SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  2
Télécharger pour lire hors ligne
เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
โปรแกรม Microsoft Excel 2007

การแก้ไขข้อผิดพลาดจากการคานวณ
การแก้ปัญหาข้อผิดพลาดจากการคานวณ
จากการที่สร้างสูตรเสร็จแล้ว เวลาที่ทาสูตรผิดจะมีเครื่องหมายตกใจ (!) เช่น #VALUE! หรือ
#REF ความผิดพลาดต่าง ๆ ไม่ว่าจะเกิดขากการกาหนดตัวแปรในสูตรไม่ถูกต้อง หรืออาจจะมาจากสาเหตุอื่น
ๆ ก็ตาม โปรแกรม Excel ก็จะแสดงความผิดพลาดให้เห็นแต่บางครั้งการตรวจสอบสูตรที่ผิดพลาดก็มักทาได้
ยาก เพราะส่วนหนึ่งคือไม่รู้ว่าสูตรผิดพลาดเนื่องจากอะไร หรือผิดพลาดที่จุดไหน ดังนั้น ถ้าเรารู้จักการ
แก้ปัญหาหรือป้องกันให้เกิดความผิดพลาดจากการใช้สูตร ทาให้เราสามารถทางานได้เร็วขึ้น
ความผิดพลาด (Error) ที่เกิดขึ้นจากการสร้างสูตร
การสร้างสูตรที่ผิดพลาดจะไม่สามารถแสดงผลลัพธ์ได้ แต่ Excel จะแสดงค่าความผิดพลาดให้เห็น

การแก้ไขและตรวจสอบข้อผิดพลาดเบืองต้น
้
ปกติ Excel จะแก้ไขปัญหาสูตรผิดพลาดที่ธรรมดาที่สุดให้อัตโนมัติ เช่น เมื่อเราใส่สูตร
if(a1<=9,"a",if(a1<=20,"b", เมื่อกดปุ่ <Enter > โปรแกรม Excel จะขึ้นกล่องข้อความเตือน ซึ่งเกิดจาก
การใส่วงเล็บไม่ครบ

บางครั้งการแก้ไขสูตรอัตโนมัติไม่สามารถแก้ไขความผิดพลาดของสูตรได้ ดังนั้นเราจึงจาเป็นต้อง
ตรวจสอบความผิดพลาดเบื้องต้น โดยวิธีปฏิบัติดังนี้
ตรวจดูว่าวงเล็บทั้งหมดมีคู่โดยครบถ้วน ซึ่ง Excel จะแสดงวงเล็บแต่ละคู่เป็นสีที่แตกต่างกัน
การอ้างอิงช่วงเซลล์ต้องใช้เครื่องหมายจุดคู่ (:) คั่นกลางอ้างอิงระหว่างเซลล์แรและเซลล์สุดท้ายเสอม
เช่น A5:A10
.ใส่อาร์กิวเมนต์หรือค่าต่าง ๆ ที่จาเป็นในฟังก์ชันให้ครบ
ไม่ควรซ้อนฟังก์ชันเกินกว่า 7 ระดับ
ต้องใส่ชื่อของสมุดงานหรือชีทที่อ้างถึงไว้ในเครื่องหมายอัญประกาศเดี่ยว(') ทุกครั้งเมื่อมีการอ้างอิงชีท
อื่นในสมุดงานเดียวกันหรือสมุดงานอื่น
การจัดรูปแบบตัวเลขขณะป้อนสูตร จะทาให้สูตรผิดพลาดและไม่แสดงผล เช่น =$50
สูตรที่ต้องการให้แสดงเป็นข้อความต้องใส่เครื่องหมายอัญประกาศคู่ (" ") เสมอ เช่น ถ้าต้องการให้
เซลล์แสดงคาว่า B1 ต้องใส่สูตร =" B1" มิฉะนั้นสูตรจะหมายถึงการอ้างอิงเซลล์
โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา

1
เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
โปรแกรม Microsoft Excel 2007

การใช้ Trace Error เพื่อตรวจหาความผิดพลาด
เนื่องจากว่าค่าความผิดผลาดบางอย่างอาจจะไม่ได้เกิดขึ้นจากสูตร แต่เกิดจากการอ้างอิงเซลล์ที่ไม่
ถูกต้อง ซึ่งการหาสาเหตุของข้อผิดพลาดลักษณะนี้ทาได้ยาก แต่เราสามารถใช้เครื่องมือสาหรับช่วยค้นหา
ข้อผิดพลาดที่ Excel มีมาให้ คือ Trace Error (หรือ ตรวจสอบ) สมติว่าเกิดความผิดพลาด #DIV/0! ขึ้นที่
B3 เกิดจากการที่มีตัวหารเป็นช่องว่างหรือศูนย์ (0) ตรวจหาข้อผิดพลาดดังนี้
1. คลิกเลือกเซลล ์ที่แสดงค่าความผิดพลาด (B3)
2. คลิกเลือกคาสั่ง ตรวจสอบ ในเมนู สูตร

3. Excel จะแสดงข้อความอธิบายว่า เพราะ เหตุใดจึงเกิดข้อผิดพลาด

การใช้คาสั่งตรวจสอบ เป็นเพียงแค่ตัวช่วยในการตรวจหาความผิดพลาดว่าเกดขึ้นจากจุดใด แต่เรา
ควรศึกษาต่อด้วยว่าจะมีวิธีแก้ไขด้วยวิธีใด Excel จะแสดงค่าความผิดพลาดให้เราเห็นได้หลายแบบ ซึง
่
ขึ้นอยู่ว่าเกิดความผิดพลาดเนื่องจากอะไร โดยค่าความผิดพลาดแต่ละแบบ

โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา

2

Contenu connexe

En vedette

บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการบทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการkanidta vatanyoo
 
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excelแผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office ExcelKhon Kaen University
 
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิMeaw Sukee
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excelเอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน ExcelLerdrit Dangrathok
 

En vedette (20)

Lesson 6
Lesson 6Lesson 6
Lesson 6
 
Lesson 7
Lesson 7Lesson 7
Lesson 7
 
Lesson 22
Lesson 22Lesson 22
Lesson 22
 
Lesson 16
Lesson 16Lesson 16
Lesson 16
 
Lesson 10
Lesson 10Lesson 10
Lesson 10
 
Lesson 18
Lesson 18Lesson 18
Lesson 18
 
Lesson 15
Lesson 15Lesson 15
Lesson 15
 
Lesson 2
Lesson 2Lesson 2
Lesson 2
 
Lesson 3
Lesson 3Lesson 3
Lesson 3
 
Lesson 4
Lesson 4Lesson 4
Lesson 4
 
Lesson 11
Lesson 11Lesson 11
Lesson 11
 
Lesson 8
Lesson 8Lesson 8
Lesson 8
 
Microsoft excel 2007
Microsoft excel 2007Microsoft excel 2007
Microsoft excel 2007
 
Lesson 21
Lesson 21Lesson 21
Lesson 21
 
Microsoft Office Excel 2007
Microsoft Office Excel 2007Microsoft Office Excel 2007
Microsoft Office Excel 2007
 
Mou tablet
Mou tabletMou tablet
Mou tablet
 
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการบทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
บทที่ 1 เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
 
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excelแผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
 
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิใบงานที่ 10  การสร้างแผนภูมิ
ใบงานที่ 10 การสร้างแผนภูมิ
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excelเอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
 

Lesson 14

  • 1. เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โปรแกรม Microsoft Excel 2007 การแก้ไขข้อผิดพลาดจากการคานวณ การแก้ปัญหาข้อผิดพลาดจากการคานวณ จากการที่สร้างสูตรเสร็จแล้ว เวลาที่ทาสูตรผิดจะมีเครื่องหมายตกใจ (!) เช่น #VALUE! หรือ #REF ความผิดพลาดต่าง ๆ ไม่ว่าจะเกิดขากการกาหนดตัวแปรในสูตรไม่ถูกต้อง หรืออาจจะมาจากสาเหตุอื่น ๆ ก็ตาม โปรแกรม Excel ก็จะแสดงความผิดพลาดให้เห็นแต่บางครั้งการตรวจสอบสูตรที่ผิดพลาดก็มักทาได้ ยาก เพราะส่วนหนึ่งคือไม่รู้ว่าสูตรผิดพลาดเนื่องจากอะไร หรือผิดพลาดที่จุดไหน ดังนั้น ถ้าเรารู้จักการ แก้ปัญหาหรือป้องกันให้เกิดความผิดพลาดจากการใช้สูตร ทาให้เราสามารถทางานได้เร็วขึ้น ความผิดพลาด (Error) ที่เกิดขึ้นจากการสร้างสูตร การสร้างสูตรที่ผิดพลาดจะไม่สามารถแสดงผลลัพธ์ได้ แต่ Excel จะแสดงค่าความผิดพลาดให้เห็น การแก้ไขและตรวจสอบข้อผิดพลาดเบืองต้น ้ ปกติ Excel จะแก้ไขปัญหาสูตรผิดพลาดที่ธรรมดาที่สุดให้อัตโนมัติ เช่น เมื่อเราใส่สูตร if(a1<=9,"a",if(a1<=20,"b", เมื่อกดปุ่ <Enter > โปรแกรม Excel จะขึ้นกล่องข้อความเตือน ซึ่งเกิดจาก การใส่วงเล็บไม่ครบ บางครั้งการแก้ไขสูตรอัตโนมัติไม่สามารถแก้ไขความผิดพลาดของสูตรได้ ดังนั้นเราจึงจาเป็นต้อง ตรวจสอบความผิดพลาดเบื้องต้น โดยวิธีปฏิบัติดังนี้ ตรวจดูว่าวงเล็บทั้งหมดมีคู่โดยครบถ้วน ซึ่ง Excel จะแสดงวงเล็บแต่ละคู่เป็นสีที่แตกต่างกัน การอ้างอิงช่วงเซลล์ต้องใช้เครื่องหมายจุดคู่ (:) คั่นกลางอ้างอิงระหว่างเซลล์แรและเซลล์สุดท้ายเสอม เช่น A5:A10 .ใส่อาร์กิวเมนต์หรือค่าต่าง ๆ ที่จาเป็นในฟังก์ชันให้ครบ ไม่ควรซ้อนฟังก์ชันเกินกว่า 7 ระดับ ต้องใส่ชื่อของสมุดงานหรือชีทที่อ้างถึงไว้ในเครื่องหมายอัญประกาศเดี่ยว(') ทุกครั้งเมื่อมีการอ้างอิงชีท อื่นในสมุดงานเดียวกันหรือสมุดงานอื่น การจัดรูปแบบตัวเลขขณะป้อนสูตร จะทาให้สูตรผิดพลาดและไม่แสดงผล เช่น =$50 สูตรที่ต้องการให้แสดงเป็นข้อความต้องใส่เครื่องหมายอัญประกาศคู่ (" ") เสมอ เช่น ถ้าต้องการให้ เซลล์แสดงคาว่า B1 ต้องใส่สูตร =" B1" มิฉะนั้นสูตรจะหมายถึงการอ้างอิงเซลล์ โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา 1
  • 2. เอกสารประกอบการเรียน วิชาคอมพิวเตอร์ ง23203 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โปรแกรม Microsoft Excel 2007 การใช้ Trace Error เพื่อตรวจหาความผิดพลาด เนื่องจากว่าค่าความผิดผลาดบางอย่างอาจจะไม่ได้เกิดขึ้นจากสูตร แต่เกิดจากการอ้างอิงเซลล์ที่ไม่ ถูกต้อง ซึ่งการหาสาเหตุของข้อผิดพลาดลักษณะนี้ทาได้ยาก แต่เราสามารถใช้เครื่องมือสาหรับช่วยค้นหา ข้อผิดพลาดที่ Excel มีมาให้ คือ Trace Error (หรือ ตรวจสอบ) สมติว่าเกิดความผิดพลาด #DIV/0! ขึ้นที่ B3 เกิดจากการที่มีตัวหารเป็นช่องว่างหรือศูนย์ (0) ตรวจหาข้อผิดพลาดดังนี้ 1. คลิกเลือกเซลล ์ที่แสดงค่าความผิดพลาด (B3) 2. คลิกเลือกคาสั่ง ตรวจสอบ ในเมนู สูตร 3. Excel จะแสดงข้อความอธิบายว่า เพราะ เหตุใดจึงเกิดข้อผิดพลาด การใช้คาสั่งตรวจสอบ เป็นเพียงแค่ตัวช่วยในการตรวจหาความผิดพลาดว่าเกดขึ้นจากจุดใด แต่เรา ควรศึกษาต่อด้วยว่าจะมีวิธีแก้ไขด้วยวิธีใด Excel จะแสดงค่าความผิดพลาดให้เราเห็นได้หลายแบบ ซึง ่ ขึ้นอยู่ว่าเกิดความผิดพลาดเนื่องจากอะไร โดยค่าความผิดพลาดแต่ละแบบ โดย นายธนิต เยี่ยมรัมย์ ตาแหน่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนช้างบุญวิทยา 2