SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  23
Télécharger pour lire hors ligne
ใบงานที่ 8
           เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ ”

ความหมาย
โปรแกรมประยุกต์ หรื อ ซอฟต์แวร์ประยุกต์คือ แบ่งออกเป็ น
      1.ซอฟต์ แวร์ สำเร็จ เป็ นซอฟต์แวร์ที่บริ ษทพัฒนาขึ้น แล้วนาออกมา
                                                ั
จาหน่าย เพื่อให้ผใช้งานซื้อไปใช้ได้โดยตรง ไม่ตองเสี ยเวลาในการพัฒนา
                   ู้                             ้
ซอฟต์แวร์อีก
      2.ซอฟต์ แวร์ ใช้ งำนเฉพำะ มักเป็ นซอฟต์แวร์ที่ผพฒนาต้องเข้าไปศึกษา
                                                     ู้ ั
รู ปแบบการทางานหรื อความต้องการของธุรกิจนั้น ๆ แล้วจัดทาขึ้น โดยทัวไป  ่
จะเป็ นซอฟต์แวร์ที่มีหลายส่ วนรวมกันเพื่อร่ วมกันทางาน ตัวอย่างของ
                               ั
ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะที่ใช้กนในทางธุรกิจ เช่น ระบบงานทางด้านบัญชี
ระบบงานจัดจาหน่าย ระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรม บริ หารการเงิน และ
การเช่าซื้อ เป็ นต้น

Credit : http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=1bf12134f88bc8eb
ตัวอย่ างที่ 1
                 การประยุกต์ คอมพิวเตอร์ เพือพัฒนาโครงงาน
                                            ่
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
                 1. โครงงานพัฒนาสื่ อเพือการศึกษา ลักษณะเด่นของโครงงาน
                                        ่
ประเภทนี้ คือ เป็ นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่ อเพื่อการศึกษา โดย
การสร้างโปรแกรมบทเรี ยนหรื อหน่วยการเรี ยน ซึ่ งอาจจะต้องมีภาค
แบบฝึ กหัด บททบทวน และคาถามคาตอบไว้พร้อม
       ผูเ้ รี ยนสามารถเรี ยนแบบรายบุคคลหรื อรายกลุ่มการสอน โดยใช้
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้ ถือว่าคอมพิวเตอร์เป็ นอุปกรณ์การสอน ซึ่ งอาจเป็ น
การพัฒนาบทเรี ยนแบบออนไลน์ ให้ผเู ้ รี ยนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้
โครงงาน ประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่างๆ
โดยผูเ้ รี ยนอาจคัดเลือกเนื้อหาที่เข้าใจยาก มาเป็ นหัวข้อในการพัฒนาสื่ อเพื่อ
การศึกษา ตัวอย่างโครงงาน เช่น การเคลื่อนที่แบบโปรเจ็กไตล์ ระบบสุ ริย
จักรวาล ตัวแปรต่างๆ ที่มีผลต่อการชากิ่งกุหลาบ หลักภาษาไทย และสถานที่
สาคัญของประเทศไทย เป็ นต้น
                 2. โครงงานประเภทการประยุกต์ ใช้ งาน โครงงานประยุกต์ใช้งาน
เป็ นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริ งใน
ชีวตประจาวัน อาทิเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งภายใน
    ิ
อาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย
เป็ นต้น โครงงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรื ออุปกรณ์
ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็ นการคิดสร้างสิ่ งของขึ้นใหม่ หรื อปรับปรุ งเปลี่ยนแปลง
                ่
ของเดิมที่มีอยูแล้วให้มีประสิ ทธิภาพสู งขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษา
และวิเคราะห์ความต้องการของผูใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการ
                                  ้
ออกแบบ และพัฒนาสิ่ งของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรื อ
ทดสอบคุณภาพของสิ่ งประดิษฐ์แล้วปรับ ปรุ งแก้ไขให้มีความสมบูรณ์
โครงงานประเภทนี้ผเู้ รี ยนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ ภาษา
โปรแกรม และเครื่ องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
                  3. โครงงานพัฒนาเกม โครงงานประเภทนี้เป็ นโครงงาน
พัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้หรื อเพือความ เพลิดเพลิน เกมที่พฒนาควรจะ
                                       ่                           ั
เป็ นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึ กคิดอย่างมีหลักการ โครงงาน
ประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจแก่ผู ้
เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผูพฒนาควรจะได้ทาการสารวจและ
                                              ้ ั
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่างๆ ที่มีอยูทวไป และนามาปรับปรุ งหรื อ
                                         ่ ั่
พัฒนาขึ้นใหม่ เพื่อให้เป็ นเกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผเู ้ ล่นกลุ่มต่างๆ
            4. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ โครงงานประเภทนี้เป็ นโครงงานเพื่อ
พัฒนาเครื่ องมือช่วย สร้างงานประยุกต์ต่างๆ โดยส่ วนใหญ่จะอยูในรู ป
                                                                 ่
ซอฟต์แวร์ เช่น ซอฟต์แวร์วาดรู ป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน และซอฟต์แวร์ช่วยการ
มองวัตถุในมุมต่างๆ เป็ นต้น สาหรับซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้น
เป็ นโปรแกรมประมวลคา ซึ่งจะเป็ นเครื่ องมือให้เราใช้ในการพิมพ์งานต่างๆ
บนเครื่ องคอมพิวเตอร์ ส่ วนซอฟต์แวร์การวาดรู ป พัฒนาขึ้นเพื่ออานวยความ
สะดวกให้การวาดรู ปบนเครื่ องคอมพิวเตอร์ให้เป็ นไปได้ โดยง่าย สาหรับ
ซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆ ใช้สาหรับช่วยการออกแบบสิ่ งของ
                                                   ่
อาทิเช่น ผูใช้วาดแจกันด้านหน้า และต้องการจะดูวาด้านบนและด้านข้างเป็ น
            ้
อย่างไร ก็ให้ซอฟต์แวร์คานวณค่าและภาพที่ควรจะเป็ นมาให้ เพื่อพิจารณาและ
แก้ไขภาพแจกันที่ออกแบบไว้ได้อย่างสะดวก
              5. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี โครงงานประเภทนี้เป็ น
โครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการ จาลองการทดลองของสาขาต่างๆ ซึ่ง
เป็ นงานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์จริ งได้ เช่น การจุดระเบิด เป็ นต้น
และเป็ นโครงงานที่ผทาต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริ ง และ
                        ู้
แนวคิดต่างๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่ องที่ตองการศึกษาแล้วเสนอเป็ นแนวคิด
                                     ้
                                ่
แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยูในรู ปของสู ตร สมการ หรื อคาอธิบาย พร้อม
                                                                   ็
ทั้งารจาลองทฤษฏีดวยคอมพิวเตอร์ให้ออกมาเป็ นภาพ ภาพที่ได้กจะเปลี่ยนไป
                      ้
ตามสูตรหรื อสมการนั้น ซึ่งจะทาให้ผเู ้ รี ยนมีความเข้าใจได้ดียงขึ้น การทา
                                                              ิ่
                                  ่ ู้
โครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญอยูที่ผทาต้องมีความรู ้ในเรื่ องนั้นๆ เป็ นอย่างดี
ตัวอย่างโครงงานจาลองทฤษฎี เช่น การทดลองเรื่ องการไหลของของเหลว การ
ทดลองเรื่ องพฤติกรรมของปลาปิ รันย่า และการทดลองเรื่ องการมองเห็นวัตถุ
แบบสามมิติ เป็ นต้น
       จากการศึกษาประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ ทาให้ผจดทาได้ทราบว่า
                                                         ู้ ั
โครงงานคอมพิวเตอร์มีกี่ประเภท รายละเอียดของแต่ละประเภท มีอะไรบ้าง
ทาให้ผจดทาสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปสร้างสรรค์ผลงานให้ถูกประเภท
         ู้ ั
ยิงขึ้น และสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ แก่ผอื่นได้
  ่                                              ู้
ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์
       1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
       2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
       3. จัดทาเค้าโครงของโครงงาน เมื่อผูเ้ รี ยนได้ศึกษาเอกสารอ้างอิงต่างๆ
และเลือกเรื่ องที่จะทาโครงงานคอมพิวเตอร์ รวมทั้งวางแผนการทาโครงงาน
ทุกขั้นตอน โดยปรึ กษากับอาจารย์ที่ปรึ กษาหรื อผูทรงคุณวุฒิแล้ว จึงเขียนเค้า
                                                  ้
โครงของโครงงานเพื่อใช้เป็ นกรอบแนวคิดและแนวทาง ตลอดจนข้อตกลง
ต่างๆ ในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ระหว่างผูเ้ รี ยน อาจารย์ และผูเ้ กี่ยวข้อง
นอกจากจะต้องใช้หลักการทางวิชาการแล้ว ยังจาเป็ นต้องมีขอตกลงและเงือน
                                                            ้
ไขต่างๆ ด้วย เช่น การขออนุญาตใช้หองปฏิบติการคอมพิวเตอร์ การจัดหา
                                     ้          ั
ลิขสิ ทธิ์ของซอฟต์แวร์ เครื่ องมือและตัวแปลภาษาโปรแกรม เป็ นต้น เพื่อช่วย
ให้การทาโครงงานดาเนินไปอย่างราบรื่ น
       4. การลงมือทาโครงงาน
       5. การเขียนรายงาน
       6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน

คอมพิวเตอร์ กราฟิ กกับการประยุกต์ ใช้ ในงานด้ านต่ างๆ
1. คอมพิวเตอร์ กราฟิ กกับการออกแบบ
     คอมพิวเตอร์กราฟิ กได้ถูกนามาใช้ในการออกแบบมาเป็ นเวลานาน เรา
คงจะเคยได้ยนคาว่า CAD (Computer - Aided Design) ซึ่งเป็ นโปรแกรม
            ิ
สาหรับช่วยในการออกแบบทางวิศวกรรม โปรแกรมเหล่านี้จะช่วยให้
ผูออกแบบหรื อวิศวกรออกแบบงานต่างๆ ได้สะดวกขึ้น กล่าวคือ ผูออกแบบ
   ้                                                              ้
สามารถเขียนเป็ นแบบลายเส้นแล้วลงสี แสงเงา เพื่อให้ดูคล้ายกับของจริ งได้
นอกจากนี้แล้วเมื่อผูออกแบบกาหนดขนาดของวัตถุลงในระบบ CAD แล้ว
                       ้
ผูออกแบบยังสามารถย่อหรื อขยายภาพนั้น หรื อต้องการหมุนภาพไปในมุม
     ้
ต่างๆ ได้ดวย การแก้ไขแบบก็ทาได้ง่ายและสะดวกกว่าการออกแบบบน
                 ้
กระดาษ
         ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์กราฟิ กถูก
นามาใช้ในการออกแบบวงจรต่างๆ ผูออกแบบสามารถวาดวงจรบนจอภาพ
                                    ้
โดยใช้สญลักษณ์ต่างๆ ที่ระบบจัดเตรี ยมไว้ให้แล้วมาประกอบกันเป็ นวงจรที่
           ั
ต้องการ ผูออกแบบสามารถแก้ไข ตัดต่อ เพิ่มเติมวงจรได้โดยสะดวก
               ้
นอกจากนี้ยงมีโปรแกรมสาหรับออกแบบ PCB (Printed Circuit Board) ซึ่งมี
                   ั
ความสามารถจัดการให้แผ่นปริ นต์มีขนาดที่จะวางอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์
ได้เหมาะสมที่สุด
         การออกแบบพาหนะต่างๆ เช่น รถยนต์ เครื่ องบิน หรื อเครื่ องจักรต่างๆ
ในปัจจุบนก็ใช้ระบบ CAD นักออกแบบสามารถจะออกแบบส่ วนย่อยๆ แต่ละ
             ั
ส่ วนก่อน แล้วนามาประกอบกันเป็ นส่ วนใหญ่ข้ ึนจนเป็ นเครื่ องจักรเครื่ องยนต์
ที่ตองการได้ นอกจากนี้ในบางระบบยังสามารถที่จะทดสอบแบบจาลองที่
       ้
ออกแบบไว้ได้ดวย เช่น อาจจะออกแบบรถยนต์แล้วนาโครงสร้างของรถที่
                     ้
ออกแบบนั้นมาจาลองการวิง โดยให้วงที่ความเร็ วต่างๆ กันแล้วตรวจดูผลที่ได้
                          ่           ่ิ
ซึ่งการทดลองแบบนี้สามารถทาได้ในระบบคอมพิวเตอร์และจะประหยัดกว่า
การสร้างรถจริ งๆ แล้วนาออกมาศึกษาทดสอบการวิง     ่
การออกแบบโครงสร้าง เช่น ตึก บ้าน สะพาน หรื อโครงสร้างใดๆ ทาง
วิศวกรรมโยธาและสถาปั ตยกรรม ก็สามารถทาได้โดยใช้ CAD ช่วยในการ
ออกแบบ หลังจากสถาปนิกออกแบบโครงสร้างในแบบ 2 มิติเสร็จแล้ว
ระบบ CAD สามารถจัดการให้เป็ นภาพ 3 มิติ และยังสามารถแสดงภาพที่
มุมมองต่างๆ กันได้ตามที่ผออกแบบต้องการ นอกจากนี้ ในบางระบบสามารถ
                         ู้
แสดงภาพให้ปรากฏต่อผูออกแบบราวกับว่าผูออกแบบสามารถเดินเข้าไป
                      ้                 ้
ภายในอาคารที่ออกแบบได้ดวย   ้

2. กราฟและแผนภาพ
       คอมพิวเตอร์กราฟิ กถูกนามาใช้ในการแสดงภาพกราฟและแผนภาพของ
ข้อมูลได้เป็ นอย่างดี โปรแกรมทางกราฟิ กทัวไปในท้องตลาดจะเป็ นโปรแกรม
                                         ่
ที่ใช้ในการสร้างภาพกราฟและแผนภาพ โปรแกรมเหล่านี้ยงสามารถสร้าง
                                                          ั
กราฟได้หลายแบบ เช่น กราฟเส้น กราฟแท่ง และกราฟวงกลม นอกจากนี้ยง       ั
สามารถแสดงภาพกราฟได้ท้งในรู ปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ ทาให้ภาพกราฟที่ได้
                            ั
ดูดีและน่าสนใจ กราฟและแผนภาพทางธุรกิจ เช่น กราฟหรื อแผนภาพแสดง
การเงิน สถิติ และข้อมูลทางเศรษฐกิจ จะเป็ นประโยชน์ต่อผูบริ หารหรื อ
                                                            ้
ผูจดการกิจการมาก เนื่องจากสามารถทาความเข้าใจกับข้อมูลได้ง่ายและ
  ้ั
รวดเร็วกว่าเดิม ในงานวิจยต่างๆ เช่น การศึกษาทางฟิ สิ กส์ กราฟและแผนภาพ
                          ั
มีส่วนช่วยให้นกวิจยทาความเข้าใจกับข้อมูลได้ง่ายขึ้นเมื่อข้อมูลที่ตอง
                ั ั                                               ้
วิเคราะห์มีจานวนมาก
ระบบข้อมูลทางภูมิศาสตร์ หรื อ GIS (Geographical Information
System) ก็เป็ นรู ปแบบหนึ่งของการแสดงข้อมูลในทานองเดียวกับกราฟและ
แผนภาพ ข้อมูลทางภูมิศาสตร์จะถูกเก็บลงในระบบคอมพิวเตอร์ แล้วให้ระบบ
คอมพิวเตอร์กราฟิ กจัดการแสดงข้อมูลเหล่านั้นออกมาทางจอภาพในรู ปของ
แผนที่ทางภูมิศาสตร์

3. ภาพศิลป์ โดยคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก
      การวาดภาพในปัจจุบนนี้ใครๆ ก็สามารถวาดได้แล้วโดยไม่ตองใช้พกน
                           ั                                  ้      ู่ ั
กับจานสี แต่จะใช้คอมพิวเตอร์กราฟิ กแทน ภาพที่วาดในระบบคอมพิวเตอร์
กราฟิ กนี้เราสามารถกาหนดสี แสงเงา รู ปแบบลายเส้นที่ตองการได้โดยง่าย
                                                      ้
ภาพโฆษณาทางโทรทัศน์หลายชิ้นก็เป็ นงานจากการใช้คอมพิวเตอร์กราฟิ ก
ข้อดีของการใช้คอมพิวเตอร์วาดภาพก็คือ เราสามารถแก้ไขเพิ่มเติมส่ วนที่
ต้องการได้ง่าย นอกจากนี้เรายังสามารถนาภาพต่างๆ เก็บในระบบคอมพิวเตอร์
ได้โดยใช้เครื่ องสแกนเนอร์ (Scanner) แล้วนาภาพเหล่านั้นมาแก้ไข
4. ภาพเคลือนไหวโดยใช้ คอมพิวเตอร์
            ่
        ภาพยนตร์การ์ตูนและภาพยนต์ประเภทนิยายวิทยาศาสตร์หรื อภาพยนตร์
ที่ใช้เทคนิคพิเศษต่างๆ ในปัจจุบนมีการนาคอมพิวเตอร์กราฟิ กเข้ามาช่วยใน
                                 ั
การออกแบบและสร้างภาพเคลื่อนไหว (Computer Animation) มากขึ้น
เนื่องจากเป็ นวิธีที่สะดวก รวดเร็ว และง่ายกว่าวิธีอื่นๆ นอกจากนี้ภาพที่ได้ยงดู
                                                                           ั
สมจริ งมากขึ้น เช่น ภาพยานอวกาศที่ปรากฏในภาพยนตร์ประเภทนิยาย
                                                               ่
วิทยาศาสตร์ เป็ นต้น การใช้คอมพิวเตอร์กราฟิ กช่วยให้ภาพที่อยูในจินตนาการ
ของมนุษย์สามารถนาออกมาทาให้ปรากฏเป็ นจริ งได้ ภาพเคลื่อนไหวมี
ประโยชน์มากทั้งในระบบการศึกษา การอบรม การวิจย และการจาลองการ
                                                        ั
ทางาน เช่น จาลองการขับรถ การขับเครื่ องบิน เป็ นต้น เกมส์คอมพิวเตอร์หรื อ
              ็
วิดีโอเกมส์กใช้หลักการทาภาพเคลื่อนไหนในคอมพิวเตอร์กราฟิ กเช่นกัน

5. อิเมจโปรเซสซิงก์
       คาว่าอิเมจโปรเซสซิ งก์ (Image Processing) หมายถึง การแสดงภาพที่เกิด
จากการถ่ายรู ปหรื อจากการสแกนภาพให้ปรากฏบนจอภาพคอมพิวเตอร์
วิธีการทางอิเมจโปรเซสซิงก์จะต่างกับวิธีการของคอมพิวเตอร์กราฟิ ก กล่าวคือ
ในระบบคอมพิวเตอร์กราฟิ ก ตัวคอมพิวเตอร์เองจะเป็ นตัวที่สร้างภาพ แต่เทค
นิกทางอิเมจโปรเซสซิงก์น้ นใช้คอมพิวเตอร์สาหรับการจัดรู ปแบบของสี และ
                          ั
               ่
แสงเงาที่มีอยูแล้วในภาพให้เป็ นข้อมูลทางดิจิตอล แล้วอาจจะมีวธีการทาให้
                                                             ิ
ภาพที่รับเข้ามานั้นมีความชัดเจนมากขึ้นก่อน จากนั้นก็จดการกับข้อมูลดิจิตอล
                                                     ั
นี้ให้เป็ นภาพส่ งออกไปที่จอภาพของคอมพิวเตอร์อีกที วิธีการนี้มีประโยชน์ใน
การแสดงภาพของวัตถุที่เราไม่สามารถจะเห็นได้โดยตรง เช่น ภาพถ่าย
ดาวเทียม ภาพจากทีวสแกนของหุ่นยนต์อุตสาหกรรม เป็ นต้น
                      ี




        เมื่อภาพถ่ายถูกทาให้เป็ นข้อมูลดิจิตอลแล้ว เราก็สามารถจะจัดการแก้ไข
เปลี่ยนแปลงภาพนั้นได้โดยจัดการกับข้อมูลดิจิตอลของภาพนันเอง ซึ่ งเราก็จะ
                                                                   ่
                                            ั
ใช้หลักการของคอมพิวเตอร์กราฟิ กมาใช้กบข้อมูลเหล่านี้ได้ เช่น ในภาพ
สาหรับการโฆษณา เราสามารถทาให้ภาพที่เห็นเหมือภาพถ่ายนั้นแปลกออกไป
จากเดิมได้โดยมีภาพบางอย่างเพิ่มเข้าไปหรื อบางส่ วนของภาพนั้นหายไป ทา
ให้เกิดภาพที่ไม่น่าจะเป็ นจริ งแต่ดูเหมือนกับเกิดขึ้นจริ งได้ เป็ นต้น
                                                          ั
        เทคนิคของอิเมจโปเซสซิงก์สามารถประยุกต์ใช้กบการแพทย์ได้ เช่น
เครื่ องเอกซเรย์ โทโมกราฟี (X-ray Tomography)ซึ่ งใช้สาหรับแสดง
ภาพตัดขวางของระบบร่ างกายมนุษย์ เป็ นต้น
                                   ่
จากที่กล่าวมาแล้ว เราจะเห็นได้วาคอมพิวเตอร์กราฟิ กนั้นนับวันยิงมี     ่
ความสาคัญในสาขาวิชาต่างๆ มากขึ้น ดังนั้นจึงเป็ นการดีที่เราควรจะมีความรู ้
ความเข้าใจในหลักการและเทคนิคเบื้องต้นต่างๆ ที่ใช้ในคอมพิวเตอร์กราฟิ ก
ทีมา
  ่
http://namkwanmay.wordpress.com/2011/02/
http://www.rayongwit.ac.th/computer/m2fri49/g21m2fri/apply.htm
http://www.mc.ac.th/learning/chaiwbi/project/p111.html
ตัวอย่ างที่ 2
   โครงการ การทบทวนวรรณกรรมและพัฒนาเครื่ องมือประเมินความพิการ
                         กันยายน 2554
                        พญ.ศิรินาถ ตงศิริ
               คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

                                    คานา
เอกสารฉบับนี้เป็ นรายงานปิ ดโครงการการทบทวนวรรณกรรม และพัฒนา
เครื่ องมือเพือใช้ในการประเมินความพิการในชุมชนโดยใช้รหัส ICF ซึ่งได้รับ
              ่
งบประมาณสนับสนุนการดาเนินงานจากสถาบันสร้างเสริ มสุ ขภาพคนพิการ
(สสพ.) ได้เริ่ มดาเนินโครงการมาตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2553 และกาหนดแล้ว
เสร็จในเดือนตุลาคม 2554 ดาเนินการโดย อ.ดร.พญ.ศิรินาถ ตงศิริ คณะ
แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

      ในระหว่างการดาเนินโครงการ ผูวจยได้เขียนรายงานสรุ ปโครงการที่ได้
                                       ้ิั
                                                                ั
ดาเนินการเสร็จสิ้ นในแต่ละขั้นตอนเพือรายงานความก้าวหน้าให้กบสสพ. และ
                                     ่
เมื่อได้ดาเนินโครงการแล้วเสร็จทั้งหมด ผูวจยได้เขียนรายงานฉบับเต็มนี้ข้ ึน
                                           ้ิั
และได้มีการปรับปรุ งเนื้อหาบางส่ วนให้มีความถูกต้อง และปรับเนื้อความให้
                                               ่
กระชับมากยิงขึ้น ดังนั้น เนื้อหาบางอย่างที่อยูในรายงานฉบับนี้อาจมีความ
              ่
แตกต่างกับรายงานย่อยที่ได้ส่งไปก่อนหน้านี้
ความรู้ที่ผวจยได้รับมากที่สุดในการดาเนินโครงการนี้ คือ การนารหัส
                      ู้ ิ ั
ICF ไปใช้ในการเก็บข้อมูลคนพิการ ผูวจยได้รู้จกรหัส ICF ตั้งแต่ประมาณ 5-6
                                          ้ิั     ั
ปี ที่แล้ว แต่ยงไม่มีโอกาสได้เรี ยนรู้ ทาความเข้าใจ และได้ทดลองนาไปใช้งาน
                  ั
จนกระทังได้มาทางานวิจยนี้ ผูวจยเห็นว่า การใช้รหัส ICF นี้มีประโยชน์อย่าง
            ่                     ั ้ิั
ยิงในการปรับมุมมองการทางานกับคนพิการให้ครอบคลุมทุกมิติ ใช้ในการ
  ่
                                     ่
สื่ อสารกับผูให้บริ การที่ไม่ได้อยูในสายงานอาชีพเดียวกันให้สามารถทางานไป
                ้
ด้วยกันได้ ประโยชน์สูงสุ ดที่เกิดขึ้น คือ คุณภาพชีวตของคนพิการที่ควรจะ
                                                     ิ
ได้รับการพัฒนาให้ดียงขึ้นจากการมีมุมมองรอบด้านและการสื่ อสารที่เป็ นไป
                               ิ่
              ่
อย่างดีอยูบนพื้นฐานของการเข้าใจและพูดถึงสิ่ งเดียวกันของผูปฏิบติงาน
                                                             ้ ั
 หวังเป็ นอย่างยิงว่า ผูที่ได้นารหัส ICF ไปใช้ในงานของตน จะได้รับความรู้สึก
                    ่        ้
อย่างนี้ และนาไปพัฒนาคุณภาพชีวตคนพิการอย่างได้ผลดีและมีประสิ ทธิภาพ
                                        ิ
ต่อไป..

ที่มา http://www.healthyability.com/detail_new.php?content_id=804
ตัวอย่ างที่ 3

โครงการ เครื่ องมือวัดสเปกตรัมแสงสาหรับนาโนพลาสโมนิกส์และการ
              ประยุกต์ใช้งานทางชีวภาพ
โครงการวิจัยนี้ ตัวอย่ างเครื่องมือทีต้องการสร้ างขึนประกอบด้ วย
                                     ่              ้
      อุปกรณ์สาหรับวัดสเปกตรัมการกระเจิงแสงสาหรับโครง สร้างระดับนา
                           ั
โนของโลหะ สาหรับใช้กบกล้องจุลทรรศน์เชิงแสงทัวไป       ่
      ชุดทดลองสาหรับวัดสเปกตรัมการกระเจิงแสง (Scattering spectrum)
หรื อการลดทอนแสง (Extinction spectrum) สาหรับสารตัวอย่างที่เป็ น
สารละลายและมีปริ มาณน้อย เช่น มีปริ มาตร 10 - 100 ไมโครลิตร เป็ นต้น
      อุปกรณ์และชุดทดลองเชิงแสงดังกล่าว จะช่วยให้นกวิจยในประเทศ
                                                        ั ั
สามารถตรวจวัดคุณสมบัติเชิงแสงของโครงสร้างระดับ นาโนได้แม่นยามาก
ขึ้น โดยไม่ตองจัดหาเครื่ องมือวิเคราะห์ที่มีราคาแพงจากต่างประเทศ
               ้
      เครื่ องมืออีกชนิดหนึ่งที่มีความสาคัญในการศึกษาคุณสมบัติเชิงแสงของ
โครง สร้างระดับนาโนคือ ซอฟต์แวร์สาหรับการจาลองเชิงตัวเลขโดยใช้
เทคนิค Finite-different time-domain (FDTD) ซอฟต์แวร์ดงกล่าวนิยมใช้ใน
                                                         ั
การคานวณหาสเปกตรัมแสงของอนุภาคและสนามไฟฟ้ ารอบๆ อนุภาค ผลการ
คานวณสามารถนามาอธิบายผลการทดลองได้ เพื่อให้เข้าใจหลักการทางาน
ของอนุภาคได้ชดเจนมากขึ้น ซอฟต์แวร์ FDTD มีใช้งานโดยทัวไป แต่การใช้
                  ั                                         ่
งานกับโครงสร้างระดับนาโนของโลหะนั้นต้องใช้ความรู ้ความชานาญเฉพาะ
ด้าน การพัฒนาบุคลากรที่มีความรู ้ความเชี่ยวชาญด้านนี้ข้ ึนในเนคเทค จะ
สามารถช่วยสนับสนุนการวิจยและพัฒนาในสาขานี้ได้
                               ั
        เพื่อแสดงความเป็ นไปได้ของการประยุกต์ใช้โครงสร้างระดับนาโนของ
โลหะกับการ พัฒนาเป็ นไบโอเซนเซอร์ขนาดเล็ก ทีมวิจยจะเลือกตัวอย่าง
                                                      ั
โครงสร้างนาโนที่ได้รับการศึกษาวิจยไประดับหนึ่ง เช่น อนุภาคนาโนของทอง
                                    ั
หรื ออนุภาคนาโนคู่ของทอง (Gold nanoparticle dimers) ซึ่งเป็ นโครงสร้างที่มี
                                         ั
อนุภาคนาโน 2 อนุภาค ถูกจับยึดเข้าใกล้กนด้วยสายดีเอ็นเอเป้ าหมาย ดังรู ปที่ 4
          ั
(ดร.สุ กญญา แซ่เอี๋ยว, BIOTEC) โครงสร้างดังกล่าวถูกนาไปใช้เป็ นดีเอ็นเอ
เซนเซอร์ อย่างไรก็ตาม ยังไม่ได้รับการศึกษาคุณสมบัติเชิงแสงโดยละเอียด
โดยเฉพาะระดับอนุภาค ซึ่งทีมวิจยจะนาโครงสร้างนาโนดังกล่าวมาทดลองวัด
                                  ั
คุณสมบัติเชิงแสงเพิ่มเติม ด้วยอุปกรณ์และชุดทดลองที่สร้างขึ้น และ
เปรี ยบเทียบกับผลการจาลองด้วยซอฟต์แวร์ FDTD ทีมวิจยคาดหมายว่าจากผล
                                                         ั
การทดลองและการคานวณที่ได้ จะทาให้สามารถพัฒนาแนวทางใหม่ๆ ในการ
พัฒนาไบโอเซนเซอร์ดงกล่าวให้มีประสิ ทธิภาพสู งขึ้น เช่น สามารถตรวจวัด
                         ั
ได้ที่ความเข้มข้นของดีเอ็นเอเป้ าหมายได้ต่าลงกว่าเดิม
ครุ ภณฑ์หลักที่สาคัญในการสร้างอุปกรณ์และชุดทดลองดังกล่าว เช่น กล้อง
      ั
จุลทรรศน์เชิงแสง กล้องซีซีดีสาหรับแสงความเข้มต่า ซอฟต์แวร์ FDTD สเปก
โตรมิเตอร์ เป็ นต้น ห้องปฏิบติการวิจยเทคโนโลยีโฟโตนิกส์ได้จดหาไว้แล้ว
                             ั        ั                       ั
ผ่านการจัดสรร ครุ ภณฑ์ประจาปี (Capacity building) และบางส่ วนอยูใน
                     ั                                             ่
ระหว่างการจัดหาเพิ่มเติม
อนึ่ง โครงสร้างระดับนาโนของโลหะ (Metallic nanostructures) มี
ปรากฎการณ์เชิงแสงที่แตกต่างจากโครงสร้างโลหะทัวไปอย่างมาก เมื่อมอง
                                                       ่
ด้วยตาเปล่าเราจะพบว่าโครงสร้างระดับนาโนของโลหะจะมีสีต่างๆ ขึ้นอยูกบ    ่ ั
ขนาด ชนิดโลหะ และสภาพแวดล้อม ปรากฏการณ์ดงกล่าวสามารถอธิบายได้
                                                     ั
โดยใช้ทฤษฎีการกระเจิงแสงสาหรับโครงสร้าง ระดับนาโน และการเกิดคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้ าเนื่องจากการสันของอิเล็กตรอนอิสระที่ผวโลหะ คลื่น
                               ่                           ิ
แม่เหล็กไฟฟ้ าดังกล่าวเป็ นคลื่นผิวและสามารถเคลื่อนที่ได้ตามแนวพื้น ผิวเป็ น
ระยะทางสั้นๆ นิยมเรี ยกคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าดังกล่าวว่า Surface plasmon
polaritons (SPP) หรื อเรี ยกสั้นๆ ว่า พลาสโมนิกส์หรื อนาโนพลาสโมนิกส์
(Plasmonics/Nanoplasmonics) ปรากฏการณ์น้ ีได้รับความสนใจอย่างมากจาก
นักวิจยทัวโลก เพราะสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้หลายด้าน โดยเฉพาะใน
      ั ่
สาขาชีวภาพ เช่น การตรวจวินิจฉัยและการรักษาโรคมะเร็ ง ไบโอเซนเซอร์ที่มี
ขนาดเล็ก การศึกษากลไกการทางานของเซลล์สิ่งมีชีวต เป็ นต้น ปั จจุบนนี้
                                                         ิ         ั
โครงสร้างระดับนาโนของโลหะกลายเป็ นวัสดุที่สาคัญสาหรับการ ประยุกต์ใช้
ในทางชีวภาพหรื อในสาขาไบโอนาโนเทคโนโลยี (Nanobiotechnology)

วัตถุ ประสงค์ ของโครงการ
      1. สร้างชุดลองวัดสเปกตรัมการกระเจิงแสงและสเปกตรัมการลดทอน
ของแสงสาหรับอนุภาค นาโนหรื อโครงสร้างระดับนาโนของโลหะ สาหรับใช้
ในการวิจยและพัฒนา
          ั
2. ศึกษาคุณสมบัติเชิงแสงโครงสร้างระดับนาโนของโลหะ เช่น อนุภาค
นาโนเดี่ยวหรื ออนุภาคนาโนคู่ของทอง (Gold nanoparticle dimers) โดยใช้
การศึกษาทางทฤษฎีและโปรแกรม Finite difference time domain (FDTD)
และการทดลองโดยใช้ชุดทดลองที่สร้างขึ้น
     3. ศึกษาแนวทางการประยุกต์ใช้อนุภาคนาโนของทองเป็ น
ไบโอเซนเซอร์ที่มีขนาดเล็ก

บทคัดย่ อ
       อนุภาค นาโนของทองขนาด 10 - 100 nm มีสเปกตรัมการกระเจิงแสง
ในช่วง 530 - 600 nm โดยเมื่อขนาดใหญ่ข้ ึนสเปกตรัมการกระเจิงแสงจะเลื่อน
ไปทางขวา คุณสมบัติเชิงแสงดังกล่าว ทาให้เมื่อสังเกตุอนุภาคนาโนของทอง
ด้วยกล้องจุลทรรศน์ในโหมดดาร์คฟิ ลด์ (Dark-field microscopy) จะพบว่า
อนุภาคขนาด 40 nm จะมีสีเขียวและอนุภาคที่มีขนาดใหญ่ข้ ึนจะมีสีเขียว-
เหลืองหรื อค่อนข้างแดง ดังรู ปที่ 1 ปรากฏการณ์ดงกล่าวได้ถูกประยุกต์ใช้เป็ น
                                                ั
หลักการวัดไบโอเซนเซอร์ที่มีขนาด เล็กและราคาถูก เช่น เมื่อเติมสารตัวอย่าง
ที่มีโมเลกุลสารชีวภาพที่ตองการวัดปนอยู่ ลงไปในสารละลายที่มีอนุภาคนาโน
                         ้
ของทองซึ่งติดผิวด้วยสารชีวภาพสาหรับตรวจจับ (Ligands) จะทาให้อนุภาค
นาโนของทองเกิดการจับกลุ่มกัน (Aggregation) ทาให้สเปกตรัมการกระเจิง
เลื่อนไปทางขวา ซึ่งสังเกตการเปลี่ยนสี ได้ดวยตาเปล่า ดังรู ปที่ 2 และรู ปที่ 3
                                          ้
หรื อสามารถตรวจวัดด้วยเครื่ องมือเชิงแสงที่มีราคาถูก เหมาะสาหรับการใช้
งานแบบภาคสนามและการใช้งานแบบใช้แล้วทิ้ง (Disposable)
นอกจากอนุภาคนาโนของทองแล้ว โครงสร้างระดับนาโนของโลหะ
รู ปแบบอื่นๆ ยังได้รับความสนใจอย่างมากนามาประยุกต์ใช้เป็ นวัสดุตรวจวัด
สาหรับไบโอเซน เซอร์ โดยมีเป้ าหมายการใช้งานที่คล้ายคลึงกันคือ การพัฒนา
เซนเซอร์ที่มีขนาดเล็กเหมาะสาหรับการใช้งานภาคสนาม ตัวอย่างโครงสร้าง
ระดับนาโนที่มีการรายงานไว้ เช่น นาโนโฮลและนาโนโฮลอาร์เรย์ นาโนปิ ระ
มิด นาโนรอด สายอากาศนาโน เป็ นต้น ซึ่งเทคนิคการตรวจวัดคุณสมบัติ
โครงสร้างนาโนเหล่านิ้ ส่ วนใหญ่แล้วจะใช้การวัดการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติ
เชิงแสงของอนุภาคมากกว่าการ ตรวจวัดคุณสมบัติดานอื่นๆ เนื่องจากทาได้
                                                ้
ง่ายกว่า

ระยะ เวลาดาเนินโครงการ : 1 พฤษภาคม พ.ศ.2554 ถึง 30 เมษายน พ.ศ.2555

คณะผู้ วิจัย
หัวหน้าโครงการ : นายบุญส่ ง สุ ตะพันธ์
ผูร่วมวิจย : นายสถาพร จันทน์หอม, นายอาโมทย์ สมบูรณ์แก้ว, นาย
  ้      ั
รัฐศาสตร์ อัมฤทธิ์

ที่มา
http://www.nectec.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=2
314:r54-&catid=340:2011-07-02-05-49-13&Itemid=1066
ตัวอย่างที่ 4
       โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์"
(GameDevelopment)โครงงานพัฒนาโปรแกรมประยุกต์หรื อโครงงานพัฒนา
เกมโครงงานประเภทนีเป็ นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพือความรู้หรื อเพือ
ความเพลิดเพลินเกมทีพฒนาควรจะเป็ นเกมทีไม่รุนแรงเน้นการใช้สมองเพือ
                          ั
ฝึ กคิดอย่างมีหลักการโครงงานประเภทนีจะมีการออกแบบลักษณะและ
กฎเกณฑ์การเล่นเพือให้น่าสนใจแก่ผเู ้ ล่นพร้อมทังให้ความรู ้สอดแทรกไปด้วย
ผูพฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกียวกับเกมต่างๆทีมีอยูทว
   ้ ั                                                              ่ ั
ไปและนามาปรับปรุ งหรื อพัฒนาขึนใหม่เพือให้เป็ นเกมทีแปลกใหม่และ
น่าสนใจแก่ผเู้ ล่นกลุ่มต่างๆตัวอย่างโครงงานประเภทพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
1.เกมผจญภัยกับพระอภัยมณี 2.เกมอักษรเขาวงกต3.เกมเลือกตัง
สมาชิกสภาผูแทนราษฎร4.เกมผจญภัยกับภาษาอังกฤษ5.เกมหมากฮอส6.เกม
              ้
บวกลบเลขแสนสนุก7.เกมศึกรามเกียรติC8.เกมมวยไทย9.เกมอักษรไขว้

โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่ องสร้างเกมคณิ ตคิดเร็วออนไลน์
โดย 1.เด็กชายธันธวัช เอียมสะอาด 2.เด็กชายเสนา สุ ภาวะหา 3.เด็กชายสิ ทธิ
กร สังข์อยูสุข ครู ที่ปรึ กษา นายณรงค์ ศักดิ์เจริ ญสิ ทธิชย
           ่                                              ั

บทคัดย่ อ
     โครงงานสร้างเกมคณิ ตคิดเร็วออนไลน์เป็ นโครงงานทีประยุกต์เอา
ซอฟแวร์ประเภทต่างๆมาใช้งานร่ วมกันเพือให้ได้โปรแกรมทีใช้งานได้ตาม
จุดมุ่งหมายตามทีตงจุดประสงค์ไว้ได้แก่โปรแกรมออเธอร์แวร์โปรแกรมเฟรช
                    ั
แชตโปรแกรมแอปเซฟเวอร์โปรแกรมดรี มเว็บเวอร์และภาษาพีเฮชพีซึง
โปรแกรมแบ่งออกเป็ น3ส่ วนใหญ่ดงต่อไปนี1.เซฟเวอร์ทีทาหน้าทีรับส่ งข้อมูล
                                ั
ระหว่างผูใช้ใช้โปรแกรมแอปเซฟเวอร์เป็ นเซฟเวอร์และใช้ภาษาพีเฮชพีเขียน
           ้
ด้วยโปรแกรมดรี มเว็บเวอร์ใช้ในการรับส่ งข้อมูลผูเ้ ล่น2.โปรแกรมติดต่อ
สื อสารระหว่างผูใช้งานโปรแกรมได้แก่โปรแกรมเฟรชแชต3.โปรแกรมออ
                 ้
เธอร์แวร์ใช้ในการเขียนโปรแกรมเพือผสมผสานการทางานของโปรแกรม
ข้างต้นเพือให้ใช้งานได้ตามจุดประสงค์ผลการทาสร้างโปรแกรมปรากฏว่า
สามารถสร้างโปรแกรมเกมคณิ ตคิดเร็วออนไลน์ทีสามารถเล่นผ่านระบบ
เครื อข่ายตามจุดมุ่งหมายทีตงไว้
                           ั

ขอบคุณข้อมูลจากhttp://www.gistda.or.th
ตัวอย่ างที่ 5

       โครงงานพัฒนาเครื องมือ(ToolsDevelopment)เป็ นโครงงานเพือพัฒนา
เรื องมือมาใช้ช่วยสร้างงานประยุกต์ต่างๆซึ งโดยส่ วนใหญ่จะเป็ นในรู ป
ซอฟต์แวร์ตวอย่างของเครื องมือช่วยงานเช่นซอฟต์แวร์วาดรู ปซอฟต์แวร์พิมพ์
              ั
งานซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆเป็ นต้นสาหรับซอฟต์แวร์เพือการ
พิมพ์งานนั-นสร้างขึ-นเป็ นโปรแกรมประมวลผลภาษาซึงจะเป็ นเครื องมือให้
เราใช้งานในงานพิมพ์ต่างๆบนเครื องคอมพิวเตอร์เป็ นไปได้โดยง่ายซึ งรู ปทีได้
สามารถนาไปใช้งานต่างๆได้มากมายสาหรับซอฟต์แวร์ ช่วยในการมองวัตถุใน
มุมต่างๆใช้สาหรับช่วยในการออกแบบสิ งของต่างๆตัวอย่างเช่น1.โปรแกรม
การค้นหาคาภาษาไทย2.โปรแกรมอ่านอักษรไทย3.โปรแกรมวาดภาพสามมิติ
4.โปรแกรมบีบอัดข้อมูล5.โปรแกรมประมวลผลคาไทยบนระบบปฏิบติการลี           ั
นุกซ์
       ตัวอย่างโครงงานชื่อโครงงานระบบบาร์โค้ดบนโทรศัพท์เคลือนทีเพือ
การดาเนินธุรกิจชื่อผูทาโครงงานนาย ฑีฆวัฒน์ เทพานวล, นาย ปวีณวัช
                       ้
สุ รินทร์ , นาย ปิ ยะพงษ์ บุญมี ชื่ออาจารย์ทีปรึ กษาผศ.ดร.สุ ขมาลกิติสิน
                                                              ุ
สถาบันการศึกษามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ระดับชั8นปริ ญญาตรี หมวดวิชา
คอมพิวเตอร์วน/เดือน/ปี ทาโครงงาน1/1/2549บทคัดย่อโครงการนี -มี
                ั
วัตถุประสงค์เพือนาเทคนิคการสร้างบาร์โค้ดบนจอภาพโทรศัพท์เคลือนทีมา
ใช้ในการพัฒนาระบบทีประกอบด้วยโปรแกรมประยุกต์บนโทรศัพท์เคลือนที
และเว็บเซอร์วสเพือรองรับการทางานดังนี -คือการขอรับใบแจ้งค่าบริ การการ
                  ิ
ขอทาบัตรสมาชิกการจองและการซื -อตัCวต่างๆจากเว็บเซอร์วสผูให้บริ การคือ
                                                        ิ ้
หน่วยงานของรัฐและเอกชนทีมีการใช้ใบแจ้งค่าบริ การหรื อบัตรสมาชิกผู ้
ให้บริ การในระบบธุรกิจทีมีการใช้ตCวตามลาดับผ่านโปรแกรมประยุกต์บน
                                  ั
โทรศัพท์เคลือนทีเพือใช้โปรแกรมประยุกต์บนโทรศัพท์เคลือนทีแทนใบแจ้ง
ค่าบริ การบัตรสมาชิกตัCวต่างๆและใช้ในการยืนยันการออกตัCวจริ งจากจองตั
Cวต่างๆโดยระบบมีการทางานดังนี -คือเว็บเซอร์วสของระบบจะทาหน้าที
                                                ิ
รวบรวมบริ การและเป็ นตัวกลางในการเชือมต่อประสานการทางานเพือส่ งผ่าน
ข้อมูลใบแจ้งค่าบริ การข้อมูลบัตรสมาชิกข้อมูลหมายเลขเฉพาะหรื อข้อมูล
หมายการจองของตัCวต่างๆระหว่างเว็บเซอร์วสผูให้บริ การกับโปรแกรม
                                            ิ ้
ประยุกต์บนโทรศัพท์เคลือนทีโดยลักษณะข้อมูลทีใช้ในการแลกเปลียนเป็ น
รู ปแบบเอกสารXMLซึงโปรแกรมประยุกต์บนโทรศัพท์เคลือนทีของระบบ
สามารถนาข้อมูลหมายเลขบาร์โค้ดบนใบแจ้งค่าบริ การหมายเลขบาร์โค้ดบน
บัตรสมาชิกและหมายเลขเฉพาะหรื อหมายเลขการจองของตัCวต่างๆทั-งจาก
การเชือมต่อกับเว็บเซอร์วสของระบบการรับข้อความSMSจากผูให้บริ การและ
                          ิ                              ้
การพิมพ์ขอมูลโดยตรงมาทาการสร้างเป็ นบาร์โค้ดบนจอภาพโทรศัพท์เคลือ
           ้
นทีเพือรองรับการอ่านจากเครื องอ่านบาร์โค้ดในการใช้งานต่อไปโดยระบบที
พัฒนาขึ้นจะเป็ นนวัตกรรม
       ใหม่ซึงช่วยอานวยความสะดวกและช่วยให้เกิดความรวดเร็ วในการ
ดาเนินธุรกิจโดยทาให้ผใช้ระบบในส่ วนโปรแกรมประยุกต์บนโทรศัพท์เคลือ
                       ู้
นทีของระบบสามารถลดภาระการเก็บดูแลรักษาบัตรสมาชิกใบแจ้งค่าบริ การ
และตัCวต่างๆเพิมความสะดวกรวดเร็วในการยืนยันออกตัCวจริ งจากการจองตั
Cวต่างๆด้านผูให้บริ การต่างๆสามารถลดการใช้ตนทุนและทรัพยากรธรรมชาติ
               ้                               ้
จากการผลิตบัตรสมาชิกใบแจ้งค่าบริ การและตัCวต่างๆเช่นพลาสติกกระดาษ
หมึกพิมพ์เป็ นต้นโครงการนี -ได้มีการสร้างส่ วนจาลองเพือใช้ในการทดสอบ
ระบบสองส่ วนส่ วนแรกคือส่ วนเว็บเซอร์วสและโปรแกรมประยุกต์สาขาของผู ้
                                         ิ
ให้บริ การส่ วนทีสองคือส่ วนโปรแกรมประยุกต์ของบริ ษทตัวแทนรับชาระเงิน
                                                     ั

ทีมา:
http://www.thaigoodview.com/node/17030?page=0%2C7http://namkwanmay
.wordpress.com/2011/02/08/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E
0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%97%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%
B8%87%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%
87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1
%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7/https://sites.google.com/site/luks
aduankhorngnganthekhnoloyi/tawxyang-khorng-ngan-khxmphiwtexr


                  นาย ชนาธิป คุณยศยิ่ง ม.6/14 เลขที่ 14

Contenu connexe

Tendances

โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226
โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226
โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226Me'e Mildd
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
โครงงานพัฒนาเครื่องมือโครงงานพัฒนาเครื่องมือ
โครงงานพัฒนาเครื่องมือpim12582
 
ใบงานท 3 ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
ใบงานท   3 ขอบเขตและประเภทของโครงงานใบงานท   3 ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 ขอบเขตและประเภทของโครงงานTanyaporn Puttawan
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5Aungkana Na Na
 
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์miiztake
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีmcf_cnx1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Saipanyarangsit School
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 612/2557
โครงงานคอมพิวเตอร์ 612/2557โครงงานคอมพิวเตอร์ 612/2557
โครงงานคอมพิวเตอร์ 612/2557Pisit Ausa
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมPatchara Pussadee
 
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้Nuties Electron
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานNuchy Geez
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Kamonthip Konkaew
 
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”Mymi Santikunnukan
 
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5miiztake
 
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์Fiction Lee'jslism
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์opor kwn
 
(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)JoyCe Zii Zii
 

Tendances (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226
โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226
โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
โครงงานพัฒนาเครื่องมือโครงงานพัฒนาเครื่องมือ
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
 
ใบงานท 3 ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
ใบงานท   3 ขอบเขตและประเภทของโครงงานใบงานท   3 ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 ขอบเขตและประเภทของโครงงาน
 
5 6-7-8
5 6-7-85 6-7-8
5 6-7-8
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ 612/2557
โครงงานคอมพิวเตอร์ 612/2557โครงงานคอมพิวเตอร์ 612/2557
โครงงานคอมพิวเตอร์ 612/2557
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้
ใบงานที่ 7 โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้
 
งานคอม (1)
งานคอม (1)งานคอม (1)
งานคอม (1)
 
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งานโครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
โครงงานประเภท “การพัฒนาเครื่องมือ”
 
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานประเภทพัฒนาเครื่องมือ 5
 
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
K3
K3K3
K3
 
(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)
 

En vedette

En vedette (9)

04
0404
04
 
O net physical education-art-occupation&technology
O net physical education-art-occupation&technologyO net physical education-art-occupation&technology
O net physical education-art-occupation&technology
 
10
1010
10
 
O net Social
O net SocialO net Social
O net Social
 
11
1111
11
 
03
0303
03
 
02
0202
02
 
16
1616
16
 
Blog
BlogBlog
Blog
 

Similaire à 08

ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Aungkana Na Na
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3Aungkana Na Na
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานAungkana Na Na
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานAungkana Na Na
 
(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)JoyCe Zii Zii
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานcartoon656
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานRatanamon Suriya
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3natnardtaya
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Rattana Wongphu-nga
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3minimalistknont
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3Nontt' Panich
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศคีตะบลู รักคำภีร์
 

Similaire à 08 (20)

ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงานใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานที่3 เรื่องขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)(ใบงานที่ 3)
(ใบงานที่ 3)
 
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงานขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทของโครงงาน
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
3.3
3.33.3
3.3
 
ใบงาน3
ใบงาน3ใบงาน3
ใบงาน3
 
K4
K4K4
K4
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
K311
K311K311
K311
 
K311
K311K311
K311
 
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งาน3
งาน3งาน3
งาน3
 
K3
K3K3
K3
 

Plus de thebam29

Plus de thebam29 (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Projectm6
Projectm6Projectm6
Projectm6
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
15
1515
15
 
14
1414
14
 
09
0909
09
 
07
0707
07
 
05
0505
05
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
O net thai
O net thaiO net thai
O net thai
 
O net science
O net scienceO net science
O net science
 
16
1616
16
 
15
1515
15
 
14
1414
14
 
O net mathematics
O net mathematicsO net mathematics
O net mathematics
 
O net english
O net englishO net english
O net english
 
10
1010
10
 
07
0707
07
 

08

  • 1. ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ ” ความหมาย โปรแกรมประยุกต์ หรื อ ซอฟต์แวร์ประยุกต์คือ แบ่งออกเป็ น 1.ซอฟต์ แวร์ สำเร็จ เป็ นซอฟต์แวร์ที่บริ ษทพัฒนาขึ้น แล้วนาออกมา ั จาหน่าย เพื่อให้ผใช้งานซื้อไปใช้ได้โดยตรง ไม่ตองเสี ยเวลาในการพัฒนา ู้ ้ ซอฟต์แวร์อีก 2.ซอฟต์ แวร์ ใช้ งำนเฉพำะ มักเป็ นซอฟต์แวร์ที่ผพฒนาต้องเข้าไปศึกษา ู้ ั รู ปแบบการทางานหรื อความต้องการของธุรกิจนั้น ๆ แล้วจัดทาขึ้น โดยทัวไป ่ จะเป็ นซอฟต์แวร์ที่มีหลายส่ วนรวมกันเพื่อร่ วมกันทางาน ตัวอย่างของ ั ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะที่ใช้กนในทางธุรกิจ เช่น ระบบงานทางด้านบัญชี ระบบงานจัดจาหน่าย ระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรม บริ หารการเงิน และ การเช่าซื้อ เป็ นต้น Credit : http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=1bf12134f88bc8eb
  • 2. ตัวอย่ างที่ 1 การประยุกต์ คอมพิวเตอร์ เพือพัฒนาโครงงาน ่ ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ 1. โครงงานพัฒนาสื่ อเพือการศึกษา ลักษณะเด่นของโครงงาน ่ ประเภทนี้ คือ เป็ นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่ อเพื่อการศึกษา โดย การสร้างโปรแกรมบทเรี ยนหรื อหน่วยการเรี ยน ซึ่ งอาจจะต้องมีภาค แบบฝึ กหัด บททบทวน และคาถามคาตอบไว้พร้อม ผูเ้ รี ยนสามารถเรี ยนแบบรายบุคคลหรื อรายกลุ่มการสอน โดยใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้ ถือว่าคอมพิวเตอร์เป็ นอุปกรณ์การสอน ซึ่ งอาจเป็ น การพัฒนาบทเรี ยนแบบออนไลน์ ให้ผเู ้ รี ยนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงาน ประเภทนี้สามารถพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชาต่างๆ โดยผูเ้ รี ยนอาจคัดเลือกเนื้อหาที่เข้าใจยาก มาเป็ นหัวข้อในการพัฒนาสื่ อเพื่อ การศึกษา ตัวอย่างโครงงาน เช่น การเคลื่อนที่แบบโปรเจ็กไตล์ ระบบสุ ริย จักรวาล ตัวแปรต่างๆ ที่มีผลต่อการชากิ่งกุหลาบ หลักภาษาไทย และสถานที่ สาคัญของประเทศไทย เป็ นต้น 2. โครงงานประเภทการประยุกต์ ใช้ งาน โครงงานประยุกต์ใช้งาน เป็ นโครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ในการ สร้างผลงานเพื่อประยุกต์ใช้งานจริ งใน ชีวตประจาวัน อาทิเช่น ซอฟต์แวร์สาหรับการออกแบบและตกแต่งภายใน ิ อาคาร ซอฟต์แวร์สาหรับการผสมสี และซอฟต์แวร์สาหรับการระบุคนร้าย เป็ นต้น โครงงานประเภทนี้จะมีการประดิษฐ์ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ หรื ออุปกรณ์
  • 3. ใช้สอยต่างๆ ซึ่งอาจเป็ นการคิดสร้างสิ่ งของขึ้นใหม่ หรื อปรับปรุ งเปลี่ยนแปลง ่ ของเดิมที่มีอยูแล้วให้มีประสิ ทธิภาพสู งขึ้น โครงงานลักษณะนี้จะต้องศึกษา และวิเคราะห์ความต้องการของผูใช้ก่อน แล้วนาข้อมูลที่ได้มาใช้ในการ ้ ออกแบบ และพัฒนาสิ่ งของนั้นๆ ต่อจากนั้นต้องมีการทดสอบการทางานหรื อ ทดสอบคุณภาพของสิ่ งประดิษฐ์แล้วปรับ ปรุ งแก้ไขให้มีความสมบูรณ์ โครงงานประเภทนี้ผเู้ รี ยนต้องใช้ความรู้เกี่ยวกับเครื่ องคอมพิวเตอร์ ภาษา โปรแกรม และเครื่ องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง 3. โครงงานพัฒนาเกม โครงงานประเภทนี้เป็ นโครงงาน พัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพื่อความรู้หรื อเพือความ เพลิดเพลิน เกมที่พฒนาควรจะ ่ ั เป็ นเกมที่ไม่รุนแรง เน้นการใช้สมองเพื่อฝึ กคิดอย่างมีหลักการ โครงงาน ประเภทนี้จะมีการออกแบบลักษณะและกฎเกณฑ์การเล่น เพื่อให้น่าสนใจแก่ผู ้ เล่น พร้อมทั้งให้ความรู้สอดแทรกไปด้วย ผูพฒนาควรจะได้ทาการสารวจและ ้ ั รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเกมต่างๆ ที่มีอยูทวไป และนามาปรับปรุ งหรื อ ่ ั่ พัฒนาขึ้นใหม่ เพื่อให้เป็ นเกมที่แปลกใหม่ และน่าสนใจแก่ผเู ้ ล่นกลุ่มต่างๆ 4. โครงงานพัฒนาเครื่องมือ โครงงานประเภทนี้เป็ นโครงงานเพื่อ พัฒนาเครื่ องมือช่วย สร้างงานประยุกต์ต่างๆ โดยส่ วนใหญ่จะอยูในรู ป ่ ซอฟต์แวร์ เช่น ซอฟต์แวร์วาดรู ป ซอฟต์แวร์พิมพ์งาน และซอฟต์แวร์ช่วยการ มองวัตถุในมุมต่างๆ เป็ นต้น สาหรับซอฟต์แวร์เพื่อการพิมพ์งานนั้นสร้างขึ้น เป็ นโปรแกรมประมวลคา ซึ่งจะเป็ นเครื่ องมือให้เราใช้ในการพิมพ์งานต่างๆ บนเครื่ องคอมพิวเตอร์ ส่ วนซอฟต์แวร์การวาดรู ป พัฒนาขึ้นเพื่ออานวยความ สะดวกให้การวาดรู ปบนเครื่ องคอมพิวเตอร์ให้เป็ นไปได้ โดยง่าย สาหรับ
  • 4. ซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆ ใช้สาหรับช่วยการออกแบบสิ่ งของ ่ อาทิเช่น ผูใช้วาดแจกันด้านหน้า และต้องการจะดูวาด้านบนและด้านข้างเป็ น ้ อย่างไร ก็ให้ซอฟต์แวร์คานวณค่าและภาพที่ควรจะเป็ นมาให้ เพื่อพิจารณาและ แก้ไขภาพแจกันที่ออกแบบไว้ได้อย่างสะดวก 5. โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี โครงงานประเภทนี้เป็ น โครงงานที่ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการ จาลองการทดลองของสาขาต่างๆ ซึ่ง เป็ นงานที่ไม่สามารถทดลองด้วยสถานการณ์จริ งได้ เช่น การจุดระเบิด เป็ นต้น และเป็ นโครงงานที่ผทาต้องศึกษารวบรวมความรู้ หลักการ ข้อเท็จจริ ง และ ู้ แนวคิดต่างๆ อย่างลึกซึ้งในเรื่ องที่ตองการศึกษาแล้วเสนอเป็ นแนวคิด ้ ่ แบบจาลอง หลักการ ซึ่งอาจอยูในรู ปของสู ตร สมการ หรื อคาอธิบาย พร้อม ็ ทั้งารจาลองทฤษฏีดวยคอมพิวเตอร์ให้ออกมาเป็ นภาพ ภาพที่ได้กจะเปลี่ยนไป ้ ตามสูตรหรื อสมการนั้น ซึ่งจะทาให้ผเู ้ รี ยนมีความเข้าใจได้ดียงขึ้น การทา ิ่ ่ ู้ โครงงานประเภทนี้มีจุดสาคัญอยูที่ผทาต้องมีความรู ้ในเรื่ องนั้นๆ เป็ นอย่างดี ตัวอย่างโครงงานจาลองทฤษฎี เช่น การทดลองเรื่ องการไหลของของเหลว การ ทดลองเรื่ องพฤติกรรมของปลาปิ รันย่า และการทดลองเรื่ องการมองเห็นวัตถุ แบบสามมิติ เป็ นต้น จากการศึกษาประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ ทาให้ผจดทาได้ทราบว่า ู้ ั โครงงานคอมพิวเตอร์มีกี่ประเภท รายละเอียดของแต่ละประเภท มีอะไรบ้าง ทาให้ผจดทาสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปสร้างสรรค์ผลงานให้ถูกประเภท ู้ ั ยิงขึ้น และสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ แก่ผอื่นได้ ่ ู้
  • 5. ขั้นตอนการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ 1. คัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ 2. ศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล 3. จัดทาเค้าโครงของโครงงาน เมื่อผูเ้ รี ยนได้ศึกษาเอกสารอ้างอิงต่างๆ และเลือกเรื่ องที่จะทาโครงงานคอมพิวเตอร์ รวมทั้งวางแผนการทาโครงงาน ทุกขั้นตอน โดยปรึ กษากับอาจารย์ที่ปรึ กษาหรื อผูทรงคุณวุฒิแล้ว จึงเขียนเค้า ้ โครงของโครงงานเพื่อใช้เป็ นกรอบแนวคิดและแนวทาง ตลอดจนข้อตกลง ต่างๆ ในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์ระหว่างผูเ้ รี ยน อาจารย์ และผูเ้ กี่ยวข้อง นอกจากจะต้องใช้หลักการทางวิชาการแล้ว ยังจาเป็ นต้องมีขอตกลงและเงือน ้ ไขต่างๆ ด้วย เช่น การขออนุญาตใช้หองปฏิบติการคอมพิวเตอร์ การจัดหา ้ ั ลิขสิ ทธิ์ของซอฟต์แวร์ เครื่ องมือและตัวแปลภาษาโปรแกรม เป็ นต้น เพื่อช่วย ให้การทาโครงงานดาเนินไปอย่างราบรื่ น 4. การลงมือทาโครงงาน 5. การเขียนรายงาน 6. การนาเสนอและแสดงโครงงาน คอมพิวเตอร์ กราฟิ กกับการประยุกต์ ใช้ ในงานด้ านต่ างๆ 1. คอมพิวเตอร์ กราฟิ กกับการออกแบบ คอมพิวเตอร์กราฟิ กได้ถูกนามาใช้ในการออกแบบมาเป็ นเวลานาน เรา คงจะเคยได้ยนคาว่า CAD (Computer - Aided Design) ซึ่งเป็ นโปรแกรม ิ สาหรับช่วยในการออกแบบทางวิศวกรรม โปรแกรมเหล่านี้จะช่วยให้
  • 6. ผูออกแบบหรื อวิศวกรออกแบบงานต่างๆ ได้สะดวกขึ้น กล่าวคือ ผูออกแบบ ้ ้ สามารถเขียนเป็ นแบบลายเส้นแล้วลงสี แสงเงา เพื่อให้ดูคล้ายกับของจริ งได้ นอกจากนี้แล้วเมื่อผูออกแบบกาหนดขนาดของวัตถุลงในระบบ CAD แล้ว ้ ผูออกแบบยังสามารถย่อหรื อขยายภาพนั้น หรื อต้องการหมุนภาพไปในมุม ้ ต่างๆ ได้ดวย การแก้ไขแบบก็ทาได้ง่ายและสะดวกกว่าการออกแบบบน ้ กระดาษ ทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์กราฟิ กถูก นามาใช้ในการออกแบบวงจรต่างๆ ผูออกแบบสามารถวาดวงจรบนจอภาพ ้ โดยใช้สญลักษณ์ต่างๆ ที่ระบบจัดเตรี ยมไว้ให้แล้วมาประกอบกันเป็ นวงจรที่ ั ต้องการ ผูออกแบบสามารถแก้ไข ตัดต่อ เพิ่มเติมวงจรได้โดยสะดวก ้ นอกจากนี้ยงมีโปรแกรมสาหรับออกแบบ PCB (Printed Circuit Board) ซึ่งมี ั ความสามารถจัดการให้แผ่นปริ นต์มีขนาดที่จะวางอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ ได้เหมาะสมที่สุด การออกแบบพาหนะต่างๆ เช่น รถยนต์ เครื่ องบิน หรื อเครื่ องจักรต่างๆ ในปัจจุบนก็ใช้ระบบ CAD นักออกแบบสามารถจะออกแบบส่ วนย่อยๆ แต่ละ ั ส่ วนก่อน แล้วนามาประกอบกันเป็ นส่ วนใหญ่ข้ ึนจนเป็ นเครื่ องจักรเครื่ องยนต์ ที่ตองการได้ นอกจากนี้ในบางระบบยังสามารถที่จะทดสอบแบบจาลองที่ ้ ออกแบบไว้ได้ดวย เช่น อาจจะออกแบบรถยนต์แล้วนาโครงสร้างของรถที่ ้ ออกแบบนั้นมาจาลองการวิง โดยให้วงที่ความเร็ วต่างๆ กันแล้วตรวจดูผลที่ได้ ่ ่ิ ซึ่งการทดลองแบบนี้สามารถทาได้ในระบบคอมพิวเตอร์และจะประหยัดกว่า การสร้างรถจริ งๆ แล้วนาออกมาศึกษาทดสอบการวิง ่
  • 7. การออกแบบโครงสร้าง เช่น ตึก บ้าน สะพาน หรื อโครงสร้างใดๆ ทาง วิศวกรรมโยธาและสถาปั ตยกรรม ก็สามารถทาได้โดยใช้ CAD ช่วยในการ ออกแบบ หลังจากสถาปนิกออกแบบโครงสร้างในแบบ 2 มิติเสร็จแล้ว ระบบ CAD สามารถจัดการให้เป็ นภาพ 3 มิติ และยังสามารถแสดงภาพที่ มุมมองต่างๆ กันได้ตามที่ผออกแบบต้องการ นอกจากนี้ ในบางระบบสามารถ ู้ แสดงภาพให้ปรากฏต่อผูออกแบบราวกับว่าผูออกแบบสามารถเดินเข้าไป ้ ้ ภายในอาคารที่ออกแบบได้ดวย ้ 2. กราฟและแผนภาพ คอมพิวเตอร์กราฟิ กถูกนามาใช้ในการแสดงภาพกราฟและแผนภาพของ ข้อมูลได้เป็ นอย่างดี โปรแกรมทางกราฟิ กทัวไปในท้องตลาดจะเป็ นโปรแกรม ่ ที่ใช้ในการสร้างภาพกราฟและแผนภาพ โปรแกรมเหล่านี้ยงสามารถสร้าง ั กราฟได้หลายแบบ เช่น กราฟเส้น กราฟแท่ง และกราฟวงกลม นอกจากนี้ยง ั สามารถแสดงภาพกราฟได้ท้งในรู ปแบบ 2 มิติ และ 3 มิติ ทาให้ภาพกราฟที่ได้ ั ดูดีและน่าสนใจ กราฟและแผนภาพทางธุรกิจ เช่น กราฟหรื อแผนภาพแสดง การเงิน สถิติ และข้อมูลทางเศรษฐกิจ จะเป็ นประโยชน์ต่อผูบริ หารหรื อ ้ ผูจดการกิจการมาก เนื่องจากสามารถทาความเข้าใจกับข้อมูลได้ง่ายและ ้ั รวดเร็วกว่าเดิม ในงานวิจยต่างๆ เช่น การศึกษาทางฟิ สิ กส์ กราฟและแผนภาพ ั มีส่วนช่วยให้นกวิจยทาความเข้าใจกับข้อมูลได้ง่ายขึ้นเมื่อข้อมูลที่ตอง ั ั ้ วิเคราะห์มีจานวนมาก
  • 8. ระบบข้อมูลทางภูมิศาสตร์ หรื อ GIS (Geographical Information System) ก็เป็ นรู ปแบบหนึ่งของการแสดงข้อมูลในทานองเดียวกับกราฟและ แผนภาพ ข้อมูลทางภูมิศาสตร์จะถูกเก็บลงในระบบคอมพิวเตอร์ แล้วให้ระบบ คอมพิวเตอร์กราฟิ กจัดการแสดงข้อมูลเหล่านั้นออกมาทางจอภาพในรู ปของ แผนที่ทางภูมิศาสตร์ 3. ภาพศิลป์ โดยคอมพิวเตอร์ กราฟิ ก การวาดภาพในปัจจุบนนี้ใครๆ ก็สามารถวาดได้แล้วโดยไม่ตองใช้พกน ั ้ ู่ ั กับจานสี แต่จะใช้คอมพิวเตอร์กราฟิ กแทน ภาพที่วาดในระบบคอมพิวเตอร์ กราฟิ กนี้เราสามารถกาหนดสี แสงเงา รู ปแบบลายเส้นที่ตองการได้โดยง่าย ้ ภาพโฆษณาทางโทรทัศน์หลายชิ้นก็เป็ นงานจากการใช้คอมพิวเตอร์กราฟิ ก ข้อดีของการใช้คอมพิวเตอร์วาดภาพก็คือ เราสามารถแก้ไขเพิ่มเติมส่ วนที่ ต้องการได้ง่าย นอกจากนี้เรายังสามารถนาภาพต่างๆ เก็บในระบบคอมพิวเตอร์ ได้โดยใช้เครื่ องสแกนเนอร์ (Scanner) แล้วนาภาพเหล่านั้นมาแก้ไข
  • 9. 4. ภาพเคลือนไหวโดยใช้ คอมพิวเตอร์ ่ ภาพยนตร์การ์ตูนและภาพยนต์ประเภทนิยายวิทยาศาสตร์หรื อภาพยนตร์ ที่ใช้เทคนิคพิเศษต่างๆ ในปัจจุบนมีการนาคอมพิวเตอร์กราฟิ กเข้ามาช่วยใน ั การออกแบบและสร้างภาพเคลื่อนไหว (Computer Animation) มากขึ้น เนื่องจากเป็ นวิธีที่สะดวก รวดเร็ว และง่ายกว่าวิธีอื่นๆ นอกจากนี้ภาพที่ได้ยงดู ั สมจริ งมากขึ้น เช่น ภาพยานอวกาศที่ปรากฏในภาพยนตร์ประเภทนิยาย ่ วิทยาศาสตร์ เป็ นต้น การใช้คอมพิวเตอร์กราฟิ กช่วยให้ภาพที่อยูในจินตนาการ ของมนุษย์สามารถนาออกมาทาให้ปรากฏเป็ นจริ งได้ ภาพเคลื่อนไหวมี ประโยชน์มากทั้งในระบบการศึกษา การอบรม การวิจย และการจาลองการ ั ทางาน เช่น จาลองการขับรถ การขับเครื่ องบิน เป็ นต้น เกมส์คอมพิวเตอร์หรื อ ็ วิดีโอเกมส์กใช้หลักการทาภาพเคลื่อนไหนในคอมพิวเตอร์กราฟิ กเช่นกัน 5. อิเมจโปรเซสซิงก์ คาว่าอิเมจโปรเซสซิ งก์ (Image Processing) หมายถึง การแสดงภาพที่เกิด จากการถ่ายรู ปหรื อจากการสแกนภาพให้ปรากฏบนจอภาพคอมพิวเตอร์ วิธีการทางอิเมจโปรเซสซิงก์จะต่างกับวิธีการของคอมพิวเตอร์กราฟิ ก กล่าวคือ ในระบบคอมพิวเตอร์กราฟิ ก ตัวคอมพิวเตอร์เองจะเป็ นตัวที่สร้างภาพ แต่เทค นิกทางอิเมจโปรเซสซิงก์น้ นใช้คอมพิวเตอร์สาหรับการจัดรู ปแบบของสี และ ั ่ แสงเงาที่มีอยูแล้วในภาพให้เป็ นข้อมูลทางดิจิตอล แล้วอาจจะมีวธีการทาให้ ิ ภาพที่รับเข้ามานั้นมีความชัดเจนมากขึ้นก่อน จากนั้นก็จดการกับข้อมูลดิจิตอล ั
  • 10. นี้ให้เป็ นภาพส่ งออกไปที่จอภาพของคอมพิวเตอร์อีกที วิธีการนี้มีประโยชน์ใน การแสดงภาพของวัตถุที่เราไม่สามารถจะเห็นได้โดยตรง เช่น ภาพถ่าย ดาวเทียม ภาพจากทีวสแกนของหุ่นยนต์อุตสาหกรรม เป็ นต้น ี เมื่อภาพถ่ายถูกทาให้เป็ นข้อมูลดิจิตอลแล้ว เราก็สามารถจะจัดการแก้ไข เปลี่ยนแปลงภาพนั้นได้โดยจัดการกับข้อมูลดิจิตอลของภาพนันเอง ซึ่ งเราก็จะ ่ ั ใช้หลักการของคอมพิวเตอร์กราฟิ กมาใช้กบข้อมูลเหล่านี้ได้ เช่น ในภาพ สาหรับการโฆษณา เราสามารถทาให้ภาพที่เห็นเหมือภาพถ่ายนั้นแปลกออกไป จากเดิมได้โดยมีภาพบางอย่างเพิ่มเข้าไปหรื อบางส่ วนของภาพนั้นหายไป ทา ให้เกิดภาพที่ไม่น่าจะเป็ นจริ งแต่ดูเหมือนกับเกิดขึ้นจริ งได้ เป็ นต้น ั เทคนิคของอิเมจโปเซสซิงก์สามารถประยุกต์ใช้กบการแพทย์ได้ เช่น เครื่ องเอกซเรย์ โทโมกราฟี (X-ray Tomography)ซึ่ งใช้สาหรับแสดง ภาพตัดขวางของระบบร่ างกายมนุษย์ เป็ นต้น ่ จากที่กล่าวมาแล้ว เราจะเห็นได้วาคอมพิวเตอร์กราฟิ กนั้นนับวันยิงมี ่ ความสาคัญในสาขาวิชาต่างๆ มากขึ้น ดังนั้นจึงเป็ นการดีที่เราควรจะมีความรู ้ ความเข้าใจในหลักการและเทคนิคเบื้องต้นต่างๆ ที่ใช้ในคอมพิวเตอร์กราฟิ ก
  • 12. ตัวอย่ างที่ 2 โครงการ การทบทวนวรรณกรรมและพัฒนาเครื่ องมือประเมินความพิการ กันยายน 2554 พญ.ศิรินาถ ตงศิริ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คานา เอกสารฉบับนี้เป็ นรายงานปิ ดโครงการการทบทวนวรรณกรรม และพัฒนา เครื่ องมือเพือใช้ในการประเมินความพิการในชุมชนโดยใช้รหัส ICF ซึ่งได้รับ ่ งบประมาณสนับสนุนการดาเนินงานจากสถาบันสร้างเสริ มสุ ขภาพคนพิการ (สสพ.) ได้เริ่ มดาเนินโครงการมาตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2553 และกาหนดแล้ว เสร็จในเดือนตุลาคม 2554 ดาเนินการโดย อ.ดร.พญ.ศิรินาถ ตงศิริ คณะ แพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ในระหว่างการดาเนินโครงการ ผูวจยได้เขียนรายงานสรุ ปโครงการที่ได้ ้ิั ั ดาเนินการเสร็จสิ้ นในแต่ละขั้นตอนเพือรายงานความก้าวหน้าให้กบสสพ. และ ่ เมื่อได้ดาเนินโครงการแล้วเสร็จทั้งหมด ผูวจยได้เขียนรายงานฉบับเต็มนี้ข้ ึน ้ิั และได้มีการปรับปรุ งเนื้อหาบางส่ วนให้มีความถูกต้อง และปรับเนื้อความให้ ่ กระชับมากยิงขึ้น ดังนั้น เนื้อหาบางอย่างที่อยูในรายงานฉบับนี้อาจมีความ ่ แตกต่างกับรายงานย่อยที่ได้ส่งไปก่อนหน้านี้
  • 13. ความรู้ที่ผวจยได้รับมากที่สุดในการดาเนินโครงการนี้ คือ การนารหัส ู้ ิ ั ICF ไปใช้ในการเก็บข้อมูลคนพิการ ผูวจยได้รู้จกรหัส ICF ตั้งแต่ประมาณ 5-6 ้ิั ั ปี ที่แล้ว แต่ยงไม่มีโอกาสได้เรี ยนรู้ ทาความเข้าใจ และได้ทดลองนาไปใช้งาน ั จนกระทังได้มาทางานวิจยนี้ ผูวจยเห็นว่า การใช้รหัส ICF นี้มีประโยชน์อย่าง ่ ั ้ิั ยิงในการปรับมุมมองการทางานกับคนพิการให้ครอบคลุมทุกมิติ ใช้ในการ ่ ่ สื่ อสารกับผูให้บริ การที่ไม่ได้อยูในสายงานอาชีพเดียวกันให้สามารถทางานไป ้ ด้วยกันได้ ประโยชน์สูงสุ ดที่เกิดขึ้น คือ คุณภาพชีวตของคนพิการที่ควรจะ ิ ได้รับการพัฒนาให้ดียงขึ้นจากการมีมุมมองรอบด้านและการสื่ อสารที่เป็ นไป ิ่ ่ อย่างดีอยูบนพื้นฐานของการเข้าใจและพูดถึงสิ่ งเดียวกันของผูปฏิบติงาน ้ ั หวังเป็ นอย่างยิงว่า ผูที่ได้นารหัส ICF ไปใช้ในงานของตน จะได้รับความรู้สึก ่ ้ อย่างนี้ และนาไปพัฒนาคุณภาพชีวตคนพิการอย่างได้ผลดีและมีประสิ ทธิภาพ ิ ต่อไป.. ที่มา http://www.healthyability.com/detail_new.php?content_id=804
  • 14. ตัวอย่ างที่ 3 โครงการ เครื่ องมือวัดสเปกตรัมแสงสาหรับนาโนพลาสโมนิกส์และการ ประยุกต์ใช้งานทางชีวภาพ โครงการวิจัยนี้ ตัวอย่ างเครื่องมือทีต้องการสร้ างขึนประกอบด้ วย ่ ้ อุปกรณ์สาหรับวัดสเปกตรัมการกระเจิงแสงสาหรับโครง สร้างระดับนา ั โนของโลหะ สาหรับใช้กบกล้องจุลทรรศน์เชิงแสงทัวไป ่ ชุดทดลองสาหรับวัดสเปกตรัมการกระเจิงแสง (Scattering spectrum) หรื อการลดทอนแสง (Extinction spectrum) สาหรับสารตัวอย่างที่เป็ น สารละลายและมีปริ มาณน้อย เช่น มีปริ มาตร 10 - 100 ไมโครลิตร เป็ นต้น อุปกรณ์และชุดทดลองเชิงแสงดังกล่าว จะช่วยให้นกวิจยในประเทศ ั ั สามารถตรวจวัดคุณสมบัติเชิงแสงของโครงสร้างระดับ นาโนได้แม่นยามาก ขึ้น โดยไม่ตองจัดหาเครื่ องมือวิเคราะห์ที่มีราคาแพงจากต่างประเทศ ้ เครื่ องมืออีกชนิดหนึ่งที่มีความสาคัญในการศึกษาคุณสมบัติเชิงแสงของ โครง สร้างระดับนาโนคือ ซอฟต์แวร์สาหรับการจาลองเชิงตัวเลขโดยใช้ เทคนิค Finite-different time-domain (FDTD) ซอฟต์แวร์ดงกล่าวนิยมใช้ใน ั การคานวณหาสเปกตรัมแสงของอนุภาคและสนามไฟฟ้ ารอบๆ อนุภาค ผลการ คานวณสามารถนามาอธิบายผลการทดลองได้ เพื่อให้เข้าใจหลักการทางาน ของอนุภาคได้ชดเจนมากขึ้น ซอฟต์แวร์ FDTD มีใช้งานโดยทัวไป แต่การใช้ ั ่ งานกับโครงสร้างระดับนาโนของโลหะนั้นต้องใช้ความรู ้ความชานาญเฉพาะ
  • 15. ด้าน การพัฒนาบุคลากรที่มีความรู ้ความเชี่ยวชาญด้านนี้ข้ ึนในเนคเทค จะ สามารถช่วยสนับสนุนการวิจยและพัฒนาในสาขานี้ได้ ั เพื่อแสดงความเป็ นไปได้ของการประยุกต์ใช้โครงสร้างระดับนาโนของ โลหะกับการ พัฒนาเป็ นไบโอเซนเซอร์ขนาดเล็ก ทีมวิจยจะเลือกตัวอย่าง ั โครงสร้างนาโนที่ได้รับการศึกษาวิจยไประดับหนึ่ง เช่น อนุภาคนาโนของทอง ั หรื ออนุภาคนาโนคู่ของทอง (Gold nanoparticle dimers) ซึ่งเป็ นโครงสร้างที่มี ั อนุภาคนาโน 2 อนุภาค ถูกจับยึดเข้าใกล้กนด้วยสายดีเอ็นเอเป้ าหมาย ดังรู ปที่ 4 ั (ดร.สุ กญญา แซ่เอี๋ยว, BIOTEC) โครงสร้างดังกล่าวถูกนาไปใช้เป็ นดีเอ็นเอ เซนเซอร์ อย่างไรก็ตาม ยังไม่ได้รับการศึกษาคุณสมบัติเชิงแสงโดยละเอียด โดยเฉพาะระดับอนุภาค ซึ่งทีมวิจยจะนาโครงสร้างนาโนดังกล่าวมาทดลองวัด ั คุณสมบัติเชิงแสงเพิ่มเติม ด้วยอุปกรณ์และชุดทดลองที่สร้างขึ้น และ เปรี ยบเทียบกับผลการจาลองด้วยซอฟต์แวร์ FDTD ทีมวิจยคาดหมายว่าจากผล ั การทดลองและการคานวณที่ได้ จะทาให้สามารถพัฒนาแนวทางใหม่ๆ ในการ พัฒนาไบโอเซนเซอร์ดงกล่าวให้มีประสิ ทธิภาพสู งขึ้น เช่น สามารถตรวจวัด ั ได้ที่ความเข้มข้นของดีเอ็นเอเป้ าหมายได้ต่าลงกว่าเดิม ครุ ภณฑ์หลักที่สาคัญในการสร้างอุปกรณ์และชุดทดลองดังกล่าว เช่น กล้อง ั จุลทรรศน์เชิงแสง กล้องซีซีดีสาหรับแสงความเข้มต่า ซอฟต์แวร์ FDTD สเปก โตรมิเตอร์ เป็ นต้น ห้องปฏิบติการวิจยเทคโนโลยีโฟโตนิกส์ได้จดหาไว้แล้ว ั ั ั ผ่านการจัดสรร ครุ ภณฑ์ประจาปี (Capacity building) และบางส่ วนอยูใน ั ่ ระหว่างการจัดหาเพิ่มเติม
  • 16. อนึ่ง โครงสร้างระดับนาโนของโลหะ (Metallic nanostructures) มี ปรากฎการณ์เชิงแสงที่แตกต่างจากโครงสร้างโลหะทัวไปอย่างมาก เมื่อมอง ่ ด้วยตาเปล่าเราจะพบว่าโครงสร้างระดับนาโนของโลหะจะมีสีต่างๆ ขึ้นอยูกบ ่ ั ขนาด ชนิดโลหะ และสภาพแวดล้อม ปรากฏการณ์ดงกล่าวสามารถอธิบายได้ ั โดยใช้ทฤษฎีการกระเจิงแสงสาหรับโครงสร้าง ระดับนาโน และการเกิดคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้ าเนื่องจากการสันของอิเล็กตรอนอิสระที่ผวโลหะ คลื่น ่ ิ แม่เหล็กไฟฟ้ าดังกล่าวเป็ นคลื่นผิวและสามารถเคลื่อนที่ได้ตามแนวพื้น ผิวเป็ น ระยะทางสั้นๆ นิยมเรี ยกคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าดังกล่าวว่า Surface plasmon polaritons (SPP) หรื อเรี ยกสั้นๆ ว่า พลาสโมนิกส์หรื อนาโนพลาสโมนิกส์ (Plasmonics/Nanoplasmonics) ปรากฏการณ์น้ ีได้รับความสนใจอย่างมากจาก นักวิจยทัวโลก เพราะสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้หลายด้าน โดยเฉพาะใน ั ่ สาขาชีวภาพ เช่น การตรวจวินิจฉัยและการรักษาโรคมะเร็ ง ไบโอเซนเซอร์ที่มี ขนาดเล็ก การศึกษากลไกการทางานของเซลล์สิ่งมีชีวต เป็ นต้น ปั จจุบนนี้ ิ ั โครงสร้างระดับนาโนของโลหะกลายเป็ นวัสดุที่สาคัญสาหรับการ ประยุกต์ใช้ ในทางชีวภาพหรื อในสาขาไบโอนาโนเทคโนโลยี (Nanobiotechnology) วัตถุ ประสงค์ ของโครงการ 1. สร้างชุดลองวัดสเปกตรัมการกระเจิงแสงและสเปกตรัมการลดทอน ของแสงสาหรับอนุภาค นาโนหรื อโครงสร้างระดับนาโนของโลหะ สาหรับใช้ ในการวิจยและพัฒนา ั
  • 17. 2. ศึกษาคุณสมบัติเชิงแสงโครงสร้างระดับนาโนของโลหะ เช่น อนุภาค นาโนเดี่ยวหรื ออนุภาคนาโนคู่ของทอง (Gold nanoparticle dimers) โดยใช้ การศึกษาทางทฤษฎีและโปรแกรม Finite difference time domain (FDTD) และการทดลองโดยใช้ชุดทดลองที่สร้างขึ้น 3. ศึกษาแนวทางการประยุกต์ใช้อนุภาคนาโนของทองเป็ น ไบโอเซนเซอร์ที่มีขนาดเล็ก บทคัดย่ อ อนุภาค นาโนของทองขนาด 10 - 100 nm มีสเปกตรัมการกระเจิงแสง ในช่วง 530 - 600 nm โดยเมื่อขนาดใหญ่ข้ ึนสเปกตรัมการกระเจิงแสงจะเลื่อน ไปทางขวา คุณสมบัติเชิงแสงดังกล่าว ทาให้เมื่อสังเกตุอนุภาคนาโนของทอง ด้วยกล้องจุลทรรศน์ในโหมดดาร์คฟิ ลด์ (Dark-field microscopy) จะพบว่า อนุภาคขนาด 40 nm จะมีสีเขียวและอนุภาคที่มีขนาดใหญ่ข้ ึนจะมีสีเขียว- เหลืองหรื อค่อนข้างแดง ดังรู ปที่ 1 ปรากฏการณ์ดงกล่าวได้ถูกประยุกต์ใช้เป็ น ั หลักการวัดไบโอเซนเซอร์ที่มีขนาด เล็กและราคาถูก เช่น เมื่อเติมสารตัวอย่าง ที่มีโมเลกุลสารชีวภาพที่ตองการวัดปนอยู่ ลงไปในสารละลายที่มีอนุภาคนาโน ้ ของทองซึ่งติดผิวด้วยสารชีวภาพสาหรับตรวจจับ (Ligands) จะทาให้อนุภาค นาโนของทองเกิดการจับกลุ่มกัน (Aggregation) ทาให้สเปกตรัมการกระเจิง เลื่อนไปทางขวา ซึ่งสังเกตการเปลี่ยนสี ได้ดวยตาเปล่า ดังรู ปที่ 2 และรู ปที่ 3 ้ หรื อสามารถตรวจวัดด้วยเครื่ องมือเชิงแสงที่มีราคาถูก เหมาะสาหรับการใช้ งานแบบภาคสนามและการใช้งานแบบใช้แล้วทิ้ง (Disposable)
  • 18. นอกจากอนุภาคนาโนของทองแล้ว โครงสร้างระดับนาโนของโลหะ รู ปแบบอื่นๆ ยังได้รับความสนใจอย่างมากนามาประยุกต์ใช้เป็ นวัสดุตรวจวัด สาหรับไบโอเซน เซอร์ โดยมีเป้ าหมายการใช้งานที่คล้ายคลึงกันคือ การพัฒนา เซนเซอร์ที่มีขนาดเล็กเหมาะสาหรับการใช้งานภาคสนาม ตัวอย่างโครงสร้าง ระดับนาโนที่มีการรายงานไว้ เช่น นาโนโฮลและนาโนโฮลอาร์เรย์ นาโนปิ ระ มิด นาโนรอด สายอากาศนาโน เป็ นต้น ซึ่งเทคนิคการตรวจวัดคุณสมบัติ โครงสร้างนาโนเหล่านิ้ ส่ วนใหญ่แล้วจะใช้การวัดการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติ เชิงแสงของอนุภาคมากกว่าการ ตรวจวัดคุณสมบัติดานอื่นๆ เนื่องจากทาได้ ้ ง่ายกว่า ระยะ เวลาดาเนินโครงการ : 1 พฤษภาคม พ.ศ.2554 ถึง 30 เมษายน พ.ศ.2555 คณะผู้ วิจัย หัวหน้าโครงการ : นายบุญส่ ง สุ ตะพันธ์ ผูร่วมวิจย : นายสถาพร จันทน์หอม, นายอาโมทย์ สมบูรณ์แก้ว, นาย ้ ั รัฐศาสตร์ อัมฤทธิ์ ที่มา http://www.nectec.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=2 314:r54-&catid=340:2011-07-02-05-49-13&Itemid=1066
  • 19. ตัวอย่างที่ 4 โครงงานประเภทการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์" (GameDevelopment)โครงงานพัฒนาโปรแกรมประยุกต์หรื อโครงงานพัฒนา เกมโครงงานประเภทนีเป็ นโครงงานพัฒนาซอฟต์แวร์เกมเพือความรู้หรื อเพือ ความเพลิดเพลินเกมทีพฒนาควรจะเป็ นเกมทีไม่รุนแรงเน้นการใช้สมองเพือ ั ฝึ กคิดอย่างมีหลักการโครงงานประเภทนีจะมีการออกแบบลักษณะและ กฎเกณฑ์การเล่นเพือให้น่าสนใจแก่ผเู ้ ล่นพร้อมทังให้ความรู ้สอดแทรกไปด้วย ผูพฒนาควรจะได้ทาการสารวจและรวบรวมข้อมูลเกียวกับเกมต่างๆทีมีอยูทว ้ ั ่ ั ไปและนามาปรับปรุ งหรื อพัฒนาขึนใหม่เพือให้เป็ นเกมทีแปลกใหม่และ น่าสนใจแก่ผเู้ ล่นกลุ่มต่างๆตัวอย่างโครงงานประเภทพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ 1.เกมผจญภัยกับพระอภัยมณี 2.เกมอักษรเขาวงกต3.เกมเลือกตัง สมาชิกสภาผูแทนราษฎร4.เกมผจญภัยกับภาษาอังกฤษ5.เกมหมากฮอส6.เกม ้ บวกลบเลขแสนสนุก7.เกมศึกรามเกียรติC8.เกมมวยไทย9.เกมอักษรไขว้ โครงงานคอมพิวเตอร์เรื่ องสร้างเกมคณิ ตคิดเร็วออนไลน์ โดย 1.เด็กชายธันธวัช เอียมสะอาด 2.เด็กชายเสนา สุ ภาวะหา 3.เด็กชายสิ ทธิ กร สังข์อยูสุข ครู ที่ปรึ กษา นายณรงค์ ศักดิ์เจริ ญสิ ทธิชย ่ ั บทคัดย่ อ โครงงานสร้างเกมคณิ ตคิดเร็วออนไลน์เป็ นโครงงานทีประยุกต์เอา ซอฟแวร์ประเภทต่างๆมาใช้งานร่ วมกันเพือให้ได้โปรแกรมทีใช้งานได้ตาม
  • 20. จุดมุ่งหมายตามทีตงจุดประสงค์ไว้ได้แก่โปรแกรมออเธอร์แวร์โปรแกรมเฟรช ั แชตโปรแกรมแอปเซฟเวอร์โปรแกรมดรี มเว็บเวอร์และภาษาพีเฮชพีซึง โปรแกรมแบ่งออกเป็ น3ส่ วนใหญ่ดงต่อไปนี1.เซฟเวอร์ทีทาหน้าทีรับส่ งข้อมูล ั ระหว่างผูใช้ใช้โปรแกรมแอปเซฟเวอร์เป็ นเซฟเวอร์และใช้ภาษาพีเฮชพีเขียน ้ ด้วยโปรแกรมดรี มเว็บเวอร์ใช้ในการรับส่ งข้อมูลผูเ้ ล่น2.โปรแกรมติดต่อ สื อสารระหว่างผูใช้งานโปรแกรมได้แก่โปรแกรมเฟรชแชต3.โปรแกรมออ ้ เธอร์แวร์ใช้ในการเขียนโปรแกรมเพือผสมผสานการทางานของโปรแกรม ข้างต้นเพือให้ใช้งานได้ตามจุดประสงค์ผลการทาสร้างโปรแกรมปรากฏว่า สามารถสร้างโปรแกรมเกมคณิ ตคิดเร็วออนไลน์ทีสามารถเล่นผ่านระบบ เครื อข่ายตามจุดมุ่งหมายทีตงไว้ ั ขอบคุณข้อมูลจากhttp://www.gistda.or.th
  • 21. ตัวอย่ างที่ 5 โครงงานพัฒนาเครื องมือ(ToolsDevelopment)เป็ นโครงงานเพือพัฒนา เรื องมือมาใช้ช่วยสร้างงานประยุกต์ต่างๆซึ งโดยส่ วนใหญ่จะเป็ นในรู ป ซอฟต์แวร์ตวอย่างของเครื องมือช่วยงานเช่นซอฟต์แวร์วาดรู ปซอฟต์แวร์พิมพ์ ั งานซอฟต์แวร์ช่วยการมองวัตถุในมุมต่างๆเป็ นต้นสาหรับซอฟต์แวร์เพือการ พิมพ์งานนั-นสร้างขึ-นเป็ นโปรแกรมประมวลผลภาษาซึงจะเป็ นเครื องมือให้ เราใช้งานในงานพิมพ์ต่างๆบนเครื องคอมพิวเตอร์เป็ นไปได้โดยง่ายซึ งรู ปทีได้ สามารถนาไปใช้งานต่างๆได้มากมายสาหรับซอฟต์แวร์ ช่วยในการมองวัตถุใน มุมต่างๆใช้สาหรับช่วยในการออกแบบสิ งของต่างๆตัวอย่างเช่น1.โปรแกรม การค้นหาคาภาษาไทย2.โปรแกรมอ่านอักษรไทย3.โปรแกรมวาดภาพสามมิติ 4.โปรแกรมบีบอัดข้อมูล5.โปรแกรมประมวลผลคาไทยบนระบบปฏิบติการลี ั นุกซ์ ตัวอย่างโครงงานชื่อโครงงานระบบบาร์โค้ดบนโทรศัพท์เคลือนทีเพือ การดาเนินธุรกิจชื่อผูทาโครงงานนาย ฑีฆวัฒน์ เทพานวล, นาย ปวีณวัช ้ สุ รินทร์ , นาย ปิ ยะพงษ์ บุญมี ชื่ออาจารย์ทีปรึ กษาผศ.ดร.สุ ขมาลกิติสิน ุ สถาบันการศึกษามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ระดับชั8นปริ ญญาตรี หมวดวิชา คอมพิวเตอร์วน/เดือน/ปี ทาโครงงาน1/1/2549บทคัดย่อโครงการนี -มี ั วัตถุประสงค์เพือนาเทคนิคการสร้างบาร์โค้ดบนจอภาพโทรศัพท์เคลือนทีมา ใช้ในการพัฒนาระบบทีประกอบด้วยโปรแกรมประยุกต์บนโทรศัพท์เคลือนที และเว็บเซอร์วสเพือรองรับการทางานดังนี -คือการขอรับใบแจ้งค่าบริ การการ ิ
  • 22. ขอทาบัตรสมาชิกการจองและการซื -อตัCวต่างๆจากเว็บเซอร์วสผูให้บริ การคือ ิ ้ หน่วยงานของรัฐและเอกชนทีมีการใช้ใบแจ้งค่าบริ การหรื อบัตรสมาชิกผู ้ ให้บริ การในระบบธุรกิจทีมีการใช้ตCวตามลาดับผ่านโปรแกรมประยุกต์บน ั โทรศัพท์เคลือนทีเพือใช้โปรแกรมประยุกต์บนโทรศัพท์เคลือนทีแทนใบแจ้ง ค่าบริ การบัตรสมาชิกตัCวต่างๆและใช้ในการยืนยันการออกตัCวจริ งจากจองตั Cวต่างๆโดยระบบมีการทางานดังนี -คือเว็บเซอร์วสของระบบจะทาหน้าที ิ รวบรวมบริ การและเป็ นตัวกลางในการเชือมต่อประสานการทางานเพือส่ งผ่าน ข้อมูลใบแจ้งค่าบริ การข้อมูลบัตรสมาชิกข้อมูลหมายเลขเฉพาะหรื อข้อมูล หมายการจองของตัCวต่างๆระหว่างเว็บเซอร์วสผูให้บริ การกับโปรแกรม ิ ้ ประยุกต์บนโทรศัพท์เคลือนทีโดยลักษณะข้อมูลทีใช้ในการแลกเปลียนเป็ น รู ปแบบเอกสารXMLซึงโปรแกรมประยุกต์บนโทรศัพท์เคลือนทีของระบบ สามารถนาข้อมูลหมายเลขบาร์โค้ดบนใบแจ้งค่าบริ การหมายเลขบาร์โค้ดบน บัตรสมาชิกและหมายเลขเฉพาะหรื อหมายเลขการจองของตัCวต่างๆทั-งจาก การเชือมต่อกับเว็บเซอร์วสของระบบการรับข้อความSMSจากผูให้บริ การและ ิ ้ การพิมพ์ขอมูลโดยตรงมาทาการสร้างเป็ นบาร์โค้ดบนจอภาพโทรศัพท์เคลือ ้ นทีเพือรองรับการอ่านจากเครื องอ่านบาร์โค้ดในการใช้งานต่อไปโดยระบบที พัฒนาขึ้นจะเป็ นนวัตกรรม ใหม่ซึงช่วยอานวยความสะดวกและช่วยให้เกิดความรวดเร็ วในการ ดาเนินธุรกิจโดยทาให้ผใช้ระบบในส่ วนโปรแกรมประยุกต์บนโทรศัพท์เคลือ ู้ นทีของระบบสามารถลดภาระการเก็บดูแลรักษาบัตรสมาชิกใบแจ้งค่าบริ การ และตัCวต่างๆเพิมความสะดวกรวดเร็วในการยืนยันออกตัCวจริ งจากการจองตั
  • 23. Cวต่างๆด้านผูให้บริ การต่างๆสามารถลดการใช้ตนทุนและทรัพยากรธรรมชาติ ้ ้ จากการผลิตบัตรสมาชิกใบแจ้งค่าบริ การและตัCวต่างๆเช่นพลาสติกกระดาษ หมึกพิมพ์เป็ นต้นโครงการนี -ได้มีการสร้างส่ วนจาลองเพือใช้ในการทดสอบ ระบบสองส่ วนส่ วนแรกคือส่ วนเว็บเซอร์วสและโปรแกรมประยุกต์สาขาของผู ้ ิ ให้บริ การส่ วนทีสองคือส่ วนโปรแกรมประยุกต์ของบริ ษทตัวแทนรับชาระเงิน ั ทีมา: http://www.thaigoodview.com/node/17030?page=0%2C7http://namkwanmay .wordpress.com/2011/02/08/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E 0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%97%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0% B8%87%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8% 87%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%A1 %E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A7/https://sites.google.com/site/luks aduankhorngnganthekhnoloyi/tawxyang-khorng-ngan-khxmphiwtexr นาย ชนาธิป คุณยศยิ่ง ม.6/14 เลขที่ 14