SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  8
Télécharger pour lire hors ligne
ÇÔªÒ àÃÕ§¤ÇÒÁá¡Œ¡Ãзٌ¸ÃÃÁ (ÊíÒËÃѺ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒ) ÃǺÃÇÁâ´Â ¾ÃлÅÑ´¸ÕþÔÊÔÉ° ¨¹Ú·ÊÒâà àÅ¢.¨Í.ºŒÒ¹©Ò§
โครงสร้างการเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรม สําหรับธรรมศึกษาชันเอก
___________สุภาษิตบทตัง____________
______________คําแปล_______________
บัดนีจักได้อธิบายขยายเนือความแห่งกระทู้ธรรมสุภาษิตทีได้ลิขิตไว้ ณ เบืองต้น พอเป็นแนวทางแห่ง
การศึกษาและนําไปปฏิบัติสืบต่อไป
________(อธิบายสภุาษิตบทตัง ประมาณ ๘-๑๕ บรรทัด) _________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________สมดังพุทธศาสนสุภาษิต
ทีมาใน______________ว่า
__________สุภาษิตเชือม ๑___________
_____________คําแปล________________
________(อธิบายสภุาษิตเชือม ๑ ประมาณ ๘-๑๕ บรรทัด) ________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________สมดังพุทธศาสนสุภาษิต
ทีมาใน______________ว่า
__________สุภาษิตเชือม ๒___________
_____________คําแปล________________
________(อธิบายสภุาษิตเชือม ๒ ประมาณ ๘-๑๕ บรรทัด) ________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
_________________________________________________________________สมดังพุทธศาสนสุภาษิต
ทีมาใน______________ว่า
ÇÔªÒ àÃÕ§¤ÇÒÁá¡Œ¡Ãзٌ¸ÃÃÁ (ÊíÒËÃѺ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒ) ÃǺÃÇÁâ´Â ¾ÃлÅÑ´¸ÕþÔÊÔÉ° ¨¹Ú·ÊÒâà àÅ¢.¨Í.ºŒÒ¹©Ò§
__________สุภาษิตเชือม ๓___________
_____________คําแปล________________
________(อธิบายสภุาษิตเชือม ๓ ประมาณ ๘-๑๕ บรรทัด) ________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
สรุปความว่า_______(สรุปความ ประมาณ ๕-๗ บรรทัดขึนไป)______________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
___________________________________________________________________________________
____________________________________________________________สมดังพุทธศาสนสุภาษิตทียกขึน
เป็นนิกเขปบทเบืองต้นว่า
___________สุภาษิตบทตัง____________
______________คําแปล_______________
มีนัยดังพรรณนามาด้วยประการฉะนี
ÇÔªÒ àÃÕ§¤ÇÒÁá¡Œ¡Ãзٌ¸ÃÃÁ (ÊíÒËÃѺ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒ) ÃǺÃÇÁâ´Â ¾ÃлÅÑ´¸ÕþÔÊÔÉ° ¨¹Ú·ÊÒâà àÅ¢.¨Í.ºŒÒ¹©Ò§
๕ จุดสําคัญในโครงสร้างกระทู้
๑. บัดนีจักได้อธิบายขยายเนือความแห่งกระทู้ธรรมสุภาษิตทีได้ลิขิตไว้ ณ เบืองต้น พอเป็นแนวทางแห่ง
การศึกษาและนําไปปฏิบัติสืบไป
๒. สมดังพุทธศาสนสุภาษิตทีมาใน………………ว่า (ตรง ….ให้เขียนทีมาของสุภาษิตเชือม)
๓. สุภาษิตเชือม/คําแปล และทีมา (เช่น ขุทฺทกนิกาย ธรรมบท)
๔. สมดังพุทธศาสนสุภาษิตทียกขึนเป็นนิกเขปบทเบืองต้นว่า
๕. มีนัยดังพรรณนามาด้วยประการฉะนี
เวลาเขียน
๑. ให้เขียนเว้นบรรทัด (ทุกหน้า ตังแต่บรรทัดแรก จนถึงบรรทัดสุดท้าย)
๒. ห้ามใช้ปากกาแดงเขียนไม่ว่ากรณีใดๆ ให้ใช้เฉพาะปากกานําเงินและดํา เท่านัน
๓. จะต้องเขียนตามโครงสร้างกระทู้ธรรมชันตรี (ทุกจุด) ให้ถูกต้อง
หลักปฏิบัติในการสอบธรรมสนามหลวง วิชา กระทู้ธรรม
๑. แต่งตามกระทู้ธรรมสุภาษิตทีกําหนดให้
๒. อธิบายเนือความกระทู้ธรรมสุภาษิตนันให้สมเหตุสมผล
๓. อ้างสุภาษิตบทอืน (สุภาษิตเชือม) พร้อมทังบอกทีมา มาอธิบายประกอบด้วย ตามสุภาษิตในหนังสือ
พุทธศาสนสุภาษิต โดยกําหนดให้ชันตรี ใช้๑ สุภาษิต ชันโท ใช้๒ สุภาษิต และชันเอก ใช้๓ สุภาษิต
๔. เชือมความระหว่างสุภาษิตทีนํามาเชือมกับสุภาษิตบทตังให้สนิทติดต่อสมเรืองกันด้วยเหตุผล
๕. ให้เขียนลงในกระดาษ โดยกําหนดให้ชันตรี กําหนด ๒ แผ่นขึนไป ชันโท กําหนด ๓ แผ่นขึนไป และ
ชันเอก กําหนด ๔ แผนขึนไป
การตรวจกระทู้ธรรมสนามหลวง สําหรับกรรมการพิจารณาให้คะแนน
๑. แต่งได้ตามกําหนด
๒. อ้างกระทู้ได้ตามกฎ
๓. เชือมกระทู้ได้ดี
๔. อธิบายความสมกับกระทู้ทีได้ตังไว้
๕. ใช้สํานวนสุภาพเรียบร้อย
๖. ใช้ตัวสะกดการันต์ถูกเป็นส่วนมาก
๗. สะอาดไม่เปรอะเปือน วิธีตรวจนี ให้ใช้เฉพาะในการสอบธรรมสนามหลวง
ÇÔªÒ àÃÕ§¤ÇÒÁá¡Œ¡Ãзٌ¸ÃÃÁ (ÊíÒËÃѺ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒ) ÃǺÃÇÁâ´Â ¾ÃлÅÑ´¸ÕþÔÊÔÉ° ¨¹Ú·ÊÒâà àÅ¢.¨Í.ºŒÒ¹©Ò§
พุทธศาสนสุภาษิต
สําหรับธรรมศึกษา ชันเอก
หมวดจิต
จิตฺเตน นียติ โลโก จิตฺเตน ปริกสฺสติ
จิตฺตสฺส เอกธมฺมสฺส สพฺเพว วสมนฺวคู
โลกถูกจิตนําไป ถูกจิตชักไป, สัตว์ทังปวงไปสู่อํานาจแห่งจิตอย่างเดียว.
ทีมา สังยุตตนิกาย สคาถวรรค
โย อลีเนน จิตฺเตน อลีนมนโส นโร
ภาเวติ กุสลํ ธมฺมํ โยคกฺเขมสฺส ปตฺติยา
ปาปุเณ อนุปุพฺเพน สพฺพสํโยชนกฺขยํ
คนใดมีจิตไม่ท้อถอย มีใจไม่หดหู่ บําเพ็ญกุศลธรรม
เพือบรรลุธรรมทีเกษมจากโยคะ พึงบรรลุธรรมเป็นทีสินสังโยชน์ทังปวงได้.
ทีมา ขุททกนิกาย ชาตก เอกนิบาต
สุทุทฺทสํ สุนิปุณํ ยตฺถ กามนิปาตินํ
จิตฺตํ รกฺเขถ เมธาวี จิตฺตํ คุตฺตํ สุขาวหํ
ผู้มีปัญญา พึงรักษาจิตทีเห็นได้ยากนัก ละเอียดนัก มักตกไปในอารมณ์ทีน่าใคร่,
(เพราะว่า) จิตทีคุ้มครองแล้ว นําสุข
ทีมา ขุททกนิกาย ธรรมบท
ÇÔªÒ àÃÕ§¤ÇÒÁá¡Œ¡Ãзٌ¸ÃÃÁ (ÊíÒËÃѺ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒ) ÃǺÃÇÁâ´Â ¾ÃлÅÑ´¸ÕþÔÊÔÉ° ¨¹Ú·ÊÒâà àÅ¢.¨Í.ºŒÒ¹©Ò§
หมวดธรรม
โอวเทยฺยานุสาเสยฺย อสพฺภา จ นิวารเย
สติ หิ โส ปิโย โหติ อสตํ โหติ อปฺปิโย.
บุคคลควรเตือนกัน ควรสอนกัน และป้องกันจากคนไม่ดี
เพราะเขาย่อมเป็นทีรักของคนดี แต่ไม่เป็นทีรักของคนไม่ดี
ทีมา ขุททกนิกาย ธรรมบท
จเช ธนํ องฺควรสฺส เหตุ
องฺคํ จเช ชีวิตํ รกฺขมาโน
องฺคํ ธนํ ชีวิต ฺจาปิ สพฺพํ
จเช นโร ธมฺมมนุสฺสรนฺโต.
พึงสละทรัพย์เพือรักษาอวัยวะ,เมือรักษาชีวิตพึงสละอวัยวะ,
เมือคํานึงถึงธรรม พึงสละอวัยวะ ทรัพย์ และแม้ชีวิต ทุกอย่าง
ทีมา ขุททกนิกาย ชาตก อสีตินิปาต
ฉนฺทชาโต อนกฺขาเต มนสา จ ผุโฐ สิยา
กาเม จ อปฏิพทฺธจิตฺโต อุทฺธํโสโตติ วุจฺจติ.
พึงเป็นผู้พอใจและประทับใจในพระนิพพานทีบอกไม่ได้ผู้
มีจิตไม่ติดกาม ท่านเรียกว่าผู้มีกระแสอยู่เบืองบน
ทีมา ขุททกนิกาย ธรรมบท
เต ฌายิโน สาตติกา นิจฺจํ ทฬฺหปรกฺกมา
ผุสนฺติ ธีรา นิพฺพานํ โยคกุเขมํ อนุตฺตรํ.
ผู้ฉลาดนันเป็นผู้เพ่งพินิจ มีเพียรติดต่อ บากบันมันคงเป็นนิตย์ย่อมถูกต้อง
พระนิพพานอันปลอดจากโยคะ หาธรรมอืนยิงกว่ามิได้
ทีมา ขุททกนิกาย ธรรมบท
ÇÔªÒ àÃÕ§¤ÇÒÁá¡Œ¡Ãзٌ¸ÃÃÁ (ÊíÒËÃѺ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒ) ÃǺÃÇÁâ´Â ¾ÃлÅÑ´¸ÕþÔÊÔÉ° ¨¹Ú·ÊÒâà àÅ¢.¨Í.ºŒÒ¹©Ò§
นนฺทิส ฺโ ญชโน โลโก วติ กฺกสฺส วิจารณา
ตณฺหาย วิปฺปหาเนน นิพฺพานํ อิติ วุจฺจติ.
สัตว์โลกมีความเพลินเป็นเครืองผูกพัน
มีวิตกเป็นเครืองเทียวไปท่านเรียกว่านิพพาน เพราะละตัณหาได้
ทีมา ขุททกนิกาย จูฬนิทฺเทส
หมวดความเพียร
ตุมฺเหหิ กิจฺจํ อาตปฺปํ อกฺขาตาโร ตถาคตา
ปฏิปนฺนา ปโมกฺขนฺติ ฌายิโน มารพนฺธนา
ท่านทังหลายต้องทําความเพียรเอง ตถาคตเป็นแต่ผู้บอก
ผู้มีปกติเพ่งพินิจดําเนินไปแล้ว จักพ้นจากเครืองผูกของมาร.
ทีมา ขุททกนิกาย ธรรมบท
โย จ วสฺสสตํ ชีเว กุสีโต หีนวีริโย
เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย วิริยํ อารภโต ทฬฺหํ.
ผู้ใดเกียจคร้าน มีความเพียรเลว พึงเป็นอยู่ตังร้อยปี แต่ผู้
ปรารภความเพียรมันคง มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียว ประเสริฐกว่าผู้นัน.
ทีมา ขุททกนิกาย ธรรมบท
สพฺพทา สีลสมฺปนฺโน ป ฺญวา สุสมาหิโต
อารทฺธวิริโย ปหิตตฺโต โอฆํ ตรติ ทุตฺตรํ.
ผู้ถึงพร้อมด้วยศีล มีปัญญา มีใจมันคงดีแล้ว ปรารภความเพียร
ตังตนไว้ในกาลทุกเมือ ย่อมข้ามโอฆะทีข้ามได้ยาก.
ทีมา สังยุตตนิกาย สคาถวรรค
ÇÔªÒ àÃÕ§¤ÇÒÁá¡Œ¡Ãзٌ¸ÃÃÁ (ÊíÒËÃѺ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒ) ÃǺÃÇÁâ´Â ¾ÃлÅÑ´¸ÕþÔÊÔÉ° ¨¹Ú·ÊÒâà àÅ¢.¨Í.ºŒÒ¹©Ò§
หมวดไม่ประมาท
อปฺปมตฺตา สตีมนฺโต สุสีลา โหถ ภิกฺขโว
สุสมาหิตสงฺกปฺปา สจิตฺตมนุรกฺขถ.
ภิกษุทังหลาย ! พวกเธอจงเป็นผู้ไม่ประมาท
มีสติ มีศีลดีงามตังความดําริไว้ให้ดี คอยรักษาจิตของตน.
ทีมา ทีฆนิกาย มหาวคฺค
อปฺปมาทรตา โหถ สจิตฺตมนุกฺขถ
ทุคฺคา อุทฺธรถตฺตานํ ปงฺเก สนฺโนว กุ ฺชโร
ท่านทังหลาย จงยินดีในความไม่ประมาท คอยรักษาจิตของตน,
จงถอนตนขึนจากหล่ม เหมือนช้างทีตกหล่มถอนตนขึนฉะนัน.
ทีมา ขุททกนิกาย ธรรมบท
อุฏฺฐาเนนปฺปมาเทน ส ฺญเมน ทเมน จ
ทีปํ กยิราถ เมธาวี ยํ โอโฆ นาภิกีรติ.
คนมีปัญญา พึงสร้างเกาะ ทีนําหลากมาท่วมไม่ได้ด้วยความหมัน
ความไม่ประมาท ความสํารวม และความข่มใจ.
ทีมา ขุททกนิกาย ธรรมบท
หมวดความสามัคคี
วิวาทํ ภยโต ทิสฺวา อวิวาท ฺจ เขมโต
สมคฺคา สขิลา โหถ เอสา พุทฺธานุสาสนี.
ท่านทังหลายจงเห็นความวิวาทโดยความเป็นภัย และความไม่วิวาทโดยความปลอดภัยแล้ว
เป็นผู้พร้อมเพรียง มีความประนีประนอมกันเถิด. นีเป็นพระพุทธานุศาสนี.
ทีมา ขุททกนิกาย จริยาปิฎก
ÇÔªÒ àÃÕ§¤ÇÒÁá¡Œ¡Ãзٌ¸ÃÃÁ (ÊíÒËÃѺ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒ) ÃǺÃÇÁâ´Â ¾ÃлÅÑ´¸ÕþÔÊÔÉ° ¨¹Ú·ÊÒâà àÅ¢.¨Í.ºŒÒ¹©Ò§
สามคฺยเมว สิกฺเขถ พุทฺเธเหตํ ปสํสิตํ
สามคฺยรโต ธมฺมฏฺโฐ โยคกฺเขมา น ธํสติ
พึงศึกษาความสามัคคี, ความสามัคคีนัน ท่านผู้รู้ทังหลายสรรเสริญแล้ว,
ผู้ยินดีในสามัคคี ตังอยู่ในธรรม ย่อมไม่คลาดจากธรรมอันเกษมจากโยคะ.
ทีมา ขุททกนิกาย ชาตก เตรสนิปาต
สุขา สงฺฆสฺส สมมคฺคี สมคฺคาน ฺจนุคฺคโห
สมคฺครโต ธมฺมฏฺโฐ โยคกฺเขมา น ธํสติ
ความพร้อมเพรียงของหมู่เป็นสุข และการสนับสนุนคนผู้พร้อมเพรียงกันก็เป็นสุข,
ผู้ยินดีในคนผู้พร้อมเพรียงกัน ตังอยู่ในธรรมย่อมไม่คลาดจากธรรมอันเกษมจากโยคะ.
ทีมา ขุททกนิกาย อิติวุตฺตก

Contenu connexe

Tendances

สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Jariya Huangjing
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาniralai
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51Krusupharat
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์niralai
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒Manas Panjai
 
มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์Krawchai Santadwattana
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒Jiraprapa Noinoo
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ponderingg
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทยสถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทยPadvee Academy
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงSurapong Klamboot
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์Piyarerk Bunkoson
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงLakkana Wuittiket
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sirisak Promtip
 
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551Atthaphon45614
 

Tendances (20)

สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
ประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
ประมวลปัญหาและเฉลย  นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdfประมวลปัญหาและเฉลย  นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
ประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
074หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)51
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์มงคลสูตรคำฉันท์
มงคลสูตรคำฉันท์
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทยสถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
 
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดกใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
ใบความรู้ เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
 

En vedette

ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 

En vedette (8)

Onet ม.6
Onet ม.6Onet ม.6
Onet ม.6
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 

Similaire à กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก

1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวดsanunya
 
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)Tongsamut vorasan
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)Ballista Pg
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีTongsamut vorasan
 
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)Wataustin Austin
 
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)Tongsamut vorasan
 
บาลี 18 80
บาลี 18 80บาลี 18 80
บาลี 18 80Rose Banioki
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
2 16+ธมฺมปทฏฐกถา+(ทุติโย+ภาโค)
2 16+ธมฺมปทฏฐกถา+(ทุติโย+ภาโค)2 16+ธมฺมปทฏฐกถา+(ทุติโย+ภาโค)
2 16+ธมฺมปทฏฐกถา+(ทุติโย+ภาโค)Tongsamut vorasan
 
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนาสสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนาPunya Benja
 
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธรคำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธรNhui Srr
 

Similaire à กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก (20)

1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวด
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิตบาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส,ตัทธิต
 
ทิคุสมาส
ทิคุสมาสทิคุสมาส
ทิคุสมาส
 
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdf
 
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
บาลีไวยากรณ์ ๔ สมาส
 
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
กิริยาอาขยาต นามกิตก์ และกิริยากิตก์
 
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
สวดมนต์ข้ามปี ๒๕๕๖ (ฉบับ สสส.)
 
บทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปีบทสวดมนต์ข้ามปี
บทสวดมนต์ข้ามปี
 
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
 
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
2 18+ธมฺมปทฏฐกถา+(จตุตฺโถ+ภาโค)
 
บาลี 18 80
บาลี 18 80บาลี 18 80
บาลี 18 80
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
2 16+ธมฺมปทฏฐกถา+(ทุติโย+ภาโค)
2 16+ธมฺมปทฏฐกถา+(ทุติโย+ภาโค)2 16+ธมฺมปทฏฐกถา+(ทุติโย+ภาโค)
2 16+ธมฺมปทฏฐกถา+(ทุติโย+ภาโค)
 
ปฐโม ภาโค
ปฐโม ภาโคปฐโม ภาโค
ปฐโม ภาโค
 
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนาสสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
สสารและ พลังงานในพุทธศาสนา
 
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธรคำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
คำขอแก้บน ศีลข้อ ๔ สัจจะอธิษฐาน กับพระพุทธโสธร
 

Plus de Theeraphisith Candasaro

หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่Theeraphisith Candasaro
 
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทคู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทTheeraphisith Candasaro
 
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563Theeraphisith Candasaro
 
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563Theeraphisith Candasaro
 
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรี
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรีเอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรี
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรีTheeraphisith Candasaro
 
บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐
บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐
บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐Theeraphisith Candasaro
 
แผนปฏิบัติการการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ระดับวัด UPDATE
แผนปฏิบัติการการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ระดับวัด UPDATEแผนปฏิบัติการการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ระดับวัด UPDATE
แผนปฏิบัติการการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ระดับวัด UPDATETheeraphisith Candasaro
 
คู่มือพระอุปัชฌายะฉบับย่อ
คู่มือพระอุปัชฌายะฉบับย่อคู่มือพระอุปัชฌายะฉบับย่อ
คู่มือพระอุปัชฌายะฉบับย่อTheeraphisith Candasaro
 
แผนปฏิรูปสมบูรณ์
แผนปฏิรูปสมบูรณ์แผนปฏิรูปสมบูรณ์
แผนปฏิรูปสมบูรณ์Theeraphisith Candasaro
 
คำผิดที่พบบ่อยในวิชาบุรพภาค
คำผิดที่พบบ่อยในวิชาบุรพภาคคำผิดที่พบบ่อยในวิชาบุรพภาค
คำผิดที่พบบ่อยในวิชาบุรพภาคTheeraphisith Candasaro
 
หลักสัมพันธ์ไทย
หลักสัมพันธ์ไทย หลักสัมพันธ์ไทย
หลักสัมพันธ์ไทย Theeraphisith Candasaro
 
ปัจจัยในกิริยากิตก์
ปัจจัยในกิริยากิตก์ปัจจัยในกิริยากิตก์
ปัจจัยในกิริยากิตก์Theeraphisith Candasaro
 
โครงการบรรพชาสามเณร นักเรียนจ่าทหารเรือ ชั้นปีที่ ๒ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ
โครงการบรรพชาสามเณร นักเรียนจ่าทหารเรือ ชั้นปีที่ ๒ เพื่อเฉลิมพระเกียรติโครงการบรรพชาสามเณร นักเรียนจ่าทหารเรือ ชั้นปีที่ ๒ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ
โครงการบรรพชาสามเณร นักเรียนจ่าทหารเรือ ชั้นปีที่ ๒ เพื่อเฉลิมพระเกียรติTheeraphisith Candasaro
 
คุณธรรมข้าราชการ
คุณธรรมข้าราชการ คุณธรรมข้าราชการ
คุณธรรมข้าราชการ Theeraphisith Candasaro
 
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีรวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีTheeraphisith Candasaro
 
รายงานการประเมินผลการยกร่างหลักสูตรการฝึกอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
รายงานการประเมินผลการยกร่างหลักสูตรการฝึกอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารรายงานการประเมินผลการยกร่างหลักสูตรการฝึกอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
รายงานการประเมินผลการยกร่างหลักสูตรการฝึกอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารTheeraphisith Candasaro
 

Plus de Theeraphisith Candasaro (20)

หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
 
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทคู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
 
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563
 
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563
 
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรี
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรีเอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรี
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรี
 
บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐
บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐
บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐
 
แผนปฏิบัติการการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ระดับวัด UPDATE
แผนปฏิบัติการการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ระดับวัด UPDATEแผนปฏิบัติการการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ระดับวัด UPDATE
แผนปฏิบัติการการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ระดับวัด UPDATE
 
e-Donatin
e-Donatine-Donatin
e-Donatin
 
คู่มือพระอุปัชฌายะฉบับย่อ
คู่มือพระอุปัชฌายะฉบับย่อคู่มือพระอุปัชฌายะฉบับย่อ
คู่มือพระอุปัชฌายะฉบับย่อ
 
คำแผ่บุญกุศล
คำแผ่บุญกุศลคำแผ่บุญกุศล
คำแผ่บุญกุศล
 
แผนปฏิรูปสมบูรณ์
แผนปฏิรูปสมบูรณ์แผนปฏิรูปสมบูรณ์
แผนปฏิรูปสมบูรณ์
 
คำผิดที่พบบ่อยในวิชาบุรพภาค
คำผิดที่พบบ่อยในวิชาบุรพภาคคำผิดที่พบบ่อยในวิชาบุรพภาค
คำผิดที่พบบ่อยในวิชาบุรพภาค
 
หลักสัมพันธ์ไทย
หลักสัมพันธ์ไทย หลักสัมพันธ์ไทย
หลักสัมพันธ์ไทย
 
Put the right man on the right job
Put the right man on the right jobPut the right man on the right job
Put the right man on the right job
 
ปัจจัยในกิริยากิตก์
ปัจจัยในกิริยากิตก์ปัจจัยในกิริยากิตก์
ปัจจัยในกิริยากิตก์
 
โครงการบรรพชาสามเณร นักเรียนจ่าทหารเรือ ชั้นปีที่ ๒ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ
โครงการบรรพชาสามเณร นักเรียนจ่าทหารเรือ ชั้นปีที่ ๒ เพื่อเฉลิมพระเกียรติโครงการบรรพชาสามเณร นักเรียนจ่าทหารเรือ ชั้นปีที่ ๒ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ
โครงการบรรพชาสามเณร นักเรียนจ่าทหารเรือ ชั้นปีที่ ๒ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ
 
คุณธรรมข้าราชการ
คุณธรรมข้าราชการ คุณธรรมข้าราชการ
คุณธรรมข้าราชการ
 
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีรวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
 
สารัตถะ ชีวิต
สารัตถะ ชีวิตสารัตถะ ชีวิต
สารัตถะ ชีวิต
 
รายงานการประเมินผลการยกร่างหลักสูตรการฝึกอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
รายงานการประเมินผลการยกร่างหลักสูตรการฝึกอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารรายงานการประเมินผลการยกร่างหลักสูตรการฝึกอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
รายงานการประเมินผลการยกร่างหลักสูตรการฝึกอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
 

กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก

  • 1. ÇÔªÒ àÃÕ§¤ÇÒÁá¡Œ¡Ãзٌ¸ÃÃÁ (ÊíÒËÃѺ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒ) ÃǺÃÇÁâ´Â ¾ÃлÅÑ´¸ÕþÔÊÔÉ° ¨¹Ú·ÊÒâà àÅ¢.¨Í.ºŒÒ¹©Ò§ โครงสร้างการเขียนเรียงความแก้กระทู้ธรรม สําหรับธรรมศึกษาชันเอก ___________สุภาษิตบทตัง____________ ______________คําแปล_______________ บัดนีจักได้อธิบายขยายเนือความแห่งกระทู้ธรรมสุภาษิตทีได้ลิขิตไว้ ณ เบืองต้น พอเป็นแนวทางแห่ง การศึกษาและนําไปปฏิบัติสืบต่อไป ________(อธิบายสภุาษิตบทตัง ประมาณ ๘-๑๕ บรรทัด) _________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________สมดังพุทธศาสนสุภาษิต ทีมาใน______________ว่า __________สุภาษิตเชือม ๑___________ _____________คําแปล________________ ________(อธิบายสภุาษิตเชือม ๑ ประมาณ ๘-๑๕ บรรทัด) ________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________สมดังพุทธศาสนสุภาษิต ทีมาใน______________ว่า __________สุภาษิตเชือม ๒___________ _____________คําแปล________________ ________(อธิบายสภุาษิตเชือม ๒ ประมาณ ๘-๑๕ บรรทัด) ________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ _________________________________________________________________สมดังพุทธศาสนสุภาษิต ทีมาใน______________ว่า
  • 2. ÇÔªÒ àÃÕ§¤ÇÒÁá¡Œ¡Ãзٌ¸ÃÃÁ (ÊíÒËÃѺ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒ) ÃǺÃÇÁâ´Â ¾ÃлÅÑ´¸ÕþÔÊÔÉ° ¨¹Ú·ÊÒâà àÅ¢.¨Í.ºŒÒ¹©Ò§ __________สุภาษิตเชือม ๓___________ _____________คําแปล________________ ________(อธิบายสภุาษิตเชือม ๓ ประมาณ ๘-๑๕ บรรทัด) ________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ สรุปความว่า_______(สรุปความ ประมาณ ๕-๗ บรรทัดขึนไป)______________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ___________________________________________________________________________________ ____________________________________________________________สมดังพุทธศาสนสุภาษิตทียกขึน เป็นนิกเขปบทเบืองต้นว่า ___________สุภาษิตบทตัง____________ ______________คําแปล_______________ มีนัยดังพรรณนามาด้วยประการฉะนี
  • 3. ÇÔªÒ àÃÕ§¤ÇÒÁá¡Œ¡Ãзٌ¸ÃÃÁ (ÊíÒËÃѺ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒ) ÃǺÃÇÁâ´Â ¾ÃлÅÑ´¸ÕþÔÊÔÉ° ¨¹Ú·ÊÒâà àÅ¢.¨Í.ºŒÒ¹©Ò§ ๕ จุดสําคัญในโครงสร้างกระทู้ ๑. บัดนีจักได้อธิบายขยายเนือความแห่งกระทู้ธรรมสุภาษิตทีได้ลิขิตไว้ ณ เบืองต้น พอเป็นแนวทางแห่ง การศึกษาและนําไปปฏิบัติสืบไป ๒. สมดังพุทธศาสนสุภาษิตทีมาใน………………ว่า (ตรง ….ให้เขียนทีมาของสุภาษิตเชือม) ๓. สุภาษิตเชือม/คําแปล และทีมา (เช่น ขุทฺทกนิกาย ธรรมบท) ๔. สมดังพุทธศาสนสุภาษิตทียกขึนเป็นนิกเขปบทเบืองต้นว่า ๕. มีนัยดังพรรณนามาด้วยประการฉะนี เวลาเขียน ๑. ให้เขียนเว้นบรรทัด (ทุกหน้า ตังแต่บรรทัดแรก จนถึงบรรทัดสุดท้าย) ๒. ห้ามใช้ปากกาแดงเขียนไม่ว่ากรณีใดๆ ให้ใช้เฉพาะปากกานําเงินและดํา เท่านัน ๓. จะต้องเขียนตามโครงสร้างกระทู้ธรรมชันตรี (ทุกจุด) ให้ถูกต้อง หลักปฏิบัติในการสอบธรรมสนามหลวง วิชา กระทู้ธรรม ๑. แต่งตามกระทู้ธรรมสุภาษิตทีกําหนดให้ ๒. อธิบายเนือความกระทู้ธรรมสุภาษิตนันให้สมเหตุสมผล ๓. อ้างสุภาษิตบทอืน (สุภาษิตเชือม) พร้อมทังบอกทีมา มาอธิบายประกอบด้วย ตามสุภาษิตในหนังสือ พุทธศาสนสุภาษิต โดยกําหนดให้ชันตรี ใช้๑ สุภาษิต ชันโท ใช้๒ สุภาษิต และชันเอก ใช้๓ สุภาษิต ๔. เชือมความระหว่างสุภาษิตทีนํามาเชือมกับสุภาษิตบทตังให้สนิทติดต่อสมเรืองกันด้วยเหตุผล ๕. ให้เขียนลงในกระดาษ โดยกําหนดให้ชันตรี กําหนด ๒ แผ่นขึนไป ชันโท กําหนด ๓ แผ่นขึนไป และ ชันเอก กําหนด ๔ แผนขึนไป การตรวจกระทู้ธรรมสนามหลวง สําหรับกรรมการพิจารณาให้คะแนน ๑. แต่งได้ตามกําหนด ๒. อ้างกระทู้ได้ตามกฎ ๓. เชือมกระทู้ได้ดี ๔. อธิบายความสมกับกระทู้ทีได้ตังไว้ ๕. ใช้สํานวนสุภาพเรียบร้อย ๖. ใช้ตัวสะกดการันต์ถูกเป็นส่วนมาก ๗. สะอาดไม่เปรอะเปือน วิธีตรวจนี ให้ใช้เฉพาะในการสอบธรรมสนามหลวง
  • 4. ÇÔªÒ àÃÕ§¤ÇÒÁá¡Œ¡Ãзٌ¸ÃÃÁ (ÊíÒËÃѺ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒ) ÃǺÃÇÁâ´Â ¾ÃлÅÑ´¸ÕþÔÊÔÉ° ¨¹Ú·ÊÒâà àÅ¢.¨Í.ºŒÒ¹©Ò§ พุทธศาสนสุภาษิต สําหรับธรรมศึกษา ชันเอก หมวดจิต จิตฺเตน นียติ โลโก จิตฺเตน ปริกสฺสติ จิตฺตสฺส เอกธมฺมสฺส สพฺเพว วสมนฺวคู โลกถูกจิตนําไป ถูกจิตชักไป, สัตว์ทังปวงไปสู่อํานาจแห่งจิตอย่างเดียว. ทีมา สังยุตตนิกาย สคาถวรรค โย อลีเนน จิตฺเตน อลีนมนโส นโร ภาเวติ กุสลํ ธมฺมํ โยคกฺเขมสฺส ปตฺติยา ปาปุเณ อนุปุพฺเพน สพฺพสํโยชนกฺขยํ คนใดมีจิตไม่ท้อถอย มีใจไม่หดหู่ บําเพ็ญกุศลธรรม เพือบรรลุธรรมทีเกษมจากโยคะ พึงบรรลุธรรมเป็นทีสินสังโยชน์ทังปวงได้. ทีมา ขุททกนิกาย ชาตก เอกนิบาต สุทุทฺทสํ สุนิปุณํ ยตฺถ กามนิปาตินํ จิตฺตํ รกฺเขถ เมธาวี จิตฺตํ คุตฺตํ สุขาวหํ ผู้มีปัญญา พึงรักษาจิตทีเห็นได้ยากนัก ละเอียดนัก มักตกไปในอารมณ์ทีน่าใคร่, (เพราะว่า) จิตทีคุ้มครองแล้ว นําสุข ทีมา ขุททกนิกาย ธรรมบท
  • 5. ÇÔªÒ àÃÕ§¤ÇÒÁá¡Œ¡Ãзٌ¸ÃÃÁ (ÊíÒËÃѺ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒ) ÃǺÃÇÁâ´Â ¾ÃлÅÑ´¸ÕþÔÊÔÉ° ¨¹Ú·ÊÒâà àÅ¢.¨Í.ºŒÒ¹©Ò§ หมวดธรรม โอวเทยฺยานุสาเสยฺย อสพฺภา จ นิวารเย สติ หิ โส ปิโย โหติ อสตํ โหติ อปฺปิโย. บุคคลควรเตือนกัน ควรสอนกัน และป้องกันจากคนไม่ดี เพราะเขาย่อมเป็นทีรักของคนดี แต่ไม่เป็นทีรักของคนไม่ดี ทีมา ขุททกนิกาย ธรรมบท จเช ธนํ องฺควรสฺส เหตุ องฺคํ จเช ชีวิตํ รกฺขมาโน องฺคํ ธนํ ชีวิต ฺจาปิ สพฺพํ จเช นโร ธมฺมมนุสฺสรนฺโต. พึงสละทรัพย์เพือรักษาอวัยวะ,เมือรักษาชีวิตพึงสละอวัยวะ, เมือคํานึงถึงธรรม พึงสละอวัยวะ ทรัพย์ และแม้ชีวิต ทุกอย่าง ทีมา ขุททกนิกาย ชาตก อสีตินิปาต ฉนฺทชาโต อนกฺขาเต มนสา จ ผุโฐ สิยา กาเม จ อปฏิพทฺธจิตฺโต อุทฺธํโสโตติ วุจฺจติ. พึงเป็นผู้พอใจและประทับใจในพระนิพพานทีบอกไม่ได้ผู้ มีจิตไม่ติดกาม ท่านเรียกว่าผู้มีกระแสอยู่เบืองบน ทีมา ขุททกนิกาย ธรรมบท เต ฌายิโน สาตติกา นิจฺจํ ทฬฺหปรกฺกมา ผุสนฺติ ธีรา นิพฺพานํ โยคกุเขมํ อนุตฺตรํ. ผู้ฉลาดนันเป็นผู้เพ่งพินิจ มีเพียรติดต่อ บากบันมันคงเป็นนิตย์ย่อมถูกต้อง พระนิพพานอันปลอดจากโยคะ หาธรรมอืนยิงกว่ามิได้ ทีมา ขุททกนิกาย ธรรมบท
  • 6. ÇÔªÒ àÃÕ§¤ÇÒÁá¡Œ¡Ãзٌ¸ÃÃÁ (ÊíÒËÃѺ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒ) ÃǺÃÇÁâ´Â ¾ÃлÅÑ´¸ÕþÔÊÔÉ° ¨¹Ú·ÊÒâà àÅ¢.¨Í.ºŒÒ¹©Ò§ นนฺทิส ฺโ ญชโน โลโก วติ กฺกสฺส วิจารณา ตณฺหาย วิปฺปหาเนน นิพฺพานํ อิติ วุจฺจติ. สัตว์โลกมีความเพลินเป็นเครืองผูกพัน มีวิตกเป็นเครืองเทียวไปท่านเรียกว่านิพพาน เพราะละตัณหาได้ ทีมา ขุททกนิกาย จูฬนิทฺเทส หมวดความเพียร ตุมฺเหหิ กิจฺจํ อาตปฺปํ อกฺขาตาโร ตถาคตา ปฏิปนฺนา ปโมกฺขนฺติ ฌายิโน มารพนฺธนา ท่านทังหลายต้องทําความเพียรเอง ตถาคตเป็นแต่ผู้บอก ผู้มีปกติเพ่งพินิจดําเนินไปแล้ว จักพ้นจากเครืองผูกของมาร. ทีมา ขุททกนิกาย ธรรมบท โย จ วสฺสสตํ ชีเว กุสีโต หีนวีริโย เอกาหํ ชีวิตํ เสยฺโย วิริยํ อารภโต ทฬฺหํ. ผู้ใดเกียจคร้าน มีความเพียรเลว พึงเป็นอยู่ตังร้อยปี แต่ผู้ ปรารภความเพียรมันคง มีชีวิตอยู่เพียงวันเดียว ประเสริฐกว่าผู้นัน. ทีมา ขุททกนิกาย ธรรมบท สพฺพทา สีลสมฺปนฺโน ป ฺญวา สุสมาหิโต อารทฺธวิริโย ปหิตตฺโต โอฆํ ตรติ ทุตฺตรํ. ผู้ถึงพร้อมด้วยศีล มีปัญญา มีใจมันคงดีแล้ว ปรารภความเพียร ตังตนไว้ในกาลทุกเมือ ย่อมข้ามโอฆะทีข้ามได้ยาก. ทีมา สังยุตตนิกาย สคาถวรรค
  • 7. ÇÔªÒ àÃÕ§¤ÇÒÁá¡Œ¡Ãзٌ¸ÃÃÁ (ÊíÒËÃѺ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒ) ÃǺÃÇÁâ´Â ¾ÃлÅÑ´¸ÕþÔÊÔÉ° ¨¹Ú·ÊÒâà àÅ¢.¨Í.ºŒÒ¹©Ò§ หมวดไม่ประมาท อปฺปมตฺตา สตีมนฺโต สุสีลา โหถ ภิกฺขโว สุสมาหิตสงฺกปฺปา สจิตฺตมนุรกฺขถ. ภิกษุทังหลาย ! พวกเธอจงเป็นผู้ไม่ประมาท มีสติ มีศีลดีงามตังความดําริไว้ให้ดี คอยรักษาจิตของตน. ทีมา ทีฆนิกาย มหาวคฺค อปฺปมาทรตา โหถ สจิตฺตมนุกฺขถ ทุคฺคา อุทฺธรถตฺตานํ ปงฺเก สนฺโนว กุ ฺชโร ท่านทังหลาย จงยินดีในความไม่ประมาท คอยรักษาจิตของตน, จงถอนตนขึนจากหล่ม เหมือนช้างทีตกหล่มถอนตนขึนฉะนัน. ทีมา ขุททกนิกาย ธรรมบท อุฏฺฐาเนนปฺปมาเทน ส ฺญเมน ทเมน จ ทีปํ กยิราถ เมธาวี ยํ โอโฆ นาภิกีรติ. คนมีปัญญา พึงสร้างเกาะ ทีนําหลากมาท่วมไม่ได้ด้วยความหมัน ความไม่ประมาท ความสํารวม และความข่มใจ. ทีมา ขุททกนิกาย ธรรมบท หมวดความสามัคคี วิวาทํ ภยโต ทิสฺวา อวิวาท ฺจ เขมโต สมคฺคา สขิลา โหถ เอสา พุทฺธานุสาสนี. ท่านทังหลายจงเห็นความวิวาทโดยความเป็นภัย และความไม่วิวาทโดยความปลอดภัยแล้ว เป็นผู้พร้อมเพรียง มีความประนีประนอมกันเถิด. นีเป็นพระพุทธานุศาสนี. ทีมา ขุททกนิกาย จริยาปิฎก
  • 8. ÇÔªÒ àÃÕ§¤ÇÒÁá¡Œ¡Ãзٌ¸ÃÃÁ (ÊíÒËÃѺ¸ÃÃÁÈÖ¡ÉÒ) ÃǺÃÇÁâ´Â ¾ÃлÅÑ´¸ÕþÔÊÔÉ° ¨¹Ú·ÊÒâà àÅ¢.¨Í.ºŒÒ¹©Ò§ สามคฺยเมว สิกฺเขถ พุทฺเธเหตํ ปสํสิตํ สามคฺยรโต ธมฺมฏฺโฐ โยคกฺเขมา น ธํสติ พึงศึกษาความสามัคคี, ความสามัคคีนัน ท่านผู้รู้ทังหลายสรรเสริญแล้ว, ผู้ยินดีในสามัคคี ตังอยู่ในธรรม ย่อมไม่คลาดจากธรรมอันเกษมจากโยคะ. ทีมา ขุททกนิกาย ชาตก เตรสนิปาต สุขา สงฺฆสฺส สมมคฺคี สมคฺคาน ฺจนุคฺคโห สมคฺครโต ธมฺมฏฺโฐ โยคกฺเขมา น ธํสติ ความพร้อมเพรียงของหมู่เป็นสุข และการสนับสนุนคนผู้พร้อมเพรียงกันก็เป็นสุข, ผู้ยินดีในคนผู้พร้อมเพรียงกัน ตังอยู่ในธรรมย่อมไม่คลาดจากธรรมอันเกษมจากโยคะ. ทีมา ขุททกนิกาย อิติวุตฺตก