินเตอร์เน็ ต
                                           ้

ดังเช่นทีกล่าวไปแล ้วข ้างต ้น การเชือมต่ออินเตอร์เน็ ตมักจะทําได ้โดยผ่านหน่วยงานหรือบริษัทให ้บริการ
อินเตอร์เน็ ต

อุปกรณ์สําหร ับการเชือมต่ออินเตอร์เน็ ต

อุปกรณ์สําคัญสําหรับการเชือมต่อและรับส่งข ้อมูลผ่านระบบอินเตอร์เน็ ตมี 2 ประการ ได ้แก่ คอมพิวเตอร์และโม
เดม

โมเดมเป็ นอุปกรณ์ทเชือมระหว่างคอมพิวเตอร์และสายโทรศัพท์ ทําหน ้าทีในการเปิ ดรับส่งข ้อมูลระหว่าง
                    ี
คอมพิวเตอร์ผ่านสายโทรศัพท์ ในพืนทีทีการให ้บริการโทรศัพท์พนฐานยังเข ้าไปไม่ถง อาจใช ้โมเดมเชือมต่อกับ
                                                          ื                     ึ
สัญญาณดาวเทียมหรือคลืนวิทยุแทนได ้ อย่างไรก็ตาม ดังเช่นทีให ้ข ้อมูลไปแล ้วว่า การเชือมต่อผ่านระบบ
ดาวเทียมเป็ นตัวเลือกทีมีราคาสูง

การประเมินและการเปรียบเทียบผูให้บริการอินเตอร์เน็ ต

มีปัจจัยบางประการทีต ้องคํานึงถึงเมือต ้องการเลือกใช ้งานจากกลุมผู ้ให ้บริการอินเตอร์เน็ ต ได ้แก่:
                                                               ่

•        ราคาอุปกรณ์: โมเดมมีราคาเท่าไร การติดตังสัญญาณโทรศัพท์มคาใช ้จ่ายหรือไม่ อย่างไร
                                                                  ี ่
•        ความเร็ วของโมเดม: การเชือมต่อโมเดมมีความเร็วเท่าไร และควรซือโมเดมทีมีความเร็วระดับใด




                                                                                                              Page 6
•        ซอร์ฟแวร์: ผู ้ให ้บริการอินเตอร์เน็ ตมีโปรแกรมเริมต ้นการใช ้งานให ้หรือไม่ แล ้วจะโหลดโปรแกรม
ดังกล่าวได ้อย่างไร
•        ค่าบริการ: ค่าบริการคิดเป็ นรายเดือน รายปี หรือรายชัวโมง มีอเมล์จํานวนเท่าไรทีจัดไว ้บริการ มีพนทีเวป
                                                                         ี                               ื
ไซด์บริการฟรีหรือไม่ การเปิ ดพืนทีเวปไซด์เพิมเติมมีอัตราค่าบริการเท่าไร
•                         ั
         ค่าบริการโทรศพท์พนฐาน: ชําระค่าบริการโทรศัพท์พนฐานจะแยกจากค่าบริการอินเตอร์เน็ ตหรือไม่
                                 ื                                  ื
•        การบริการ: จะติดต่อผูให ้บริการอินเตอร์เน็ ตได ้อย่างไรเมือมีปัญหาเกียวกับการใช ้งาน
•        ประสบการณ์และชือเสียงด้านการให้บริการ: ลูกค ้ารายอืน ๆ ทีใช ้อินเตอร์เน็ ตจากผู ้ให ้บริการรายนีมี
ความคิดเห็นต่อการบริการอย่างไร เจ ้าหน ้าทีบริการลูกค ้ามีความน่าเชือถือหรือไม่ อย่างไร
•        เวลาดําเนินธุรกิจ: ผู ้ให ้บริการอินเตอร์เน็ ตรายนีเปิ ดกิจการมานานแล ้วหรือไม่

หากเป็ นไปได ้ ควรสอบถามเพือน เพือนร่วมงานและธุรกิจอืน ๆ ในชุมชนทีใช ้บริการอินเตอร์เน็ ตจากบริษัทอืน ๆ

3.3.4 อีเมล์

อีเมล์ (จดหมายอิเล็กทรอนิกส์) เป็ นเครืองมือในการติดต่อสือสารอิเล็กทรอนิกส์ทพืนฐานทีสุด โดยเปิ ดโอกาสให ้
                                                                                ี
ผู ้ใช ้บริการสามารถรับส่งข ้อความได ้ผ่านระบบอินเตอร์เน็ ต ข ้อความในอีเมล์สวนมากเป็ นตัวอักษร อย่างไรก็ตาม
                                                                             ่
อีเมล์บางระบบยังมีระบบฐานข ้อมูลทางการเงิน การส่งรูปภาพและเสียงด ้วย

อีเมล์สามารถรับส่งระหว่างบุคคลและภายในกลุมได ้ในเวลาเดียวกัน โดยการรับส่งผ่านระบบอีเมล์มประโยชน์หลาย
                                         ่                                              ี
ประการ ดังนี:

•       ได ้รับคําตอบอย่างรวดเร็ว
•       ส่งข ้อความหาบุคคลหรือกลุมได ้ในเวลาเดียวกัน
                                  ่
•       ราคาถูก
•       การแลกเปลียนข ้อความสามารถทําได ้แม ้จะมีความแตกต่างด ้านช่วงเวลา
•       การแลกเปลียนข ้อมูลมีความรวดเร็ว สามารถเชือมความสัมพันธ์ระหว่างกันได ้ง่ายขึน
•       ประหยัดเวลาและค่าใช ้จ่ายเมือเทียบกับการส่งจดหมายทัวไป
•       สามารถเก็บข ้อมูลไว ้ในคอมพิวเตอร์เพืออ ้างอิงได ้ในภายหลัง
•       สามารถเข ้าร่วมการสนทนากลุมได ้
                                    ่

ความเข้าใจเรืองทีอยูอเมล์
                    ่ ี

ทีอยูสําหรับส่งอีเมล์ไม่แตกต่างจากทีอยู่สาหรับการส่งจดหมายทัวไป โดยทีอยู่อเมล์จะต ้องระบุชอโดเมนหรือผู ้
     ่                                    ํ                                ี              ื
ให ้บริการอีเมล์ จากนันก็จะมีตัวย่อชือประเทศหรือโดเมนอีกตัว เช่น user@yourisp.org.in

             ้ ี
มารยาทในการใชอเมล์

การใช ้อีเมล์ก็ไม่ตางจากการสือสารประเภทอืน ๆ ทีจะต ้องมีมารยาทในการสือสารระหว่างกัน อินเตอร์เน็ ตเปิ ด
                   ่
โอกาสให ้การสือสารข ้ามประเทศทําได ้ง่ายขึน ซึงอาจจะมีปัจจัยความแตกต่างทางวัฒนธรรมด ้วย ต่อไปนีเป็ น
ปั จจัยบางประการทีควรต ้องคํานึงถึงเมือใช ้อีเมล์:

    •   ความยาวของข้อความ: ควรจะสันและได ้ใจความ
    •   การตอบข้อความ: เมือตอบข ้อความ ควรกล่าวถึงหัวข ้อทีต ้องการจะเขียนตอบซํา เพือให ้ผู ้รับทราบว่า
        กําลังเขียนเรืองอะไรอยู่




                                                                                                       Page 7
•   ห ัวข้อ: ควรเขียนหัวข ้ออีเมล์ทชัดเจนเสมอ เพือให ้ผู ้รับเข ้าใจและเปิ ดอ่าน
                                           ี
    •   การเขียนอ ักษรต ัวใหญ่: หลีกเลียงการเขียนอักษรตัวใหญ่ เพราะในโลกอินเตอร์เน็ ต การเขียนลักษณะ
        นีไม่ตางจากการตะโกนหรือส่งเสียงดังใส่ผู ้รับ นอกจากนียังทําให ้อ่านยากด ้วย
                ่
    •                                ื
        ข้อมูลติดต่อ: ควรระบุชอทีด ้านล่างข ้อความ รวมทังข ้อมูลสําหรับติดต่ออืน ๆ เช่น ชือบริษัท ตําแหน่ง ที
        อยูและเบอร์โทรศัพท์ เป็ นต ้น
             ่
    •   ความอ่อนไหวทางว ัฒนธรรม: คิดถึงผู ้รับว่า บางครังเขาอาจจะไม่เข ้าใจหากผู ้เรียนอ ้างถึงรายการ
        โทรทัศน์ กีฬา วัฒนธรรมป๊ อป หรือสถานการณ์ปัจจุบนในประเทศของผู ้เรียน ควรจะต ้องมีคําอธิบาย
                                                                 ั
        สําหรับสิงทีอาจจะส่งผลกระทบทางวัฒนธรรมของผู ้รับไว ้ด ้วยเสมอ
    •   การส่งต่อข้อความ: คิดก่อนทีจะส่งต่อข ้อความไปยังบุคคลอืน โดยเฉพาะอย่างยิงอีเมล์ทมีรูปภาพหรือ ี
        ภาพเคลือนไหวอยู่ เนืองจากจะทําให ้ขนาดข ้อความใหญ่ขนและใช ้เวลาในการส่งนานขึน
                                                                       ึ
    •   การเขียนข้อความ: คิดก่อนเขียนข ้อความเสมอว่าผู ้เรียนต ้องการเขียนอะไรกันแน่ และจะถ่ายทอดสิงที
        ต ้องการเขียนนันอย่างไร อ่านข ้อความทังหมดก่อนทีจะส่ง หากผู ้เรียนยังไม่ได ้อ่านหรืออ่านแล ้วพบว่ามีสง        ิ
        ทีไม่ถูกต ้อง ให ้เก็บข ้อความนั นไว ้ในกล่องร่างข ้อความก่อน แล ้วเปิ ดอ่านอีกครังในภายหลัง
    •   ล ักษณะข้อความ: ส่งข ้อความทีผู ้เรียนคิดว่าอยากได ้รับจากคนอืน ถ ้าผู ้เรียนคิดว่าผู ้รับอาจจะรู ้สึกไม่ดตอ
                                                                                                                  ี ่
        ข ้อความนัน อย่าส่งไป หากผู ้เรียนได ้รับข ้อความทีไม่พงประสงค์ รอจนกว่าจะพ ้น 24 ชัวโมงจึงตอบ
                                                                   ึ
        ข ้อความนัน เพือให ้อารมณ์เย็นลงและส่งข ้อความทีเป็ นเหตุเป็ นผลมากขึน
    •   ล ักษณะการเขียน: อย่าเขียนข ้อความทีหยาบคาย หรือตลกเสียดสี เพราะการส่งข ้อความทํานองนันโดย
        ผู ้ส่งและผู ้รับไม่เห็นหน ้ากัน อาจทําให ้เกิดความเข ้าใจผิดและเสียความรู ้สึกต่อกันได ้
    •   เวลาจําก ัด: ถ ้าผู ้เรียนจําเป็ นต ้องตอบข ้อความทังทีไม่มเวลา เพียงเขียนข ้อความสัน ๆ แสดงการรับรู ้และ
                                                                     ี
        ให ้คํามันว่าจะตอบข ้อความอีกครังเมือมีเวลา

รายชือเมล์

รายชือเมล์เป็ นทางหนึงในการติดต่อกับบุคคลจํานวนมาก โดยจะมีการใช ้ชือทีแตกต่างกันไป เช่น รายชือเมล์
รายชืออิเล็กทรอนิกส์ รายชือเมล์ทางอินเตอร์เน็ ต กลุมผู ้รับ กลุมสนทนาและกลุมประชุม
                                                   ่           ่           ่

รายชือเมล์เป็ นเครืองมืออิเล็กทรอนิกส์ทช่วยให ้ติดต่อผ่านกลุมบุคคลจํานวนมาก ทําให ้เกิดการรับส่งข ้อความและ
                                       ี                    ่
แลกเปลียนข ้อมูลระหว่างกัน มีหลายประเภท ดังนี:

•     รายชือเมล์ทางเดียวสําหรับส่งจดหมายข่าวและประกาศต่าง ๆ
•                                                                     ่
      รายชือเมล์สองทางสําหรับสนทนาในประเด็นสําคัญ ๆ ระหว่างผู ้มีสวนเกียวข ้อง โดยมากจะเป็ นประเด็น
สาธารณะทีทุกคนในรายการชือสามารถเปิ ดอ่านได ้
•                ่
      รายชือเมล์สวนตัวทีเป็ นกลุมบุคคลกลุมเล็ก ๆ สําหรับเชิญเข ้าร่วมกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึงเท่านัน
                                ่        ่

หน่วยงานหลายแห่งและผู ้ใช ้หลายรายเปิ ดการใช ้งานรายชือเมล์เพือสนทนาต่อสาธารณะในประเด็นต่าง ๆ ผู ้เรียน
เองก็สามารถเปิ ดรายชือเมล์ทมีหัวข ้อเกียวข ้องกับการบริหารงานของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนได ้
                            ี




                                                                                                                Page 8
คําถาม 3.3

    1. เขียนวิธททําให ้การเชือมต่ออินเตอร์เน็ ตมีประสิทธิภาพ 3 วิธ ี
               ี ี
  ι          ___________________________
 ιι          ___________________________
ιιι          ___________________________

  2. อธิบายความหมายของอินเตอร์เน็ ต ความยาวไม่เกิน 3 บรรทัด
   ___________________________________________________________________
   ___________________________________________________________________
    ___________________________________________________________________

    3. เขียนมารยาทการใช ้อีเมล์ 3 ประการ
  i.__________________
 ii.__________________
iii.__________________



  3.4 กระแสไฟฟา
              ้

 อุปกรณ์สารสนเทศและระบบทังหมดขึนอยู่กบกระแสไฟฟ้ า อย่างไรก็ตาม บางครังการจ่ายกระแสไฟฟ้ าก็ไม่ม ี
                                     ั
 เสถียรภาพในบางพืนที

 แม ้ว่าการจ่ายกระแสไฟฟ้ าเป็ นหน ้าทีหนึงของรัฐทีจะต ้องจัดบริการประชาชนด ้วยอัตราค่าบริการทีไม่แพงนั ก แต่ใน
 หลายพืนที กระแสไฟฟ้ าไม่สามารถเข ้าถึงหรือยังไม่มเสถียรภาพเท่าทีควร โดยเฉพาะในพืนทีห่างไกล ซึงอาจ
                                                        ี
 หมายถึงพืนทีทีศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนทีผู ้เรียนดูแลตังอยู่ ดังนันผู ้เรียนจึงจําเป็ นต ้องคํานึงถึงการจ่าย
 กระแสไฟฟ้ าทีมันคงเพือหลีกเลียงปั ญหาอันจะเกิดจากไฟฟ้ าขัดข ้อง

 ไฟฟาสํารอง
    ้

 อาจจะอยูในรูปของเครืองปั นไฟ แบตเตอรีหรือพลังงานแสงอาทิตย์
         ่

 การใช ้พลังงานแสงอาทิตย์จําเป็ นต ้องใช ้แผ่นผลิตพลังงานแสงอาทิตย์ซงมีราคาแพง แต่ใช ้ได ้ในระยะยาว
                                                                    ึ
 นอกจากนีพลังงานทางเลือกอย่างพลังงานนํ าและพลังงานลมก็สามารถนํ ามาใช ้เป็ นพลังงานสํารองได ้ หากอยูใน่
 พืนทีทีมีลมแรงและมีพลังงานนํ าเพียงพอ พลังงานไฟฟ้ าสํารองเหล่านีจะช่วยให ้การใช ้งานสือสารสนเทศไม่สะดุด
 แม ้จะเกิดไฟฟ้ าขัดข ้องก็ตาม

 เมือมีแหล่งพลังงานสํารองเหล่านีแล ้ว ปริมาณการใช ้งานกระแสไฟฟ้ าจากส่วนกลางก็มแนวโน ้มลดลง ยกตัวอย่าง
                                                                                 ี
 เช่น คอมพิวเตอร์พกพาจะใช ้พลังงานไฟฟ้ าน ้อยกว่าคอมพิวเตอร์แบบตังโต๊ะ แม ้ว่าคอมพิวเตอร์แบบพกพาจะมี
 ราคาแพงกว่า นอกจากนีพลังงานแสงอาทิตย์ยังสามารถรองรับการใช ้งานจากคอมพิวเตอร์พกพาได ้จํานวนมากกว่า
 คอมพิวเตอร์ตงโต๊ะด ้วย
              ั




                                                                                                          Page 9
ในฤดูฝนหรือช่วงทีมีพายุเข ้า ผู ้เรียนสามารถปกป้ องเครืองคอมพิวเตอร์และโมเดมของผู ้เรียนจากปั ญหาไฟตกได ้
ด ้วยเครืองป้ องกันทีผลิตขึนโดยเฉพาะ


  บทสรุปย่อ

 ในหน่วยนี ผู ้เรียนได ้เรียนรู ้เกียวกับอุปกรณ์อเล็กทรอนิกส์ในศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน โดยเฉพาะฮาร์ดแวร์
                                                 ิ
 ซอร์ฟแวร์ คอมพิวเตอร์และการเชือมต่ออินเตอร์เน็ ต ในประเด็นสําคัญต่อไปนี:

 •          การมีฮาร์ดแวร์และซอร์ฟแวร์ทเหมาะสมเป็ นสิงจําเป็ นทีจะทําให ้ศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนประสบ
                                            ี
 ความสําเร็จ
 •          เป็ นเรืองดีหากการลงทุนในอุปกรณ์ดงกล่าวไม่สงนัก แต่ได ้มาซึงผลิตภัณฑ์ทมีผู ้เรียนภาพ
                                                  ั            ู                      ี
 •          ซอร์ฟแวร์มประโยชน์อย่างมากต่อการใช ้งานวันต่อวันภายในศูนย์ฯ รวมทังการใช ้งานของผู ้ใช ้บริการ
                         ี
 ศูนย์ฯ ด ้วย
 •          การลงทุนในฮาร์ดแวร์ ซอร์ฟแวร์และอุปกรณ์ตอพ่วงต่าง ๆ จะช่วยเสริมศักยภาพให ้กับศูนย์การเรียนรู ้
                                                             ่
 ICT ชุมชนในทีสุด
 •          การเชือมต่ออินเตอร์เน็ ตเป็ นเรืองจําเป็ นเพือประสิทธิภาพการดําเนินงานของศูนย์ฯ
 •          การสือสารทางอินเตอร์เน็ ตทําให ้เรียนรู ้และเข ้าใจความแตกต่างทางภาษาและวัฒนธรรม
 •          การสือสารผ่านอินเตอร์เน็ ตทําให ้เรียนรู ้ว่าอะไรควรทํา และอะไรไม่ควรทํา


 การประเมินผล

จัดทําการนํ าเสนอเรืองศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนในอุดมคติของผู ้เรียน ในหัวข ้อต่อไปนี:

1.        ฮาร์ดแวร์
2.        ซอร์ฟแวร์
3.        ผู ้ให ้บริการอินเตอร์เน็ ต
4.        เครืองปรินเตอร์ เครืองสแกนเนอร์ เครืองถ่ายเอกสาร
5.        กล ้องถ่ายภาพและกล ้องบันทึกภาพแบบดิจตอล  ิ
6.        ประเด็นอืน ๆ ทีผู ้เรียนคิดว่าควรนํ าเสนอ

ประเมินราคาของอุปกรณ์เหล่านีและตังงบประมาณจัดซือ ซึงอาจจะเพิมสิงใด ๆ ทีคิดว่าเกียวข ้องกับการจัดตังศูนย์
การเรียนรู ้ ICT ชุมชนเพิมเติมด ้วยก็ได ้

การนํ าเสนออาจมีรายละเอียดดังนี:

1.   การนํ าเสนอผ่านเทปบันทึกเสียง CD หรือ PowerPoint ความยาว 5 – 7 นาที
2.   การนํ าเสนอผ่านเทปบันทึกภาพ (5 นาที)
3.   การเขียนเรียงความ (1 หน ้ากระดาษ A4)
4.   การวาดภาพ
5.   การเขียนบทประพันธ์
6.   การนํ าเสนอผ่านรูปภาพประมาณ 10 ใบพร ้อมคําอธิบายใต ้ภาพ




                                                                                                          Page 10
รายการอ้างอิง

1. Harris, Roger (2007), “A Framework for Designing Telecentres”, Roger Harris Associates: Hong
Kong, URL: http://www.unapcict.org/ecohub/resources/a-framework-for-designing-
telecentres

2. Wikipedia definition and concepts (www.wikipedia.org)




                                                                                            Page 11

Contenu connexe

Tendances

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกดG'ad Smile
 
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012NECTEC
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศkruchanon2555
 
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้นอบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้นbigman27skydrive
 
แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)
แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)
แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)0833592360
 
Computer
ComputerComputer
Computernuting
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Bเครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ BMontita Kongmuang
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ Radompon.com
 
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์jatesada5803
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ThanThai Sangwong
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์delloov
 
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่ายใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่ายNaruk Naendu
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์devilp Nnop
 
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศhs8zlb
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Kriangx Ch
 

Tendances (20)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
งานคอมเกด
งานคอมเกดงานคอมเกด
งานคอมเกด
 
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้นอบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
อบรมคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)
แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)
แบบฝึกหัดท้ายบทที่6 (บันทึกอัตโนมัติ)
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ Bเครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ B
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่3                 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่3 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่ายใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
ใบความรู้ที่ 1 อุปกรณ์เครือข่าย
 
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
ใบงาน 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
บทที่ 2 ส่วนประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่1
หน่วยที่1หน่วยที่1
หน่วยที่1
 

En vedette

หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนthanathip
 
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...thanathip
 
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 4: การบริหารเวลา
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 4: การบริหารเวลาหลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 4: การบริหารเวลา
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 4: การบริหารเวลาthanathip
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนthanathip
 
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...thanathip
 
Joomla O public version
Joomla O public versionJoomla O public version
Joomla O public versionthanathip
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจthanathip
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 2: การบริหารจัดการหรือการวางแผนทางกายภาพของศูนย์การเรี...
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 2: การบริหารจัดการหรือการวางแผนทางกายภาพของศูนย์การเรี...หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 2: การบริหารจัดการหรือการวางแผนทางกายภาพของศูนย์การเรี...
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 2: การบริหารจัดการหรือการวางแผนทางกายภาพของศูนย์การเรี...thanathip
 
BMW Motorrad
BMW MotorradBMW Motorrad
BMW MotorradLouis_B
 
Hansel and gretel
Hansel and gretelHansel and gretel
Hansel and gretelmzalonso
 
FUNDAMENTALS OF COMPUTER
FUNDAMENTALS OF COMPUTERFUNDAMENTALS OF COMPUTER
FUNDAMENTALS OF COMPUTERthanathip
 

En vedette (14)

หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 3: ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน และการพัฒนาชุมชน
 
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...
 
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 4: การบริหารเวลา
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 4: การบริหารเวลาหลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 4: การบริหารเวลา
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 4: การบริหารเวลา
 
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชนหลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน
หลักสูตรที่ 1 หน่วยที่ 1: บทนำเกี่ยวกับศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน
 
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...
หลักสูตรที่ 3 หน่วยที่ 2: กระบวนการและการปฏิบัติงานสำหรับศูนย์การเรียนรู้ ICT...
 
Joomla O public version
Joomla O public versionJoomla O public version
Joomla O public version
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
 
Question 4
Question 4Question 4
Question 4
 
Question 4
Question 4Question 4
Question 4
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 2: การบริหารจัดการหรือการวางแผนทางกายภาพของศูนย์การเรี...
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 2: การบริหารจัดการหรือการวางแผนทางกายภาพของศูนย์การเรี...หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 2: การบริหารจัดการหรือการวางแผนทางกายภาพของศูนย์การเรี...
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 2: การบริหารจัดการหรือการวางแผนทางกายภาพของศูนย์การเรี...
 
BMW Motorrad
BMW MotorradBMW Motorrad
BMW Motorrad
 
Dapur
DapurDapur
Dapur
 
Hansel and gretel
Hansel and gretelHansel and gretel
Hansel and gretel
 
FUNDAMENTALS OF COMPUTER
FUNDAMENTALS OF COMPUTERFUNDAMENTALS OF COMPUTER
FUNDAMENTALS OF COMPUTER
 

Similaire à หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28sawalee kongyuen
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่ายJenchoke Tachagomain
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27sawalee kongyuen
 
ประโยชน์ของระบบเครือข่าย
ประโยชน์ของระบบเครือข่ายประโยชน์ของระบบเครือข่าย
ประโยชน์ของระบบเครือข่ายpakaporn22
 
ประโยชน์ของระบบเครือข่าย
ประโยชน์ของระบบเครือข่ายประโยชน์ของระบบเครือข่าย
ประโยชน์ของระบบเครือข่ายpakaporn22
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย networkบทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย networkBeauso English
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำChi Cha Pui Fai
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)Theruangsit
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ Thanawut Rattanadon
 
บทที่ 5 ระบบซอฟท์แวร์
บทที่ 5 ระบบซอฟท์แวร์บทที่ 5 ระบบซอฟท์แวร์
บทที่ 5 ระบบซอฟท์แวร์Beauso English
 
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์Pokypoky Leonardo
 
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์Timmy Printhong
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาJenchoke Tachagomain
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารปิยะดนัย วิเคียน
 

Similaire à หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ (20)

เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ  Day1 บ่าย
เทคโนโลยีสารสนเทศ Day1 บ่าย
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 27
 
ประโยชน์ของระบบเครือข่าย
ประโยชน์ของระบบเครือข่ายประโยชน์ของระบบเครือข่าย
ประโยชน์ของระบบเครือข่าย
 
ประโยชน์ของระบบเครือข่าย
ประโยชน์ของระบบเครือข่ายประโยชน์ของระบบเครือข่าย
ประโยชน์ของระบบเครือข่าย
 
Ch1 com tech
Ch1 com techCh1 com tech
Ch1 com tech
 
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย networkบทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
บทที่ 4 ระบบเครือข่าย network
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
ระบบเครือข่าย (network computer)
ระบบเครือข่าย  (network computer)ระบบเครือข่าย  (network computer)
ระบบเครือข่าย (network computer)
 
K2
K2K2
K2
 
Part1
Part1Part1
Part1
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 5 ระบบซอฟท์แวร์
บทที่ 5 ระบบซอฟท์แวร์บทที่ 5 ระบบซอฟท์แวร์
บทที่ 5 ระบบซอฟท์แวร์
 
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2. ระบบคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 21
บทที่ 21บทที่ 21
บทที่ 21
 
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 2-ระบบคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษาคอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
คอมพิวเตอร์สำหรับบัณฑิตศึกษา
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
(บทที่ 2)
(บทที่ 2)(บทที่ 2)
(บทที่ 2)
 
ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8ใบงานที่ 2-8
ใบงานที่ 2-8
 

หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 3: การวางแผนด้านวัสดุอุปกรณ์และระบบ

  • 1. หน่วยที 3: การวางแผนด้านว ัสดุอุปกรณ์และระบบ ผลสัมฤทธิจากการศึกษา คําชีแจง 3.1 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ 3.2 ซอร์ฟแวร์ 3.3 อินเตอร์เน็ ตและการเชือมต่ออินเตอร์เน็ ต 3.4 กระแสไฟฟ้ า บทสรุปย่อ การประเมินผล รายการอ ้างอิง ั ผลสมฤทธิจากการศึกษา หลังจากเรียนจบแล ้ว ผู ้เรียนควรจะมีความสามารถดังนี: • ให ้ความหมายและเลือกอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์และซอร์ฟแวร์ทจําเป็ นสําหรับศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนทีดูแล ี อยูได ้ ่ • สร ้างทางเลือกทีชาญฉลาดเกียวกับการเชือมต่อระบบอินเตอร์เน็ ตของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนได ้ • อธิบายการใช ้งานโดยทัวไปของอินเตอร์เน็ ตได ้ • เข ้าใจความสําคัญของพลังงานทางเลือก คําชีแจง ในหน่วยการเรียนทีแล ้ว ผู ้เรียนได ้เรียนรู ้ถึงผู ้เรียนค่าของการวางแผนสําหรับศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนรวมทังการ วางแผนด ้านการบริหารจัดการ ในบทเรียนที 7 จะอธิบายถึงทักษะการใช ้เทคโนโลยีสารสนเทศขันพืนฐาน ซึงจะให ้ คําอธิบายเกียวกับฮาร์ดแวร์และซอร์ฟแวร์อย่างละเอียดมากกว่าในหน่วยการเรียนนี ํ หน่วยนี ผู ้เรียนจะได ้ข ้อมูลพืนฐานทีช่วยในการตัดสินใจเลือกฮาร์ดแวร์และซอร์ฟแวร์สาหรับศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนทีดูแลอยู่ ผู ้เรียนยังจะได ้เรียนรู ้เรืองการเชือมต่ออินเตอร์เน็ ต กระแสไฟฟ้ า อินเตอร์เน็ ตและอีเมล์ด ้วย คอมพิวเตอร์ประกอบด ้วยฮาร์ดแวร์และซอร์ฟแวร์ โดยคอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์หมายถึง ส่วนประกอบทีเป็ น โครงสร ้างคอมพิวเตอร์ทงหมด เช่น: ั Page 1
  • 2. หน่วยประมวลผลกลาง หรือ ซีพยู ี • จอภาพ • คียบอร์ด เมาส์ เป็ นต ้น ์ ซอร์ฟแวร์หมายถึง โปรแกรมทีถูกจัดเก็บไว ้ในหน่วยความจําของคอมพิวเตอร์ทจะช่วยในการเขียนจดหมาย ี ั จัดการงบประมาณ ออกแบบโบร์ชวร์ เข ้าระบบอินเตอร์เน็ ต รวมทังระบบปฏิบตการต่าง ๆ เป็ นต ้น ั ิ ในการนี ถือเป็ นเรืองดีหากผู ้เรียนสามารถขอความช่วยเหลือจากผู ้เชียวชาญด ้านคอมพิวเตอร์ในชุมชนในการเลือก ฮาร์ดแวร์และซอร์ฟแวร์ทเหมาะสมกับลักษณะของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ทังนีหากผู ้เชียวชาญนันเป็ นตัวแทน ี จากภาคธุรกิจ ผู ้ดูแลศูนย์ฯ จะต ้องให ้ความระมัดระวังเป็ นพิเศษ เพราะอาจจะมีประเด็นการโน ้มน ้าวใจให ้ซือสินค ้าที เป็ นตัวแทนจําหน่ายอยู่ได ้ การเลือกเทคโนโลยีควรอยูบนพืนฐานของลักษณะบริการทีศูนย์ฯ ต ้องการจัดให ้ประชาชน เทคโนโลยีสมัยใหม่ ่ นํ ามาซึงบริการรูปแบบใหม่ ทีอาจจะเกียวข ้องกับบริการภายในศูนย์ฯ ด ้วยก็ได ้ อย่างไรก็ด ี เทคโนโลยีทกประเภทมี ุ ค่าใช ้จ่าย ซึงเป็ นประเด็นทีต ้องให ้ความสําคัญด ้วย อุปกรณ์อเล็กทรอนิกส์ราคาถูกถือเป็ นการลดต ้นทุนได ้ อย่างไรก็ด ี ในฐานะผู ้ดูแลศูนย์ฯ ผู ้เรียนควรจะเลือกใช ้ ิ เทคโนโลยีทมีประสิทธิภาพมากกว่าประเด็นอืน ๆ การใช ้เทคโนโลยีราคาถูก อาจแก ้ปั ญหาได ้ในระดับหนึง แต่ไม่ ี อาจนํ ามาซึงการแก ้ปั ญหาอย่างถาวร ดังนันหากศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนไม่เลือกใช ้เทคโนโลยีทมีประสิทธิภาพ ี ก็จะทําให ้ปั ญหาต่าง ๆ ไม่ได ้รับการแก ้ไขอย่างยังยืน 3.1 คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ ดังเช่นทีทราบกันแล ้วว่า คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์หมายถึง องค์ประกอบทางกายภาพของระบบคอมพิวเตอร์ ใน หลักสูตรนี “ฮาร์ดแวร์” หมายถึง คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อน ๆ ทีเชือมต่อกับคอมพิวเตอร์ เช่น เครืองปรินเตอร์ ื เครืองสแกนเนอร์ โมเดม กล ้องถ่ายรูป วีดโอ เป็ นต ้น ี 3.1.1 คอมพิวเตอร์ ในฐานะผู ้บริหารศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ผู ้เรียนต ้องตัดสินใจเลือกซือคอมพิวเตอร์ทเหมาะสม โดยตัวเลือกที ี สําคัญทีสุดคือ การตัดสินใจว่าจะเลือกใช ้คอมพิวเตอร์แบบตังโต๊ะหรือแบบพกพา ซึงส่วนใหญ่จะเลือกคอมพิวเตอร์ ตังโต๊ะเนืองจากราคาตํากว่า อย่างไรก็ตามในพืนทีห่างไกลทีกระแสไฟฟ้ ามีปัญหา การใช ้คอมพิวเตอร์แบบพกพา ถือเป็ นทางเลือกทีดีกว่า 3.1.2 อุปกรณ์ตอพ่วงอืน ๆ ่ อุปกรณ์ตอพ่วงอืน ๆ ไม่ถอเป็ นส่วนหนึงของระบบคอมพิวเตอร์ อาจหมายรวมถึง: ่ ื เครืองปรินเตอร์ ่ ั ั อุปกรณ์ตอพ่วงทีมีความสําคัญทีสุด คือ เครืองปรินเตอร์ ในปั จจุบนมีเครืองปรินเตอร์แบบมัลติฟังค์ชนทีสามารถ เป็ นทังเครืองปรินเตอร์ แฟกซ์ ถ่ายเอกสารและสแกนเนอร์ได ้ในเครืองเดียวกัน อย่างไรก็ตามราคาของเครืองปริน ั เตอร์แบบมัลติฟังค์ชนค่อนข ้างสูง แต่ถ ้าเปรียบเทียบกับการซืออุปกรณ์ตอพ่วงทังหมดก็ถอว่าถูกกว่า ่ ื Page 2
  • 3. โมเดม ฮับและอุปกรณ์สําหรับการเชือมต่ออินเตอร์เน็ ต การใช ้อุปกรณ์เสริมหลังจากเชือมต่ออินเตอร์เน็ ตแล ้วจะมีความแตกต่างกันไป ตามระบบการเชือมต่อทีต่างกัน ได ้แก่: กล ้องเวบแคม – ถือเป็ นอุปกรณ์ตอพ่วงทีสําคัญทีใช ้ในศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนมากทีสุด เนืองจากการถ่ายภาพ ่ ดิจตอลเป็ นสิงทีชุมชนในพืนทีห่างไกลต ้องการมาก การมีเทคโนโลยีสมัยใหม่นี ทําให ้การถ่ายภาพและการ ิ บันทึกภาพแบบดิจตอลมีราคาถูกลง รวมทังการใช ้งานทีง่ายขึน อย่างไรก็ตามเทคโนโลยีนีก็มการแข่งขันกัน ิ ี ค่อนข ้างสูง ตามระดับผู ้เรียนภาพทีแตกต่างกัน กล ้องบันทึกภาพแบบดิจตอลเป็ นอุปกรณ์สําคัญในกิจกรรมด ้านการ ิ พัฒนาต่าง ๆ และการใช ้เทคโนโลยีนต ้องอาศัยการเชือมต่ออินเตอร์เน็ ตด ้วย ี อุปกรณ์จ ัดเก็บข้อมูล ไดร์ฟปากกา ไดร์ฟปากกาเป็ นอุปกรณ์ทช่วยอํานวยความสะดวกในการจัดเก็บข ้อมูลขนาดเล็ก โดยศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ี บางแห่งจัดไดร์ฟประเภทนีไว ้บริการ นอกจากนีผู ้เรียนสามารถแจ ้งผู ้ใช ้บริการศูนย์ฯ ว่า พวกเขาอาจนํ าไดร์ฟมาเอง ก็ได ้ ซึงในการนีผู ้เรียนอาจทําสัญญากับร ้านจําหน่ายอุปกรณ์จัดเก็บข ้อมูลเพือจําหน่ายอุปกรณ์ในราคาถูกแก่ ผู ้ใช ้บริการได ้ ฮาร์ดไดร์ฟแยก – คอมพิวเตอร์สวนใหญ่มฮาร์ดไดร์ฟทีใช ้ในการเก็บข ้อมูลจากโปรแกรมต่าง ๆ อยูแล ้ว อย่างไรก็ ่ ี ่ ตาม ถ ้าผู ้เรียนต ้องการเสริมความสามารถให ้กับคอมพิวเตอร์ ผู ้เรียนสามารถใช ้ฮาร์ดไดร์ฟแยกเชือมต่อกับ คอมพิวเตอร์ได ้ เพือเป็ นการป้ องกันข ้อมูลสูญหาย รวมทังยังสามารถลอกความจําจากโปรแกรมต่าง ๆ เก็บไว ้ใน ฮาร์ดไดร์ฟแยกได ้ด ้วย คําถาม 3.1 1. อธิบายความหมายของฮาร์ดแวร์ ความยาวไม่เกิน 2 บรรทัด _______________________________________________________________ _______________________________________________________________ 2. บอกชืออุปกรณ์ตอพ่วง 3 ชนิดทีสามารถนํ ามาใช ้ภายในศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนได ้ ่ ι.______________________ ιι.______________________ ιιι.______________________ ιϖ. 3.2 ซอร์ฟแวร์ 3.2.1 ระบบปฏิบ ัติการ ซอร์ฟแวร์ทมักใช ้ภายในศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนมักจะเป็ นโปรแกรมวินโดว์ลขสิทธิหรือไม่ก็โปรแกรมฟรี (FOSS) ี ิ ทังนีลักษณะของซอร์ฟแวร์จะขึนอยู่กบลักษณะของคอมพิวเตอร์ด ้วย ั Page 3
  • 4. ซอร์ฟแวร์ลขสิทธิ เป็ นซอร์ฟแวร์ทมีราคาแพงและมีการระบุผู ้ใช ้อย่างเฉพาะเจาะจง อย่างไรก็ตาม ซอร์ฟแวร์ ิ ี ประเภทนีสะดวกต่อการบํารุงรักษาและมักจะเสนอทางแก ้ปั ญหาการใช ้งานอย่างมีประสิทธิภาพไว ้ด ้วยเสมอ ซอร์ฟแวร์ฟรี จะมีราคาถูกกว่า และสามารถตอบสนองความต ้องการของคอมพิวเตอร์ได ้ในระดับหนึง อย่างไรก็ด ี ระบบการปฏิบตการไม่มประสิทธิภาพเหมือนซอร์ฟแวร์ลขสิทธิ ดังนันจึงต ้องใช ้เวลาสําหรับแก ้ปั ญหาการใช ้งานใน ั ิ ี ิ บางครัง ซึงอาจหมายถึงการเสียผลประโยชน์บางอย่างตามมาด ้วย ตัวเลือกระหว่างซอร์ฟแวร์ลขสิทธิและซอร์ฟแวร์ฟรีจะขึนอยูกับงบประมาณและระดับการสนั บสนุนทางเทคนิคทีมี ิ ่ อยู่ ความจําเป็ นของผู ้ใช ้บริการศูนย์ฯ และนโยบายของภาครัฐ ในการนีผู ้เรียนอาจจะปรึกษาผู ้เชียวชาญด ้าน คอมพิวเตอร์เพือเลือกซอร์ฟแวร์ทเหมาะสมทีสุด ี ซอร์ฟแวร์ทถือว่าเหมาะสมทีสุดสําหรับการใช ้งานภายในศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน ควรจะมีโปรแกรมทีจําเป็ น เช่น ี โปรแกรมพิมพ์งาน โปรแกรมนํ าเสนอ การจัดการและรับส่งอีเมล์ รวมทังโปรแกรมคํานวณต่าง ๆ 3.2.2 ซอร์ฟแวร์พนฐานสําหร ับการใชงานสําน ักงาน ื ้ โดยทัวไปแล ้วซอร์ฟแวร์ทเหมาะสมสําหรับการใช ้งานสํานักงาน (เช่น โปรแกรมไมโครซอฟหรือโปรแกรม Open ี Office) โดยทัวไปแล ้ว มักจะรวมโปรแกรมเหล่านีเข ้าไปด ้วย: 1. โปรแกรมพิมพ์งาน โปรแกรมนีมีประโยชน์สาหรับการพิมพ์จดหมาย คูมอและเอกสารต่าง ๆ โดยลักษณะการใช ้งานก็ไม่แตกต่างจาก ํ ่ ื การพิมพ์ดดมากนั ก โปรแกรมนียังทําให ้ผู ้ใช ้งานสามารถเพิมรูปภาพและภาพเคลือนไหวเข ้าไปได ้ด ้วย ซึง ี โปรแกรมทัวไปทีนิยมใช ้ ได ้แก่ โปรแกรม Word และ Writer โปรแกรมพิมพ์งานนียังมีประโยชน์สําหรับการพัฒนา เอกสารคูมอสําหรับการจัดอบรมต่าง ๆ ด ้วย แช่น การบันทึกข ้อมูลและการจัดทําเอกสารเพือประเมินผล รวมทังการ ่ ื บันทึกข ้อมูลด ้านกลยุทธ์การตลาดและแผนความก ้าวหน ้าของศูนย์ฯ ด ้วย 2. โปรแกรมคํานวณ ํ โปรแกรมนีมีประโยชน์สาหรับการบริหารจัดการโดยเฉพาะด ้านการเงินของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน เช่น การทํา บัญชีรับจ่าย รายละเอียดงบประมาณ และการระดมทุน โปรแกรมนียังสามารถคํานวณทางคณิตศาสตร์และการ จัดการบัญชีให ้มีความง่ายมากขึน โปรแกรมนีสามารถใช ้งานได ้ผ่านโปรแกรม Excel 3. โปรแกรมจ ัดทําประกาศและการนําเสนอ โปรแกรมนีมีประโยชน์ในการจัดการอบรมและทําการตลาดของศูนย์ฯ โดยจะช่วยในการจัดทําแผ่นพับ ป้ ายประกาศ และคูมอทีสามารถใช ้สําหรับการโฆษณากิจกรรมต่าง ๆ ของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน รวมทังการจัดบริการสําหรับ ่ ื ชุมชนได ้ด ้วย คําถาม 3.2 1. เขียนระบบปฏิบตการทีมีความเหมาะสมสําหรับศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนมากทีสุด 3 ประเภท ั ิ ι.__________________________ Page 4
  • 5. ιι.__________________________ ιιι.__________________________ ιϖ. 3.3 อินเตอร์เน็ ตและการเชือมต่ออินเตอร์เน็ ต นอกจากความรู ้เรืองฮาร์ดแวร์และซอร์ฟแวร์ ผู ้เรียนยังจําเป็ นจะต ้องมีความเข ้าใจเกียวกับอินเตอร์เน็ ตและการ เชือมต่ออินเตอร์เน็ ต ในทันทีทผู ้เรียนเชือมต่ออินเตอร์เน็ ต ผู ้เรียนจําเป็ นจะต ้องเข ้าใจในประเด็นต่าง ๆ ต่อไปนี ี 3.3.1 ประเภทของการเชือมต่ออินเตอร์เน็ ต เทคโนโลยีการเชือมต่ออินเตอร์เน็ ตโดยทัวไปใช ้หลักการคล ้าย ๆ กัน กล่าวคือ ศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนจะ เชือมต่ออินเตอร์เน็ ตความเร็วสูงผ่านระบบให ้บริการอินเตอร์เน็ ต อย่างไรก็ตาม การให ้บริการอินเตอร์เน็ ตมักจะถูก จํากัดในพืนทีห่างไกล ดังนันศูนย์ฯ ทีตังอยูในพืนทีห่างไกลควรจะมองหาทางเลือกในการเชือมต่ออินเตอร์เน็ ต ่ รูปแบบอืนเอาไว ้บ ้าง ั โทรศพท์ เทคโนโลยีอนเตอร์เน็ ตในปั จจุบนต่างก็มงเน ้นทีราคาถูกและบริการอันหลากหลาย (เช่น การใช ้อินเตอร์เน็ ตผ่าน ิ ั ุ่ สายโทรศัพท์) ในพืนทีทีไม่มการติดตังสายสัญญาณโทรศัพท์ หรือพืนทีทีห่างไปไม่เกิน 20 กิโลเมตร สามารถใช ้ ี ระบบอินเตอร์เน็ ตไร ้สายเชือมต่อสัญญาณอินเตอร์เน็ ตทีอยูใกล ้ทีสุดได ้ ่ ดาวเทียม ในพืนทีทีอยูหางไกลออกไปซึงไม่มการติดตังสายสัญญาณโทรศัพท์ สัญญาณดาวเทียมถือเป็ นตัวเลือกทีดีทสุด ่ ่ ี ี โดยการเชือต่อสัญญาณดาวเทียมจะช่วยทําให ้การเข ้าถึงอินเตอร์เน็ ตในพืนทีห่างไกลมีความเป็ นไปได ้มากขึน อย่างไรก็ตามในบางประเทศยังมีประเด็นการจดลิขสิทธิ รวมทังฮาร์ดแวร์ทมีราคาสูงเมือเทียบกับระบบอืน ๆ ทีใช ้ ี กันทัวไป การเชือมต่อเครือข่ายดาวเทียมยังต ้องการจานดาวเทียมขนาดเล็กเพือรับส่งข ้อมูลด ้วย เป็ นเหมือนตัวเชือมประสาน ระหว่างสัญญาณดาวเทียมและคอมพิวเตอร์ภายในศูนย์ฯ นอกจากนียังต ้องมีโมเดมดาวเทียมทีเชือมต่อกับ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ภายในศูนย์ฯ ด ้วย ั โทรศพท์มอถือ ื โทรศัพท์มอถือเริมมีบทบาทในการใช ้เป็ นเครืองมือเชือมต่อสัญญาณอินเตอร์เน็ ตมากขึนทุกขณะ โดยจะเป็ นการ ื เชือมต่อผ่านการ์ดความจํา ซึงมีความสะดวกสบายมาก ใช ้กันมากในพืนทีเล็ก ๆ ทีไม่มบริการโทรศัพท์พนฐาน การ ี ื ใช ้งานอินเตอร์เน็ ตบนมือถือเป็ นอีกทางเลือกหนึงของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน โดยเฉพาะในปั จจุบนทีการเชือม ั งานอินเตอร์เน็ ตเคลือนทีได ้รับความนิยมมากขึน เทคโนโลยีไร้สาย Wifi เป็ นเทคโนโลยีไร ้สายทีให ้บริการเชือมต่ออินเตอร์เน็ ตในราคาถูก ในเมืองใหญ่จะมีผู ้ให ้บริการอินเตอร์เน็ ตเปิ ด บริการ Wifi ให ้กับกลุมผู ้ใช ้งานจํานวนมาก นอกจากนียังมีระบบ Wimax ทีเป็ นเครืองมือเพิมประสิทธิภาพการ ่ Page 5
  • 6. เข ้าถึงอินเตอร์เน็ ตแบบไร ้สายให ้กับกลุมผู ้ใช ้งานด ้วย เช่น การส่งสัญญาณผ่านสายเคเบิลทีมีอตราค่าบริการถูกกว่า ่ ั เมือก่อนมาก 3.3.2 โอกาสจากการเข้าถึงอินเตอร์เน็ ต อินเตอร์เน็ ตเป็ นระบบเครือข่ายทีเชือมคอมพิวเตอร์ทัวโลกเพือการรับส่งข ้อมูลและการสือสารระหว่างกัน ภายใน ศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน อินเตอร์เน็ ตจะถูกจัดตังไว ้ทีส่วนกลาง แต่ก็อนุญาตให ้ผู ้ใช ้สามารถรับส่งข ้อมูลระหว่าง กันได ้อย่างเป็ นส่วนตัว การใช ้งานอินเตอร์เน็ ตยังรวมทังการใช ้อีเมล์ เวปไซด์ ห ้องสนทนา ระบบข่าวสารและอืน ๆ ในฐานะผู ้ดูแลศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน อินเตอร์เน็ ตมีประโยชน์ในหลายด ้าน ได ้แก่: 1. การเข ้าถึงข ้อมูลและเวปไซด์ รวมทังบริการต่าง ๆ ทีช่วยส่งเสริมการทํางานและกิจกรรมของศูนย์ฯ ซึงจะเป็ น ประโยชน์ในระยะยาวแก่ชมชน ุ 2. การเปิ ดโอกาสด ้านการประสานงานและการสือสารระหว่างประชาชนและกลุมผู ้เชียวชาญทีอยูในพืนทีห่างไกล ่ ่ กัน 3. การเพิมโอกาสในการเข ้าถึงข ้อมูลเพือยกระดับผู ้เรียนภาพชีวตของประชาชน เช่น การประชาสัมพันธ์เพือกําจัด ิ ยุงลายอันเป็ นพาหะนํ าโรคแก่ชมชน เป็ นต ้น ุ 4. การเพิมประสิทธิภาพการติดต่อสือสารเพือดําเนินกิจกรรมของชุมชน 3.3.3 การเชือมต่ออินเตอร์เน็ ตและการเลือกผูให้บริการอินเตอร์เน็ ต ้ ดังเช่นทีกล่าวไปแล ้วข ้างต ้น การเชือมต่ออินเตอร์เน็ ตมักจะทําได ้โดยผ่านหน่วยงานหรือบริษัทให ้บริการ อินเตอร์เน็ ต อุปกรณ์สําหร ับการเชือมต่ออินเตอร์เน็ ต อุปกรณ์สําคัญสําหรับการเชือมต่อและรับส่งข ้อมูลผ่านระบบอินเตอร์เน็ ตมี 2 ประการ ได ้แก่ คอมพิวเตอร์และโม เดม โมเดมเป็ นอุปกรณ์ทเชือมระหว่างคอมพิวเตอร์และสายโทรศัพท์ ทําหน ้าทีในการเปิ ดรับส่งข ้อมูลระหว่าง ี คอมพิวเตอร์ผ่านสายโทรศัพท์ ในพืนทีทีการให ้บริการโทรศัพท์พนฐานยังเข ้าไปไม่ถง อาจใช ้โมเดมเชือมต่อกับ ื ึ สัญญาณดาวเทียมหรือคลืนวิทยุแทนได ้ อย่างไรก็ตาม ดังเช่นทีให ้ข ้อมูลไปแล ้วว่า การเชือมต่อผ่านระบบ ดาวเทียมเป็ นตัวเลือกทีมีราคาสูง การประเมินและการเปรียบเทียบผูให้บริการอินเตอร์เน็ ต มีปัจจัยบางประการทีต ้องคํานึงถึงเมือต ้องการเลือกใช ้งานจากกลุมผู ้ให ้บริการอินเตอร์เน็ ต ได ้แก่: ่ • ราคาอุปกรณ์: โมเดมมีราคาเท่าไร การติดตังสัญญาณโทรศัพท์มคาใช ้จ่ายหรือไม่ อย่างไร ี ่ • ความเร็ วของโมเดม: การเชือมต่อโมเดมมีความเร็วเท่าไร และควรซือโมเดมทีมีความเร็วระดับใด Page 6
  • 7. ซอร์ฟแวร์: ผู ้ให ้บริการอินเตอร์เน็ ตมีโปรแกรมเริมต ้นการใช ้งานให ้หรือไม่ แล ้วจะโหลดโปรแกรม ดังกล่าวได ้อย่างไร • ค่าบริการ: ค่าบริการคิดเป็ นรายเดือน รายปี หรือรายชัวโมง มีอเมล์จํานวนเท่าไรทีจัดไว ้บริการ มีพนทีเวป ี ื ไซด์บริการฟรีหรือไม่ การเปิ ดพืนทีเวปไซด์เพิมเติมมีอัตราค่าบริการเท่าไร • ั ค่าบริการโทรศพท์พนฐาน: ชําระค่าบริการโทรศัพท์พนฐานจะแยกจากค่าบริการอินเตอร์เน็ ตหรือไม่ ื ื • การบริการ: จะติดต่อผูให ้บริการอินเตอร์เน็ ตได ้อย่างไรเมือมีปัญหาเกียวกับการใช ้งาน • ประสบการณ์และชือเสียงด้านการให้บริการ: ลูกค ้ารายอืน ๆ ทีใช ้อินเตอร์เน็ ตจากผู ้ให ้บริการรายนีมี ความคิดเห็นต่อการบริการอย่างไร เจ ้าหน ้าทีบริการลูกค ้ามีความน่าเชือถือหรือไม่ อย่างไร • เวลาดําเนินธุรกิจ: ผู ้ให ้บริการอินเตอร์เน็ ตรายนีเปิ ดกิจการมานานแล ้วหรือไม่ หากเป็ นไปได ้ ควรสอบถามเพือน เพือนร่วมงานและธุรกิจอืน ๆ ในชุมชนทีใช ้บริการอินเตอร์เน็ ตจากบริษัทอืน ๆ 3.3.4 อีเมล์ อีเมล์ (จดหมายอิเล็กทรอนิกส์) เป็ นเครืองมือในการติดต่อสือสารอิเล็กทรอนิกส์ทพืนฐานทีสุด โดยเปิ ดโอกาสให ้ ี ผู ้ใช ้บริการสามารถรับส่งข ้อความได ้ผ่านระบบอินเตอร์เน็ ต ข ้อความในอีเมล์สวนมากเป็ นตัวอักษร อย่างไรก็ตาม ่ อีเมล์บางระบบยังมีระบบฐานข ้อมูลทางการเงิน การส่งรูปภาพและเสียงด ้วย อีเมล์สามารถรับส่งระหว่างบุคคลและภายในกลุมได ้ในเวลาเดียวกัน โดยการรับส่งผ่านระบบอีเมล์มประโยชน์หลาย ่ ี ประการ ดังนี: • ได ้รับคําตอบอย่างรวดเร็ว • ส่งข ้อความหาบุคคลหรือกลุมได ้ในเวลาเดียวกัน ่ • ราคาถูก • การแลกเปลียนข ้อความสามารถทําได ้แม ้จะมีความแตกต่างด ้านช่วงเวลา • การแลกเปลียนข ้อมูลมีความรวดเร็ว สามารถเชือมความสัมพันธ์ระหว่างกันได ้ง่ายขึน • ประหยัดเวลาและค่าใช ้จ่ายเมือเทียบกับการส่งจดหมายทัวไป • สามารถเก็บข ้อมูลไว ้ในคอมพิวเตอร์เพืออ ้างอิงได ้ในภายหลัง • สามารถเข ้าร่วมการสนทนากลุมได ้ ่ ความเข้าใจเรืองทีอยูอเมล์ ่ ี ทีอยูสําหรับส่งอีเมล์ไม่แตกต่างจากทีอยู่สาหรับการส่งจดหมายทัวไป โดยทีอยู่อเมล์จะต ้องระบุชอโดเมนหรือผู ้ ่ ํ ี ื ให ้บริการอีเมล์ จากนันก็จะมีตัวย่อชือประเทศหรือโดเมนอีกตัว เช่น user@yourisp.org.in ้ ี มารยาทในการใชอเมล์ การใช ้อีเมล์ก็ไม่ตางจากการสือสารประเภทอืน ๆ ทีจะต ้องมีมารยาทในการสือสารระหว่างกัน อินเตอร์เน็ ตเปิ ด ่ โอกาสให ้การสือสารข ้ามประเทศทําได ้ง่ายขึน ซึงอาจจะมีปัจจัยความแตกต่างทางวัฒนธรรมด ้วย ต่อไปนีเป็ น ปั จจัยบางประการทีควรต ้องคํานึงถึงเมือใช ้อีเมล์: • ความยาวของข้อความ: ควรจะสันและได ้ใจความ • การตอบข้อความ: เมือตอบข ้อความ ควรกล่าวถึงหัวข ้อทีต ้องการจะเขียนตอบซํา เพือให ้ผู ้รับทราบว่า กําลังเขียนเรืองอะไรอยู่ Page 7
  • 8. ห ัวข้อ: ควรเขียนหัวข ้ออีเมล์ทชัดเจนเสมอ เพือให ้ผู ้รับเข ้าใจและเปิ ดอ่าน ี • การเขียนอ ักษรต ัวใหญ่: หลีกเลียงการเขียนอักษรตัวใหญ่ เพราะในโลกอินเตอร์เน็ ต การเขียนลักษณะ นีไม่ตางจากการตะโกนหรือส่งเสียงดังใส่ผู ้รับ นอกจากนียังทําให ้อ่านยากด ้วย ่ • ื ข้อมูลติดต่อ: ควรระบุชอทีด ้านล่างข ้อความ รวมทังข ้อมูลสําหรับติดต่ออืน ๆ เช่น ชือบริษัท ตําแหน่ง ที อยูและเบอร์โทรศัพท์ เป็ นต ้น ่ • ความอ่อนไหวทางว ัฒนธรรม: คิดถึงผู ้รับว่า บางครังเขาอาจจะไม่เข ้าใจหากผู ้เรียนอ ้างถึงรายการ โทรทัศน์ กีฬา วัฒนธรรมป๊ อป หรือสถานการณ์ปัจจุบนในประเทศของผู ้เรียน ควรจะต ้องมีคําอธิบาย ั สําหรับสิงทีอาจจะส่งผลกระทบทางวัฒนธรรมของผู ้รับไว ้ด ้วยเสมอ • การส่งต่อข้อความ: คิดก่อนทีจะส่งต่อข ้อความไปยังบุคคลอืน โดยเฉพาะอย่างยิงอีเมล์ทมีรูปภาพหรือ ี ภาพเคลือนไหวอยู่ เนืองจากจะทําให ้ขนาดข ้อความใหญ่ขนและใช ้เวลาในการส่งนานขึน ึ • การเขียนข้อความ: คิดก่อนเขียนข ้อความเสมอว่าผู ้เรียนต ้องการเขียนอะไรกันแน่ และจะถ่ายทอดสิงที ต ้องการเขียนนันอย่างไร อ่านข ้อความทังหมดก่อนทีจะส่ง หากผู ้เรียนยังไม่ได ้อ่านหรืออ่านแล ้วพบว่ามีสง ิ ทีไม่ถูกต ้อง ให ้เก็บข ้อความนั นไว ้ในกล่องร่างข ้อความก่อน แล ้วเปิ ดอ่านอีกครังในภายหลัง • ล ักษณะข้อความ: ส่งข ้อความทีผู ้เรียนคิดว่าอยากได ้รับจากคนอืน ถ ้าผู ้เรียนคิดว่าผู ้รับอาจจะรู ้สึกไม่ดตอ ี ่ ข ้อความนัน อย่าส่งไป หากผู ้เรียนได ้รับข ้อความทีไม่พงประสงค์ รอจนกว่าจะพ ้น 24 ชัวโมงจึงตอบ ึ ข ้อความนัน เพือให ้อารมณ์เย็นลงและส่งข ้อความทีเป็ นเหตุเป็ นผลมากขึน • ล ักษณะการเขียน: อย่าเขียนข ้อความทีหยาบคาย หรือตลกเสียดสี เพราะการส่งข ้อความทํานองนันโดย ผู ้ส่งและผู ้รับไม่เห็นหน ้ากัน อาจทําให ้เกิดความเข ้าใจผิดและเสียความรู ้สึกต่อกันได ้ • เวลาจําก ัด: ถ ้าผู ้เรียนจําเป็ นต ้องตอบข ้อความทังทีไม่มเวลา เพียงเขียนข ้อความสัน ๆ แสดงการรับรู ้และ ี ให ้คํามันว่าจะตอบข ้อความอีกครังเมือมีเวลา รายชือเมล์ รายชือเมล์เป็ นทางหนึงในการติดต่อกับบุคคลจํานวนมาก โดยจะมีการใช ้ชือทีแตกต่างกันไป เช่น รายชือเมล์ รายชืออิเล็กทรอนิกส์ รายชือเมล์ทางอินเตอร์เน็ ต กลุมผู ้รับ กลุมสนทนาและกลุมประชุม ่ ่ ่ รายชือเมล์เป็ นเครืองมืออิเล็กทรอนิกส์ทช่วยให ้ติดต่อผ่านกลุมบุคคลจํานวนมาก ทําให ้เกิดการรับส่งข ้อความและ ี ่ แลกเปลียนข ้อมูลระหว่างกัน มีหลายประเภท ดังนี: • รายชือเมล์ทางเดียวสําหรับส่งจดหมายข่าวและประกาศต่าง ๆ • ่ รายชือเมล์สองทางสําหรับสนทนาในประเด็นสําคัญ ๆ ระหว่างผู ้มีสวนเกียวข ้อง โดยมากจะเป็ นประเด็น สาธารณะทีทุกคนในรายการชือสามารถเปิ ดอ่านได ้ • ่ รายชือเมล์สวนตัวทีเป็ นกลุมบุคคลกลุมเล็ก ๆ สําหรับเชิญเข ้าร่วมกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึงเท่านัน ่ ่ หน่วยงานหลายแห่งและผู ้ใช ้หลายรายเปิ ดการใช ้งานรายชือเมล์เพือสนทนาต่อสาธารณะในประเด็นต่าง ๆ ผู ้เรียน เองก็สามารถเปิ ดรายชือเมล์ทมีหัวข ้อเกียวข ้องกับการบริหารงานของศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนได ้ ี Page 8
  • 9. คําถาม 3.3 1. เขียนวิธททําให ้การเชือมต่ออินเตอร์เน็ ตมีประสิทธิภาพ 3 วิธ ี ี ี ι ___________________________ ιι ___________________________ ιιι ___________________________ 2. อธิบายความหมายของอินเตอร์เน็ ต ความยาวไม่เกิน 3 บรรทัด ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ 3. เขียนมารยาทการใช ้อีเมล์ 3 ประการ i.__________________ ii.__________________ iii.__________________ 3.4 กระแสไฟฟา ้ อุปกรณ์สารสนเทศและระบบทังหมดขึนอยู่กบกระแสไฟฟ้ า อย่างไรก็ตาม บางครังการจ่ายกระแสไฟฟ้ าก็ไม่ม ี ั เสถียรภาพในบางพืนที แม ้ว่าการจ่ายกระแสไฟฟ้ าเป็ นหน ้าทีหนึงของรัฐทีจะต ้องจัดบริการประชาชนด ้วยอัตราค่าบริการทีไม่แพงนั ก แต่ใน หลายพืนที กระแสไฟฟ้ าไม่สามารถเข ้าถึงหรือยังไม่มเสถียรภาพเท่าทีควร โดยเฉพาะในพืนทีห่างไกล ซึงอาจ ี หมายถึงพืนทีทีศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนทีผู ้เรียนดูแลตังอยู่ ดังนันผู ้เรียนจึงจําเป็ นต ้องคํานึงถึงการจ่าย กระแสไฟฟ้ าทีมันคงเพือหลีกเลียงปั ญหาอันจะเกิดจากไฟฟ้ าขัดข ้อง ไฟฟาสํารอง ้ อาจจะอยูในรูปของเครืองปั นไฟ แบตเตอรีหรือพลังงานแสงอาทิตย์ ่ การใช ้พลังงานแสงอาทิตย์จําเป็ นต ้องใช ้แผ่นผลิตพลังงานแสงอาทิตย์ซงมีราคาแพง แต่ใช ้ได ้ในระยะยาว ึ นอกจากนีพลังงานทางเลือกอย่างพลังงานนํ าและพลังงานลมก็สามารถนํ ามาใช ้เป็ นพลังงานสํารองได ้ หากอยูใน่ พืนทีทีมีลมแรงและมีพลังงานนํ าเพียงพอ พลังงานไฟฟ้ าสํารองเหล่านีจะช่วยให ้การใช ้งานสือสารสนเทศไม่สะดุด แม ้จะเกิดไฟฟ้ าขัดข ้องก็ตาม เมือมีแหล่งพลังงานสํารองเหล่านีแล ้ว ปริมาณการใช ้งานกระแสไฟฟ้ าจากส่วนกลางก็มแนวโน ้มลดลง ยกตัวอย่าง ี เช่น คอมพิวเตอร์พกพาจะใช ้พลังงานไฟฟ้ าน ้อยกว่าคอมพิวเตอร์แบบตังโต๊ะ แม ้ว่าคอมพิวเตอร์แบบพกพาจะมี ราคาแพงกว่า นอกจากนีพลังงานแสงอาทิตย์ยังสามารถรองรับการใช ้งานจากคอมพิวเตอร์พกพาได ้จํานวนมากกว่า คอมพิวเตอร์ตงโต๊ะด ้วย ั Page 9
  • 10. ในฤดูฝนหรือช่วงทีมีพายุเข ้า ผู ้เรียนสามารถปกป้ องเครืองคอมพิวเตอร์และโมเดมของผู ้เรียนจากปั ญหาไฟตกได ้ ด ้วยเครืองป้ องกันทีผลิตขึนโดยเฉพาะ บทสรุปย่อ ในหน่วยนี ผู ้เรียนได ้เรียนรู ้เกียวกับอุปกรณ์อเล็กทรอนิกส์ในศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชน โดยเฉพาะฮาร์ดแวร์ ิ ซอร์ฟแวร์ คอมพิวเตอร์และการเชือมต่ออินเตอร์เน็ ต ในประเด็นสําคัญต่อไปนี: • การมีฮาร์ดแวร์และซอร์ฟแวร์ทเหมาะสมเป็ นสิงจําเป็ นทีจะทําให ้ศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนประสบ ี ความสําเร็จ • เป็ นเรืองดีหากการลงทุนในอุปกรณ์ดงกล่าวไม่สงนัก แต่ได ้มาซึงผลิตภัณฑ์ทมีผู ้เรียนภาพ ั ู ี • ซอร์ฟแวร์มประโยชน์อย่างมากต่อการใช ้งานวันต่อวันภายในศูนย์ฯ รวมทังการใช ้งานของผู ้ใช ้บริการ ี ศูนย์ฯ ด ้วย • การลงทุนในฮาร์ดแวร์ ซอร์ฟแวร์และอุปกรณ์ตอพ่วงต่าง ๆ จะช่วยเสริมศักยภาพให ้กับศูนย์การเรียนรู ้ ่ ICT ชุมชนในทีสุด • การเชือมต่ออินเตอร์เน็ ตเป็ นเรืองจําเป็ นเพือประสิทธิภาพการดําเนินงานของศูนย์ฯ • การสือสารทางอินเตอร์เน็ ตทําให ้เรียนรู ้และเข ้าใจความแตกต่างทางภาษาและวัฒนธรรม • การสือสารผ่านอินเตอร์เน็ ตทําให ้เรียนรู ้ว่าอะไรควรทํา และอะไรไม่ควรทํา การประเมินผล จัดทําการนํ าเสนอเรืองศูนย์การเรียนรู ้ ICT ชุมชนในอุดมคติของผู ้เรียน ในหัวข ้อต่อไปนี: 1. ฮาร์ดแวร์ 2. ซอร์ฟแวร์ 3. ผู ้ให ้บริการอินเตอร์เน็ ต 4. เครืองปรินเตอร์ เครืองสแกนเนอร์ เครืองถ่ายเอกสาร 5. กล ้องถ่ายภาพและกล ้องบันทึกภาพแบบดิจตอล ิ 6. ประเด็นอืน ๆ ทีผู ้เรียนคิดว่าควรนํ าเสนอ ประเมินราคาของอุปกรณ์เหล่านีและตังงบประมาณจัดซือ ซึงอาจจะเพิมสิงใด ๆ ทีคิดว่าเกียวข ้องกับการจัดตังศูนย์ การเรียนรู ้ ICT ชุมชนเพิมเติมด ้วยก็ได ้ การนํ าเสนออาจมีรายละเอียดดังนี: 1. การนํ าเสนอผ่านเทปบันทึกเสียง CD หรือ PowerPoint ความยาว 5 – 7 นาที 2. การนํ าเสนอผ่านเทปบันทึกภาพ (5 นาที) 3. การเขียนเรียงความ (1 หน ้ากระดาษ A4) 4. การวาดภาพ 5. การเขียนบทประพันธ์ 6. การนํ าเสนอผ่านรูปภาพประมาณ 10 ใบพร ้อมคําอธิบายใต ้ภาพ Page 10
  • 11. รายการอ้างอิง 1. Harris, Roger (2007), “A Framework for Designing Telecentres”, Roger Harris Associates: Hong Kong, URL: http://www.unapcict.org/ecohub/resources/a-framework-for-designing- telecentres 2. Wikipedia definition and concepts (www.wikipedia.org) Page 11