SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  19
Télécharger pour lire hors ligne
“ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา” 
เนื้อเรื่องย่อ เรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา 
ฝ่ายพลายงาม เมื่อชนะความขุนช้างแล้ว ก็อยู่มาด้วยความสุข แต่มาคิดว่ายังขาดแต่มารดา เห็นว่าไม่ควรคู่กับขุนช้าง แล้วคิดว่าจะรับแม่กลับมาอยู่กับขุนแผน พอตกค่าจึงออกเดินทางไป บ้านขุนช้าง สะกดผู้คน ภูตพราย และแก้อาถรรพณ์ แล้วสะเดาะกลอน เข้าไปถึงชั้นสาม ห้องนอน ถอนสะกดนางวันทอง แล้วเจรจากัน พระไวยแจ้งว่าจะมารับนางวันทองกลับไปบ้าน นางวันทองแนะนาให้น่าเรื่องขึ้นกราบทูลพระพันวษาพลายงามไม่เห็นด้วยและจะพาไปให้ได้ นางวันทองจนใจจึงยอมไปกับพระไวย ขุนช้างตื่นขึ้นไม่พบนางวันทอง ให้บ่าวไพร่ค้นหาไม่ พบ ฝ่ายพลายงามได้คิดว่า ถ้าขุนช้างรู้ว่าลักนางวันทองมา ก็คงจะน่าความขึ้นกราบทูลสมเด็จ พระพันวษา มารดาก็จะต้องโทษ คิดแล้วจึงให้หมื่นวิเศษผล ไปหาขุนช้างที่บ้าน ช่วยไกล่เกลี่ย เรื่องราว อย่าให้ขุนช้างโกรธ ด้วยเป็นคนที่เคยชอบพอกัน โดยให้บอกขุนช้างว่า ตนจับไข้อยู่ หลายวัน เกรงว่าแม่ไม่ทันจะเห็นหน้า จึงให้คนไปพาแม่มา พอให้ตนหายไข้แล้ว จะส่งมารดา คืนกลับไป หมื่นวิเศษรับค่าแล้วก็รีบไปบ้านขุนช้าง แจ้งเรื่องตามที่พระไวยสั่งมาทุกประการ ขุนช้างได้ฟังก็ทั้งโกรธและแค้น เมื่อข่มความโกรธแล้วก็ตอบไปว่า ไม่เป็นไรเรื่องการเจ็บไข้ ถ้า ขัดสนสิ่งไรก็ขอให้มาเอาที่ตนได้ ว่าแล้วก็ปิดหน้าต่างใส่ ด้วยความเดือดดาลและแค้นใจ 
ฝ่ายขุนช้างร่างฟ้องเสร็จแล้ว ก็มาที่วังใน รออยู่ที่ใต้ตาหนักน้า พอสมเด็จพระพันวษา เสด็จกลับวังทางเรือตอนจวนค่าขุนช้างก็ลงลอยคอเข้าถวายฎีกา สมเด็จพระพันวษาเห็นเข้า ก็ ทรงพระพิโรธ ให้รับฎีกาไว้ แล้วเอาตัวไปเฆี่ยนสามสิบที จากนั้นให้ตั้งกฤษฎีกาว่า ตั้งแต่นี้ไป ถ้าใครปล่อยให้ใครเข้ามาในล้อมวง ต้องระวางโทษเจ็ดสถาน ถึงประหารชีวิต ฝ่ายขุนแผนได้อยู่ กับนางแก้วกิริยา และนางลาวทองมาด้วยความผาสุก ตกกลางคืนคิดถึงนางวันทอง จึงออกเดิน มาที่ห้องนางวันทอง ที่เรือนพระไวย ปลุกนางขึ้นมาสนทนาด้วย ได้พร่าราพันถึงความหลัง ที่
ตกทุกข์ได้ยากด้วยกันมา นางวันทองแนะน่าขุนแผน ให้น่าความขึ้นเพ็ดทูลพระพันวษา และไม่ ยอมตกเป็นของขุนแผน พอตกดึกก็ฝันไปว่า ถูกพยัคฆ์ตะครุบ คาบตัวไปในป่า ตกใจตื่น แก้ฝัน ให้ขุนแผนฟัง ขุนแผนได้ฟังก็ใจหาย รู้ว่าฝันร้ายมีอันตราย วันรุ่งขึ้น สมเด็จพระพันวษาเสด็จ ออกว่าราชการ เห็นขุนช้างเข้าเฝ้าอยู่ จึงตรัสว่า เรื่องนางวันทองไม่รู้จบ เมื่อครั้งก่อน เรื่องตก หนักที่นางศรีประจัน ก็ตัดสินไปอยู่กับขุนแผน แต่ท่าไมกลับมาอยู่กับขุนช้าง แล้วให้หมื่นศรีไป เอาตัวนางวันทอง ขุนแผนและพระไวยมาเฝ้า ทั้งสามคนได้ฟังความก็ตกใจ ขุนแผนจึงจัดการ ช่วยเหลือนางวันทองด้วยเวทมนตร์ แล้วจึงพากันไปเข้าเฝ้าสมเด็จพระพันวษาจึงตรัสถามนาง วันทอง ถึงเรื่องราวแต่หนหลัง นางวันทองก็กราบทูลให้ทรงทราบ เมื่อทรงทราบแล้ว ก็กริ้วขุน ช้างเป็นกาลัง แล้วตรัสถามนางวันทองต่อไปว่า เวลาล่วงไปแล้วถึงสิบแปดปี แต่ท่าไมวันนี้จึงมา ได้ นางวันทองก็กราบทูลว่า พระไวยไปรับเมื่อตอนกลางคืน สมเด็จพระพันวษาได้ฟัง ก็ทรงขุ่น เคืองพระไวย ที่ท่าตามอาเภอใจเพราะแย่งชิงนางวันทองกัน จึงให้นางวันทองตัดสินใจว่า จะอยู่ กับใคร หรือถ้าไม่อยากอยู่กับทั้งสองคน จะเลือกอยู่กับลูกก็ได้ นางวันทองเมื่อถึงคราวจะสิ้น อายุ ไม่สามารถตัดสินใจได้ จึงกราบทูลเป็นกลางไป หวังจะให้สมเด็จพระพันวษาตัดสินให้ สมเด็จพระพันวษาได้ทรงฟังนางวันทองพูดแล้ว ก็พิโรธยิ่งนัก ตรัสประณามนางวันทองว่าเป็น หญิงหลายใจ อย่าอยู่ให้หนักแผ่นดิน ให้เอาตัวไปฆ่าเสีย 
ตัวละครในเรื่อง 
นางวันทอง 
นางพิมพิลาไลยเป็นหญิงรูปงามแต่ปากจัดเป็นบุตรของพันศรโยธาและนางศรีประจัน ต่อมาได้แต่งงานกับพลายแก้วซึ่งภายหลังมีลูกชายด้วยกัน คือ พลายงาม และได้เปลี่ยนชื่อเป็น นางวัน ต่อมานางถูกแม่บังคับให้แต่งงานใหม่กับขุนช้างท่าให้ถูกประนามว่าเป็นหญิงสองใจ นางวันทองเป็นคนที่ไม่กล้าที่จะตัดสินใจ เมื่อมีคดีฟ้องร้องถึงสมเด็จพระพันวษา ซึ่งพระองค์ให้ นางเลือกว่าจะอยู่กับใครแต่นางตัดสินใจไม่ถูกจึงถูกสั่งประหารชีวิต
นางวันทองมีลักษณะสาวชาวบ้านจึงเป็นคนซื่อ ไม่ค่อยฉลาดเท่าใดนัก ท่าอะไรก็ท่าตาม ประสาหญิงชาวบ้าน แต่สังคมไทยมีความจ่ากัดให้ผู้หญิงอยู่ในกรอบของประเพณี จึงท่าให้ดู เหมือนว่านางวันทองไม่รักนวลสงวนตัว อย่างไรก็ตาม นางวันทองก็ยังมีภาพลักษณ์ด้านดีที่เห็นได้ชัด คือ ความละเอียดอ่อน ไม่ ว่าจะเป็นในเรื่องการรับรู้ถึงความดีของผู้อื่นที่ปฏิบัติต่อนาง ดังจะเห็นได้จาก ถึงแม้นางจะไม่ได้ รักขุนช้างแต่ด้วยความดีของขุนช้างและความผูกพันที่อยู่กันมา 15 ปี ท่าให้นางเป็นห่วงเป็นใย ความทุกข์สุข และความรู้สึกของขุนช้างไม่น้อย นางวันทองยังเป็นแม่ที่ดี คือเมื่อเห็นลูกกาลัง กระท่าผิดก็ไม่เห็นดีเห็นงามด้วย ดังจะเห็นได้จากตอนที่พลายงามบุกขึ้นเรือนขุนช้างในยาม วิกาล นอกจากนี้นางวันทองยังเป็นคนกล้าที่จะยอมรับชะตากรรมของตัวเอง มีน้าใจเมตตา และ ให้อภัยโดยไม่เคียดแค้น 
ขุนแผน 
ขุนแผนเดิมชื่อพลายแก้วเป็นบุตรของขุนไกรพลพ่ายและนางทองประศรีมีรูปร่างหน้าตา งดงามคมสัน สติปัญญาเฉลียวฉลาด ด้วยลักษณะนิสัยเป็นคนเจ้าชู้และมีคารมคมคาย จึงง่ายต่อ การพิชิตใจหญิงสาวที่ผ่านเข้ามาในชีวิตของพลายแก้ว มีดาบฟ้าฟื้นเป็นอาวุธประจาตัว พาหนะ คู่ใจคือม้าสีหมอก ได้บวชเณรและเรียนวิชาที่วัดส้มใหญ่ แล้วย้ายไปเรียนต่อที่วัดป่าเลไลยจน สุดท้ายไปเป็นศิษย์สมภารคง วัดแค มีความรู้ทางโหราศาสตร์ ปลุกผี อยู่ยงคงกระพันคาถา มหาละลวยท่าให้ผู้หญิงรักตลอดจนวิชาจากตารับพิชัยสงคราม และยังมีความสามารถเทศนาได้ ไพเราะจับใจอีกด้วย ต่อมาสึกจากเณรแล้วแต่งงานกับนางพิมพาลาไลย ไม่นานก็ถูกเรียกตัวไป เป็นแม่ทัพรบกับเชียงใหม่ ครั้นได้ชัยชนะกลับมาก็ได้เป็นขุนแผนแสนสะท้านแต่ปรากฏว่า ภรรยาแต่งงานใหม่กับขุนช้าง ภายหลังขุนแผนต้องโทษถูกจ่าคุกถึง ๑๕ ปี จึงพ้นโทษ และท่า สงครามกับเชียงใหม่อีกครั้งเมื่อชนะกลับมาก็ได้ตาแหน่งเป็นพระสุรินทรฤาไชย เจ้าเมือง กาญจนบุรี
ขุนช้าง 
ขุนช้างมีลักษณะรูปชั่วตัวด่าหัวล้านมาแต่กาเนิด นิสัยเจ้าเล่ห์เพทุบายเป็นบุตรของขุนศรี วิชัยและนางเทพทองซึ่งมีฐานะร่ารวยมาก ขุนช้างแม้จะเกิดมาเป็นลูกเศรษฐีแต่ก็อาภัพถูกแม่ เกลียดชังเพราะอับอายที่มีลูกหัวล้าน จึงมักถูกแม่ด่าว่าอยู่เสมอและไม่ว่าจะเดินไปทางใดก็จะ เป็นที่ขบขันล้อเลียนของชาวบ้านทั่วไปเสมอ 
พอเป็นหนุ่มก็ได้นางแก่นแก้วเป็นภรรยาอยู่ด้วยกันได้ปีกว่านางก็ตายจึงหันมาหมายปอง นางพิมพิลาไลยแต่นางไม่ยินดีด้วยและได้แต่งงานกับพลายแก้วแต่ขุนช้างก็ยังไม่ลดความ พยายามคงใช้อุบายจนได้แต่งงานกับนางสมใจปรารถนาข้อดีของขุนช้าง คือรักเดียวใจเดียวและ เลี้ยงดูนางวันทองเป็นอย่างดีท่าให้นางวันทองเริ่มเห็นใจขุนช้าง 
สมเด็จพระพันวษา 
สมเด็จพระพันวษา เป็นพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ยุคนี้เป็นยุคที่บ้านเมือง เจริญรุ่งเรือง มีความอุดมสมบูรณ์ราษฎรทั้งหลายอยู่กันอย่างร่มเย็นเป็นสุข บรรดาประเทศ ใกล้เคียงก็อ่อนน้อม เพราะย่าเกรงบารมีสมเด็จพระพันวษามีนิสัยโกรธง่าย จะเห็นได้จากตอนที่ ให้นางวันทองเลือกว่าจะอยู่กับใคร นางมีความลังเล เลือกไม่ได้ว่าจะอยู่กับใคร พระพันวษา ทรงโกรธจึงรับสั่งให้ประหารชีวิต แต่พระองค์ก็นับว่าเป็นพระมหากษัตริย์ที่มีความยุติธรรมต่อ พวกทหาร เสนาอามาตย์ และราษฎรพอสมควร เมื่อมีคดีฟ้องร้องกัน ก็จะให้มีการไต่สวน และ พิสูจน์ความจริง พลายงาม พลายงาม มีตาแหน่งราชการเป็น จมื่นไวยวรนาถ ซึ่งมักเรียกสั้นๆ ว่า พระไวย หรือหมื่นไวย เป็นลูกของขุนแผนกับนางวันทอง แต่ไปคลอดที่บ้านของขุนช้าง ยิ่งโต พลายงามก็ยิ่งละหม้ายคล้ายขุนแผนมาก มีอุปนิสัยความสามารถคล้ายขุนแผน ข้อดีของพลาย งามคือมีความสามารถในการออกรบท่าศึกสงคราม พลายงามมีความกตัญญูตอนที่พลายงามไป ช่วยพ่อขุนแผนที่คุกโดยอาสาขอให้พ่อขุนแผนไปทัพด้วยและได้ชัยชนะกลับมา ถ้าให้พระ พันวษายกโทษให้ ข้อเสียของพลายงาม คือ เป็นถึงขุนนางแต่ประพฤติตัวไม่เหมาะสม คือตอน
ที่ว่าพลายงามบุกขึ้นเรือนขุนช้างในยามวิกาลเพื่อที่จะลักพาตัวแม่วันทองมาอยู่ด้วยท่าให้ขุนช้าง โกรธจึงฟ้องถวายฎีกาและยังมีความเจ้าชู้ ตอนที่ว่าพลายงามได้นางสร้อยฟ้าและนางศรีมาลา เป็นเมีย แต่เจ้าชู้น้อยกว่าขุนแผน 
คุณค่าด้านวรรณศิลป์ 
สะท้อนถึงอารมณ์โกรธแค้นและสะเทือนใจ 
...ยิ่งคิดเดือดดาลทะยานใจ ฉวยได้กระดานชะนวนมา 
ร่างฟ้องท่องเทียบให้เรียบร้อย ถ้อยค่าถี่ถ้วนเป็นหนักหนา... 
มีการพรรณนาถึงเรื่องฝันร้าย 
...ครั้งนี้น่าจะมีอันตราย ฝันร้ายสาหัสตัดตารา 
พิเคราะห์ดูทั้งยามอัฐกาล ก็บันดาลฤกษ์แรงเป็นหนักหนา 
มิรู้ที่จะแถลงแจ้งกิจจา กอดเมียเมินหน้าน้าตากระเด็น... 
ใช้ถ้อยคาเกิดความเศร้าสะเทือนใจสงสารในชะตากรรมของตัวละคร 
...วันนี้แม่จะลาพ่อพลายแล้ว จะจ่าจากลูกแก้วไปสูญสิ้น 
พอบ่ายก็จะตายลงถมดิน ผินหน้ามาแม่จะขอชม 
เกิดมาไม่เหมือนกับเขาอื่น มิได้ชื่นเชยชิดสนิทสนม... 
...ร่าพลางนางกอดพระหมื่นไวย น้าตกไหลซบเซาไม่เงยหน้า 
ง่วงหงุบฟุบลงกับพสุธา กอดลูกยาแน่นิ่งไม่ติงกาย
การบรรยายโวหาร 
ฟ้าขาวดาวเด่นดวงสว่าง จันทร์กระจ่างทรงกลดหมดมฆสิ้น 
จึงเซ่นเหล้าข้าวปลาให้พรายกิน เสกขมิ้นว่านยาเข้าทาตัว 
เชิงเปรียบเทียบ 
อีวันทองตัวมันเหมือนแก้ว ถ้าตัดโคนขาดแล้วก็ใบเหี่ยว 
ใครจะควรสู่สมอยู่กลมเกลียว ให้เด็ดเดี่ยวรู้กันแต่วันนี้ 
สัมผัสแบบกลอนแปด 
ครานั้นพระองค์ทรงธรณินทร์ หาได้ยินวันทองทูลขึ้นไม่ 
พระตรัสความถามซักไปทันใด ฤามึงไม่รักใครให้ว่ามา 
กวีแทรกอารมณ์ขันในการแต่ง 
ขุนช้างเห็นข้าไม่มาใกล้ ขัดใจลุกขึ้นทั้งแก้ผ้า 
แหงนเถ่อเป้อปังยืนจังกา ย่างเท้าก้าวมาไม่รู้ตัว 
ยายจันงันงกยกมือไหว้ นั่นพ่อจะไปไหนพ่อทูนหัว 
ไม่นุ่งผ่อนนุ่งผ้าดูน่ากลัว ขุนช้างมองดูตัวก็ตกใจ คุณค่าด้านสังคม 
แสดงค่านิยมและความเชื่อของคนในสังคมสมัยอยุธยาซึ่งแม้ว่าจะไม่อาจประเมิน ข้อเท็จจริงทางสังคมได้เช่นเดียวกันกับเอกสารทางประวัติศาสตร์ แต่วรรณคดีเรื่องนี้ก็เป็นภาพ สะท้อนที่แสดงให้เห็นโลกทัศน์ของครอบครัวขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยาและรัตนโกสินทร์ว่า มีความจงรักภักดีต่อองค์พระมหากษัตริย์อย่างสุดสูงเพียงใดสะท้อนให้ว่าในสังคมสมัยนั้น
กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยิ่งมีอานาจอยู่เหนือกฎหมายและสะท้อนให้เห็นในสมัย นั้นจะมีการตีฆ้องบอกเวลาและจะมีเรื่องเกี่ยวความเชื่อเช่นเชื่อเรื่องภูตผีปีศาจ คาถาอาคม เรื่อง โชคชะตาดวงของคน 
คาอธิบายศัพท์ 
๑. ทรามสวาดิ เป็นที่รัก 
๒. ตกว่า ราวกับว่า 
๓. ฎีกา ค่าร้องทุกข์ที่ยื่นถวายพระเจ้าแผ่นดิน 
๔. เพรางาย เวลาเช้า และเวลาเย็น 
๕. เมรุไก ภูเขา 
๖. ร้องเกน ร้องตะโกนดังๆ 
๗. สะเดากลอน ท่าให้กลอนประตูหลุดออกได้ด้วยคาถาอาคม 
๘. แหงนเถ่อ ค้างอยู่ 
๙. อุธัจ ตกประหม่า 
๑๐. มินหม้อ เขม่าด่าที่ติดก้นหม้อ 
๑๑. ส่งทุกข์ เข้าสวม 
๑๒. ขี้ครอก ลูกของข้าทาส 
๑๓. เครื่องอาน เครื่องกิน 
๑๔. จวงจันทน์ เครื่องหอมที่เจือด้วยไม้จวงและไม้จันทน์
แบบทดสอบเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา 
๑. บทเสนาขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกาเป็นตอนที่เท่าไหร่ ๑.บทที่๓๓ 
๒.บทที่๓๔ 
๓.บทที่๓๕ ๔.บทที่๓๖ 
๕.บทที่๓๗ 
๒. เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกาใครคือผู้แต่ง ๑.รัชกาลที่๒ 
๒.รัชกาลที่๓ 
๓.รัชกาลที่๔ ๔.สุนทรภู่ 
๕.ไม่ปรากฏผู้แต่ง 
๓. เหตุใดขุนช้างจึงถวายฎีกา ๑.ต้องการได้นางวันทองมาครอบครอง ๒.ต้องการครองราชย์สมบัติ ๓.ต้องการเพิ่มเบี้ยหวัดในอาชีพราชการ ๔.ต้องการประจบสอพลอพระพันวสาเพื่อเอาความดีเข้าตัว ๕.เรียกร้องความสนใจ
๔. ใครมีบทบาทมากที่สุดในตอนขุนช้างถวายฎีกา ๑.ขุนช้าง 
๒.ขุนแผน 
๓.นางทองประศรี ๔.นางศรีประจัน 
๕.เสนาอามาตย์ 
๕. ขุนช้างมีวิธีการอย่างไรเพื่อให้พระพันวสารับฎีกา ๑. กราบอ้อนวอน 
๒. ลงลอยคอในน้า 
๓. อาสาออกรบ ๔. ให้สินบนกับเสนาอามาตย์ 
๕. นาแก้วแหวนเงินทองมาถวาย 
๖. พระพันวสา เป็นกษัตริย์ของเมืองใด ๑. กรุงสุโขทัย 
๒. กรุงอโยธยา 
๓. กรุงศรีอยุธยา ๔. กรุงหงสาวดี 
๕. กรุงล้านช้าง
๗. “ทุกวันนี้ลูกชายสบายยศ พร้อมหมดเมียมิ่งก็มีสอง มีบ่าวไพร่ใช้สอยทั้งเงินทอง พี่น้องข้างพ่อก็บริบูรณ์” เมียมิ่งก็มีสองหมายถึงผู้ใด ๑.นางสร้อยทองและนางสายทอง 
๒.นางแก้วกิริยาและนางลาวทอง ๓.นางสร้อยฟ้าและนางศรีมาลา 
๔.นางสายทองและนางลาวทอง ๕.นางสร้อยฟ้าและนางแก้วกิริยา 
๘. พฤติกรรมของใครเกิดจากการใช้อารมณ์เหนือเหตุผล ๑.ขุนช้าง 
๒.ขุนแผน 
๓.จมื่นไวย ๔.นางวันทอง 
๕.พระพันวสา 
๙. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุที่ทาให้นางวันทองถูกประหารชีวิต ๑. นางวันทองเป็นเมียขุนแผนแล้วยังยอมเป็นเมียขุนช้างอีก ๒. พระพันวษาทรงพระพิโรธนางวันทองที่ไม่ตัดสินใจให้เด็ดขาด ๓. ขุนแผนไม่ได้เพ็ดทูลของนางวันทองคืนจากขุนช้าง ๔. จมื่นไวยไปลักแม่มาในยามค่าคืน 
๕.ขุนช้างถวายฏีกา
๑๐. ข้อใดไม่มีภาพสะท้อนทางวัฒนธรรม ๑. ถ้ารักน้องป้องปิดให้มิดอาย ฉันกลับกลายแล้วหม่อมจงฟาดฟัน ๒. พระจันทรจรแจ่มกระจ่างดี พระพายพัดมาลีตรลบไป ๓. ไปเพ็ดทูลเสียให้ทูลกระหม่อมแจ้ง น้องจะแต่งบายศรีไว้เชิญขวัญ ๔. หญิงเดียวชายครองเป็นสองมิตร ถ้ามิปลิดเสียให้เปลื้องไม่ตามใจ 
๕. อีมีอีมาอีสาคร นิ่งนอนไยหวามาหากู 
๑๑. “ พลางเรียกหาข้าไทอยู่ว้าวุ่น อีอุ่นอีอิ่มอีฉิมอีสอน อีมีอีมาอีสาคร นิ่งนอนไยหวามาหากู” คาประพันธ์นี้ขุนช้างเรียกคนใช้ทั้งหมดกี่คน ๑. ๖ คน 
๒. ๗ คน 
๓. ๘ คน ๔. ๙ คน 
๕. ๕ คน 
๑๒. ข้อใดคือเหตุผลที่วันทองต้องถูกลงพระอาญารุนแรงถึงขั้น “อกเอาขวานผ่าอย่าปรานี อย่าให้มีโลหิตติดตีนกู เอาใบตองรองไว้ให้หมากิน ตกดินจะอัปรีย์กาลีอยู่” ๑.ว่าหญิงชั่วผัวยังคราวละคนเดียว หาตอมกันเกลียวเหมือนมึงไม่ ๒.กูเลี้ยงมึงให้ถึงเป็นหัวหมื่น คนอื่นรู้ว่าแม่ก็ขายหน้า ๓.ที่รูปรวยสวยสมมีถมไป มึงตัดใจเสียเถิดอีคนนี้ ๔.รูปงามนามเพราะน้อยไปหรือ ใจไม่ซื่อสมศักดิ์เท่าเส้นผม 
๕.พระจันทรจรแจ่มกระจ่างดี พระพายพัดมาลีตรลบไป
๑๓. ข้อใดไม่แสดงอาการเคลื่อนไหว ๑. ย่างท้าวก้าวไปในทันที มิได้มีใครทักแต่สักคน ๒.โอ้แม่เจ้าประคุณของลูกเอ๋ย ไม่ควรเลยจะพรากจากคุณพ่อ ๓. ชมพลางย่างเยื้องชาเลืองมา เปิดมุ้งเห็นหน้าแม่วันทอง ๔. พลางนั่งลงนอบนบอภิวันท์ สะอื้นอั้นอกแค้นน้าตาคลอ 
๕.รูปงามนามเพราะน้อยไปหรือ ใจไม่ซื่อสมศักดิ์เท่าเส้นผม 
๑๔. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับความเชื่อในเรื่องไสยศาสตร์ ๑. ดูเวลาปลอดห่วงทักทิน 
๒. เสกขมิ้นว่านยาเข้าทาตัว ๓. เงียบสัตว์จัตุบททวิบาท 
๔. ลงยันต์ราชะเอาปะอก 
๕.ขุนแผนเป่ามนตร์สะเดาะกลอน 
๑๕. “ขุนช้างเห็นข้าไม่มาใกล้ ขัดใจลุกขึ้นทั้งแก้ผ้า แหงนเถ่อเป้อปังยืนจังกา ย่างท้าวก้าวมาไมรู้ตัว” คาที่ขีดเส้นใต้หมายถึงข้อใด ๑. มองดู 
๒. นิ่งเฉย 
๓. ค้างอยู่ ๔. เดินด้วยอาการไว 
๕.พยักหน้า
๑๖. เรื่องขุนช้างขุนแผนมีเนื้อหาสาระที่คนชอบเพราะเหตุผลใดเป็นสาคัญ ๑. เรื่องที่มีหลายรส หลายอารมณ์ ๒. เรื่องที่ไม่เป็นไปตามใจหวัง ๓. เรื่องที่ไม่สมหวังของตัวละคร ๔. เรื่องที่สะท้อนชีวิตของคนสมัยก่อน ๕. เป็นเรื่องพี่สนุกลุ้นระทึก 
๑๗. การกระทาของขุนช้างที่ฉุดนางวันทองซึ่งเป็นภรรยาของขุนแผนมาเป็นภรรยา ตนนั้น ถือว่าผิดศีลข้อใด ๑. ปาณาติปาตา เวรมณี ๒. อทินนาทานา เวรมณี ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวรมณี ๔. มุสาวาทา เวรมณี ๕.โกรธา เวรมณี
๑๘. “เจ้าเป็นถึงหัวหมื่นมหาดเล็ก มิใช่เด็ดดอกจงฟังคาแม่ว่า จงเร่งไปคิดกับบิดา ฟ้องหากราบทูลพระทรงธรรม์” คาประพันธ์นี้นางวันทองต้องการบอกอะไรให้พลายงาม ๑. ดุด่าว่ากล่าว ๒. พร่าสอน ๓. เตือนสติ ๔. ชักชวน ๕.ยินดี ๑๙. “พี่ผิดจริงแล้วเจ้าวันทอง เหมือนลืมน่องหลงเลือนทาเชือนเฉย” ข้อความนี้ ใครสานึกผิดในเรื่องใด ๑. ขุนช้างสานึกผิด ในเรื่องที่หึงหวงนางวันทองมากเกินไป ๒. ขุนช้างสานึกผิด ในเรื่องไม่ดูแลนงวันทองให้ดี จนถูกพลายงามมาลักตัวไป ๓. ขุนแผนสานึกผิด ในเรื่องที่มีภรรยาหลายคน ๔.ขุนแผนสานึกผิด ในเรื่องที่ไม่ได้ทูลขอนางวันทองคืนจากขุนช้าง หลังจากรบชนะ เจ้าเชียงใหม่ ๕. ขุนแผนสานึกผิด เรื่องที่ตนเจ้าชู้
๒๐. “ครานั้นจึงโฉมเจ้าวันทอง เศร้าหมองด้วยลูกเป็นหนักหนา พ่อพลายงามทรามสวาดิของแม่อา แม่โศกาเกือบเจียนจะบรรลัย ใช่จะอิ่มเอิบอาบด้วยเงินทอง มิใช่ของตัวทามาแต่ไหน ทั้งผู้คนช้างม้าแลข้าไท ไม่รักใคร่เหมือนกับพ่อพลายงาม ทุกวันนี้ใช่แม่จะผาสุก มีแต่ทุกข์ใจเจ็บดังเหน็บหนาม ต้องจาจนทนกรรมที่ติดตาม จะขืนความคิดไปก็ใช่ที” คาประพันธ์นี้นางวันทองต้องการบอกให้รู้อะไร ๑. บอกถึงความวิตกกังวล ๒. ราพันถึงความทุกข์ใจ ๓. ให้คาแนะนา ๔. แสดงความท้อใจ ๕. ราพึงราพันถึงความรัก ๒๑. การกราบบังคมทูลเป็นกลางของนางวันทองทาให้ส่งผลอย่างไร ๑. ที่รูปรวยสวยสมมีถมไป ๒. ให้ฟันฟาดเสียให้เป็นผี ๓. เอาใบตองรองไว้ให้หมากิน ๔. อกเอาขวานผ่าอย่าปรานี ๕.อีแสนถ่อยจัญไรใจทมิฬ
๒๒. ข้อใดเป็นวิธีที่ขุนช้างใช้ถวายฎีกา ๑. ไปเข้าเฝ้าที่ท้องพระโรง ๒. ลักลอบไปในห้องพระบรรทม ๓. ฝากขุนนางผู้ใหญ่ไปถวาย ๔ ว่ายน้าลอยคอถวายฎีกาที่เรือพระที่นั่ง ๕. ตะโกนใกล้เรือพระที่นั่งของพระพันวษา ๒๓. “อีแสนถ่อยจัญไรใจทมิฬ ดังเพชรนิลเกิดขึ้นในอาจม” ผู้ประพันธ์ใช้โวหารใดในการ ประพันธ์ ๑. อุปลักษณ์ ๒. อุปมา ๓. สัทพจน์ ๔. พรรณนาโวหาร ๕.สาธก
๒๔. เมื่อขุนช้างถวายฎีกาต่อสมเด็จพระพันวษา ทาไมต้องถูกเฆี่ยนถึง 30 ที ๑. ขุนช้างละเมิดกฎหมายในการรักษาความปลอดภัยแก่พระมหากษัตริย์ ๒. ขุนช้างสร้างความราคาญในการเสด็จประพาส ๓. ขุนช้างไม่รู้จักกาลเทศะความเหมาะสม ๔. ขุนช้างชอบฟ้องร้องเรื่องไร้สาระ ๕. ขุนช้างโวยวายทาให้พระพันวษากริ้ว ๒๕. เสภาคืออะไร ๑. การขับลานาเป็นเรื่องราว ใช้กรับเป็นเครื่องประกอบจังหวะ ๒. การร้องเป็นทานองสรภัญญะ ใช้กลองรามะนาเป็นเครื่องประกอบจังหวะ ๓. การร้องเป็นทานองแหล่ ใช้ระนาดเป็นเครื่องประกอบจังหวะ ๔. การร้องเป็นทานองไทยเดิม ใช้ฉิ่งเป็นเครื่องประกอบจังหวะ ๕. เป็นการร้องประกอบเพลง
เฉลยแบบฝึกหัด 
ข้อ ตอบ 
๑. ๓ 
๒. ๔ 
๓. ๑ 
๔. ๑ 
๕. ๒ 
๖. ๓ ๗. ๓ ๘. ๕ 
๙. ๑ 
๑๐. ๓ 
๑๑. ๒ 
๑๒. ๑ 
๑๓. ๒ 
๑๔. ๓ 
๑๕. ๓ 
๑๖. ๒
ข้อ ตอบ 
๑๗. ๓ 
๑๘. ๓ 
๑๙. ๔ 
๒๐. ๔ 
๒๑. ๒ 
๒๒. ๔ 
๒๓. ๒ 
๒๔. ๓ 
๒๕. ๓

Contenu connexe

Tendances

โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนChittraporn Phalao
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sp'z Puifai
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการsupaporn2516mw
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์Supaporn Khiewwan
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 

Tendances (20)

คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
การใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทยการใช้โวหารในภาษาไทย
การใช้โวหารในภาษาไทย
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่อง การเขียนบรรณานุกรมออนไลน์
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 

En vedette

ขุนช้าง ขุนแผน
ขุนช้าง ขุนแผนขุนช้าง ขุนแผน
ขุนช้าง ขุนแผนuncasanova
 
ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54
ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54
ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54Wonder Juey
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6teerachon
 
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551Atthaphon45614
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6teerachon
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยSuriyawaranya Asatthasonthi
 

En vedette (9)

ขุนช้าง ขุนแผน
ขุนช้าง ขุนแผนขุนช้าง ขุนแผน
ขุนช้าง ขุนแผน
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
คำทับศัพท์
คำทับศัพท์คำทับศัพท์
คำทับศัพท์
 
ใบความรู้ ขุนช้างขุนแผน
ใบความรู้  ขุนช้างขุนแผนใบความรู้  ขุนช้างขุนแผน
ใบความรู้ ขุนช้างขุนแผน
 
ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54
ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54
ข้อสอบ ภาษาไทย O net '54
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
 
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
ข้อสอบโควตา มช วิชาภาษาไทย ปี 2551
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
 

Similaire à วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด (11)

ขุนช้างขุนแผนฉบับร้อยแก้ว
ขุนช้างขุนแผนฉบับร้อยแก้วขุนช้างขุนแผนฉบับร้อยแก้ว
ขุนช้างขุนแผนฉบับร้อยแก้ว
 
พุทธสาวก
พุทธสาวกพุทธสาวก
พุทธสาวก
 
มัทนะพาธา
มัทนะพาธามัทนะพาธา
มัทนะพาธา
 
ใบความรู้ ขุนช้างขุนแผน
ใบความรู้  ขุนช้างขุนแผนใบความรู้  ขุนช้างขุนแผน
ใบความรู้ ขุนช้างขุนแผน
 
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
 
พระอภัยมณี
พระอภัยมณีพระอภัยมณี
พระอภัยมณี
 
Communude
CommunudeCommunude
Communude
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
นวน ยาย
นวน ยายนวน ยาย
นวน ยาย
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 

วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด

  • 1. “ขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา” เนื้อเรื่องย่อ เรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา ฝ่ายพลายงาม เมื่อชนะความขุนช้างแล้ว ก็อยู่มาด้วยความสุข แต่มาคิดว่ายังขาดแต่มารดา เห็นว่าไม่ควรคู่กับขุนช้าง แล้วคิดว่าจะรับแม่กลับมาอยู่กับขุนแผน พอตกค่าจึงออกเดินทางไป บ้านขุนช้าง สะกดผู้คน ภูตพราย และแก้อาถรรพณ์ แล้วสะเดาะกลอน เข้าไปถึงชั้นสาม ห้องนอน ถอนสะกดนางวันทอง แล้วเจรจากัน พระไวยแจ้งว่าจะมารับนางวันทองกลับไปบ้าน นางวันทองแนะนาให้น่าเรื่องขึ้นกราบทูลพระพันวษาพลายงามไม่เห็นด้วยและจะพาไปให้ได้ นางวันทองจนใจจึงยอมไปกับพระไวย ขุนช้างตื่นขึ้นไม่พบนางวันทอง ให้บ่าวไพร่ค้นหาไม่ พบ ฝ่ายพลายงามได้คิดว่า ถ้าขุนช้างรู้ว่าลักนางวันทองมา ก็คงจะน่าความขึ้นกราบทูลสมเด็จ พระพันวษา มารดาก็จะต้องโทษ คิดแล้วจึงให้หมื่นวิเศษผล ไปหาขุนช้างที่บ้าน ช่วยไกล่เกลี่ย เรื่องราว อย่าให้ขุนช้างโกรธ ด้วยเป็นคนที่เคยชอบพอกัน โดยให้บอกขุนช้างว่า ตนจับไข้อยู่ หลายวัน เกรงว่าแม่ไม่ทันจะเห็นหน้า จึงให้คนไปพาแม่มา พอให้ตนหายไข้แล้ว จะส่งมารดา คืนกลับไป หมื่นวิเศษรับค่าแล้วก็รีบไปบ้านขุนช้าง แจ้งเรื่องตามที่พระไวยสั่งมาทุกประการ ขุนช้างได้ฟังก็ทั้งโกรธและแค้น เมื่อข่มความโกรธแล้วก็ตอบไปว่า ไม่เป็นไรเรื่องการเจ็บไข้ ถ้า ขัดสนสิ่งไรก็ขอให้มาเอาที่ตนได้ ว่าแล้วก็ปิดหน้าต่างใส่ ด้วยความเดือดดาลและแค้นใจ ฝ่ายขุนช้างร่างฟ้องเสร็จแล้ว ก็มาที่วังใน รออยู่ที่ใต้ตาหนักน้า พอสมเด็จพระพันวษา เสด็จกลับวังทางเรือตอนจวนค่าขุนช้างก็ลงลอยคอเข้าถวายฎีกา สมเด็จพระพันวษาเห็นเข้า ก็ ทรงพระพิโรธ ให้รับฎีกาไว้ แล้วเอาตัวไปเฆี่ยนสามสิบที จากนั้นให้ตั้งกฤษฎีกาว่า ตั้งแต่นี้ไป ถ้าใครปล่อยให้ใครเข้ามาในล้อมวง ต้องระวางโทษเจ็ดสถาน ถึงประหารชีวิต ฝ่ายขุนแผนได้อยู่ กับนางแก้วกิริยา และนางลาวทองมาด้วยความผาสุก ตกกลางคืนคิดถึงนางวันทอง จึงออกเดิน มาที่ห้องนางวันทอง ที่เรือนพระไวย ปลุกนางขึ้นมาสนทนาด้วย ได้พร่าราพันถึงความหลัง ที่
  • 2. ตกทุกข์ได้ยากด้วยกันมา นางวันทองแนะน่าขุนแผน ให้น่าความขึ้นเพ็ดทูลพระพันวษา และไม่ ยอมตกเป็นของขุนแผน พอตกดึกก็ฝันไปว่า ถูกพยัคฆ์ตะครุบ คาบตัวไปในป่า ตกใจตื่น แก้ฝัน ให้ขุนแผนฟัง ขุนแผนได้ฟังก็ใจหาย รู้ว่าฝันร้ายมีอันตราย วันรุ่งขึ้น สมเด็จพระพันวษาเสด็จ ออกว่าราชการ เห็นขุนช้างเข้าเฝ้าอยู่ จึงตรัสว่า เรื่องนางวันทองไม่รู้จบ เมื่อครั้งก่อน เรื่องตก หนักที่นางศรีประจัน ก็ตัดสินไปอยู่กับขุนแผน แต่ท่าไมกลับมาอยู่กับขุนช้าง แล้วให้หมื่นศรีไป เอาตัวนางวันทอง ขุนแผนและพระไวยมาเฝ้า ทั้งสามคนได้ฟังความก็ตกใจ ขุนแผนจึงจัดการ ช่วยเหลือนางวันทองด้วยเวทมนตร์ แล้วจึงพากันไปเข้าเฝ้าสมเด็จพระพันวษาจึงตรัสถามนาง วันทอง ถึงเรื่องราวแต่หนหลัง นางวันทองก็กราบทูลให้ทรงทราบ เมื่อทรงทราบแล้ว ก็กริ้วขุน ช้างเป็นกาลัง แล้วตรัสถามนางวันทองต่อไปว่า เวลาล่วงไปแล้วถึงสิบแปดปี แต่ท่าไมวันนี้จึงมา ได้ นางวันทองก็กราบทูลว่า พระไวยไปรับเมื่อตอนกลางคืน สมเด็จพระพันวษาได้ฟัง ก็ทรงขุ่น เคืองพระไวย ที่ท่าตามอาเภอใจเพราะแย่งชิงนางวันทองกัน จึงให้นางวันทองตัดสินใจว่า จะอยู่ กับใคร หรือถ้าไม่อยากอยู่กับทั้งสองคน จะเลือกอยู่กับลูกก็ได้ นางวันทองเมื่อถึงคราวจะสิ้น อายุ ไม่สามารถตัดสินใจได้ จึงกราบทูลเป็นกลางไป หวังจะให้สมเด็จพระพันวษาตัดสินให้ สมเด็จพระพันวษาได้ทรงฟังนางวันทองพูดแล้ว ก็พิโรธยิ่งนัก ตรัสประณามนางวันทองว่าเป็น หญิงหลายใจ อย่าอยู่ให้หนักแผ่นดิน ให้เอาตัวไปฆ่าเสีย ตัวละครในเรื่อง นางวันทอง นางพิมพิลาไลยเป็นหญิงรูปงามแต่ปากจัดเป็นบุตรของพันศรโยธาและนางศรีประจัน ต่อมาได้แต่งงานกับพลายแก้วซึ่งภายหลังมีลูกชายด้วยกัน คือ พลายงาม และได้เปลี่ยนชื่อเป็น นางวัน ต่อมานางถูกแม่บังคับให้แต่งงานใหม่กับขุนช้างท่าให้ถูกประนามว่าเป็นหญิงสองใจ นางวันทองเป็นคนที่ไม่กล้าที่จะตัดสินใจ เมื่อมีคดีฟ้องร้องถึงสมเด็จพระพันวษา ซึ่งพระองค์ให้ นางเลือกว่าจะอยู่กับใครแต่นางตัดสินใจไม่ถูกจึงถูกสั่งประหารชีวิต
  • 3. นางวันทองมีลักษณะสาวชาวบ้านจึงเป็นคนซื่อ ไม่ค่อยฉลาดเท่าใดนัก ท่าอะไรก็ท่าตาม ประสาหญิงชาวบ้าน แต่สังคมไทยมีความจ่ากัดให้ผู้หญิงอยู่ในกรอบของประเพณี จึงท่าให้ดู เหมือนว่านางวันทองไม่รักนวลสงวนตัว อย่างไรก็ตาม นางวันทองก็ยังมีภาพลักษณ์ด้านดีที่เห็นได้ชัด คือ ความละเอียดอ่อน ไม่ ว่าจะเป็นในเรื่องการรับรู้ถึงความดีของผู้อื่นที่ปฏิบัติต่อนาง ดังจะเห็นได้จาก ถึงแม้นางจะไม่ได้ รักขุนช้างแต่ด้วยความดีของขุนช้างและความผูกพันที่อยู่กันมา 15 ปี ท่าให้นางเป็นห่วงเป็นใย ความทุกข์สุข และความรู้สึกของขุนช้างไม่น้อย นางวันทองยังเป็นแม่ที่ดี คือเมื่อเห็นลูกกาลัง กระท่าผิดก็ไม่เห็นดีเห็นงามด้วย ดังจะเห็นได้จากตอนที่พลายงามบุกขึ้นเรือนขุนช้างในยาม วิกาล นอกจากนี้นางวันทองยังเป็นคนกล้าที่จะยอมรับชะตากรรมของตัวเอง มีน้าใจเมตตา และ ให้อภัยโดยไม่เคียดแค้น ขุนแผน ขุนแผนเดิมชื่อพลายแก้วเป็นบุตรของขุนไกรพลพ่ายและนางทองประศรีมีรูปร่างหน้าตา งดงามคมสัน สติปัญญาเฉลียวฉลาด ด้วยลักษณะนิสัยเป็นคนเจ้าชู้และมีคารมคมคาย จึงง่ายต่อ การพิชิตใจหญิงสาวที่ผ่านเข้ามาในชีวิตของพลายแก้ว มีดาบฟ้าฟื้นเป็นอาวุธประจาตัว พาหนะ คู่ใจคือม้าสีหมอก ได้บวชเณรและเรียนวิชาที่วัดส้มใหญ่ แล้วย้ายไปเรียนต่อที่วัดป่าเลไลยจน สุดท้ายไปเป็นศิษย์สมภารคง วัดแค มีความรู้ทางโหราศาสตร์ ปลุกผี อยู่ยงคงกระพันคาถา มหาละลวยท่าให้ผู้หญิงรักตลอดจนวิชาจากตารับพิชัยสงคราม และยังมีความสามารถเทศนาได้ ไพเราะจับใจอีกด้วย ต่อมาสึกจากเณรแล้วแต่งงานกับนางพิมพาลาไลย ไม่นานก็ถูกเรียกตัวไป เป็นแม่ทัพรบกับเชียงใหม่ ครั้นได้ชัยชนะกลับมาก็ได้เป็นขุนแผนแสนสะท้านแต่ปรากฏว่า ภรรยาแต่งงานใหม่กับขุนช้าง ภายหลังขุนแผนต้องโทษถูกจ่าคุกถึง ๑๕ ปี จึงพ้นโทษ และท่า สงครามกับเชียงใหม่อีกครั้งเมื่อชนะกลับมาก็ได้ตาแหน่งเป็นพระสุรินทรฤาไชย เจ้าเมือง กาญจนบุรี
  • 4. ขุนช้าง ขุนช้างมีลักษณะรูปชั่วตัวด่าหัวล้านมาแต่กาเนิด นิสัยเจ้าเล่ห์เพทุบายเป็นบุตรของขุนศรี วิชัยและนางเทพทองซึ่งมีฐานะร่ารวยมาก ขุนช้างแม้จะเกิดมาเป็นลูกเศรษฐีแต่ก็อาภัพถูกแม่ เกลียดชังเพราะอับอายที่มีลูกหัวล้าน จึงมักถูกแม่ด่าว่าอยู่เสมอและไม่ว่าจะเดินไปทางใดก็จะ เป็นที่ขบขันล้อเลียนของชาวบ้านทั่วไปเสมอ พอเป็นหนุ่มก็ได้นางแก่นแก้วเป็นภรรยาอยู่ด้วยกันได้ปีกว่านางก็ตายจึงหันมาหมายปอง นางพิมพิลาไลยแต่นางไม่ยินดีด้วยและได้แต่งงานกับพลายแก้วแต่ขุนช้างก็ยังไม่ลดความ พยายามคงใช้อุบายจนได้แต่งงานกับนางสมใจปรารถนาข้อดีของขุนช้าง คือรักเดียวใจเดียวและ เลี้ยงดูนางวันทองเป็นอย่างดีท่าให้นางวันทองเริ่มเห็นใจขุนช้าง สมเด็จพระพันวษา สมเด็จพระพันวษา เป็นพระมหากษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ยุคนี้เป็นยุคที่บ้านเมือง เจริญรุ่งเรือง มีความอุดมสมบูรณ์ราษฎรทั้งหลายอยู่กันอย่างร่มเย็นเป็นสุข บรรดาประเทศ ใกล้เคียงก็อ่อนน้อม เพราะย่าเกรงบารมีสมเด็จพระพันวษามีนิสัยโกรธง่าย จะเห็นได้จากตอนที่ ให้นางวันทองเลือกว่าจะอยู่กับใคร นางมีความลังเล เลือกไม่ได้ว่าจะอยู่กับใคร พระพันวษา ทรงโกรธจึงรับสั่งให้ประหารชีวิต แต่พระองค์ก็นับว่าเป็นพระมหากษัตริย์ที่มีความยุติธรรมต่อ พวกทหาร เสนาอามาตย์ และราษฎรพอสมควร เมื่อมีคดีฟ้องร้องกัน ก็จะให้มีการไต่สวน และ พิสูจน์ความจริง พลายงาม พลายงาม มีตาแหน่งราชการเป็น จมื่นไวยวรนาถ ซึ่งมักเรียกสั้นๆ ว่า พระไวย หรือหมื่นไวย เป็นลูกของขุนแผนกับนางวันทอง แต่ไปคลอดที่บ้านของขุนช้าง ยิ่งโต พลายงามก็ยิ่งละหม้ายคล้ายขุนแผนมาก มีอุปนิสัยความสามารถคล้ายขุนแผน ข้อดีของพลาย งามคือมีความสามารถในการออกรบท่าศึกสงคราม พลายงามมีความกตัญญูตอนที่พลายงามไป ช่วยพ่อขุนแผนที่คุกโดยอาสาขอให้พ่อขุนแผนไปทัพด้วยและได้ชัยชนะกลับมา ถ้าให้พระ พันวษายกโทษให้ ข้อเสียของพลายงาม คือ เป็นถึงขุนนางแต่ประพฤติตัวไม่เหมาะสม คือตอน
  • 5. ที่ว่าพลายงามบุกขึ้นเรือนขุนช้างในยามวิกาลเพื่อที่จะลักพาตัวแม่วันทองมาอยู่ด้วยท่าให้ขุนช้าง โกรธจึงฟ้องถวายฎีกาและยังมีความเจ้าชู้ ตอนที่ว่าพลายงามได้นางสร้อยฟ้าและนางศรีมาลา เป็นเมีย แต่เจ้าชู้น้อยกว่าขุนแผน คุณค่าด้านวรรณศิลป์ สะท้อนถึงอารมณ์โกรธแค้นและสะเทือนใจ ...ยิ่งคิดเดือดดาลทะยานใจ ฉวยได้กระดานชะนวนมา ร่างฟ้องท่องเทียบให้เรียบร้อย ถ้อยค่าถี่ถ้วนเป็นหนักหนา... มีการพรรณนาถึงเรื่องฝันร้าย ...ครั้งนี้น่าจะมีอันตราย ฝันร้ายสาหัสตัดตารา พิเคราะห์ดูทั้งยามอัฐกาล ก็บันดาลฤกษ์แรงเป็นหนักหนา มิรู้ที่จะแถลงแจ้งกิจจา กอดเมียเมินหน้าน้าตากระเด็น... ใช้ถ้อยคาเกิดความเศร้าสะเทือนใจสงสารในชะตากรรมของตัวละคร ...วันนี้แม่จะลาพ่อพลายแล้ว จะจ่าจากลูกแก้วไปสูญสิ้น พอบ่ายก็จะตายลงถมดิน ผินหน้ามาแม่จะขอชม เกิดมาไม่เหมือนกับเขาอื่น มิได้ชื่นเชยชิดสนิทสนม... ...ร่าพลางนางกอดพระหมื่นไวย น้าตกไหลซบเซาไม่เงยหน้า ง่วงหงุบฟุบลงกับพสุธา กอดลูกยาแน่นิ่งไม่ติงกาย
  • 6. การบรรยายโวหาร ฟ้าขาวดาวเด่นดวงสว่าง จันทร์กระจ่างทรงกลดหมดมฆสิ้น จึงเซ่นเหล้าข้าวปลาให้พรายกิน เสกขมิ้นว่านยาเข้าทาตัว เชิงเปรียบเทียบ อีวันทองตัวมันเหมือนแก้ว ถ้าตัดโคนขาดแล้วก็ใบเหี่ยว ใครจะควรสู่สมอยู่กลมเกลียว ให้เด็ดเดี่ยวรู้กันแต่วันนี้ สัมผัสแบบกลอนแปด ครานั้นพระองค์ทรงธรณินทร์ หาได้ยินวันทองทูลขึ้นไม่ พระตรัสความถามซักไปทันใด ฤามึงไม่รักใครให้ว่ามา กวีแทรกอารมณ์ขันในการแต่ง ขุนช้างเห็นข้าไม่มาใกล้ ขัดใจลุกขึ้นทั้งแก้ผ้า แหงนเถ่อเป้อปังยืนจังกา ย่างเท้าก้าวมาไม่รู้ตัว ยายจันงันงกยกมือไหว้ นั่นพ่อจะไปไหนพ่อทูนหัว ไม่นุ่งผ่อนนุ่งผ้าดูน่ากลัว ขุนช้างมองดูตัวก็ตกใจ คุณค่าด้านสังคม แสดงค่านิยมและความเชื่อของคนในสังคมสมัยอยุธยาซึ่งแม้ว่าจะไม่อาจประเมิน ข้อเท็จจริงทางสังคมได้เช่นเดียวกันกับเอกสารทางประวัติศาสตร์ แต่วรรณคดีเรื่องนี้ก็เป็นภาพ สะท้อนที่แสดงให้เห็นโลกทัศน์ของครอบครัวขุนนางในสมัยกรุงศรีอยุธยาและรัตนโกสินทร์ว่า มีความจงรักภักดีต่อองค์พระมหากษัตริย์อย่างสุดสูงเพียงใดสะท้อนให้ว่าในสังคมสมัยนั้น
  • 7. กษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยิ่งมีอานาจอยู่เหนือกฎหมายและสะท้อนให้เห็นในสมัย นั้นจะมีการตีฆ้องบอกเวลาและจะมีเรื่องเกี่ยวความเชื่อเช่นเชื่อเรื่องภูตผีปีศาจ คาถาอาคม เรื่อง โชคชะตาดวงของคน คาอธิบายศัพท์ ๑. ทรามสวาดิ เป็นที่รัก ๒. ตกว่า ราวกับว่า ๓. ฎีกา ค่าร้องทุกข์ที่ยื่นถวายพระเจ้าแผ่นดิน ๔. เพรางาย เวลาเช้า และเวลาเย็น ๕. เมรุไก ภูเขา ๖. ร้องเกน ร้องตะโกนดังๆ ๗. สะเดากลอน ท่าให้กลอนประตูหลุดออกได้ด้วยคาถาอาคม ๘. แหงนเถ่อ ค้างอยู่ ๙. อุธัจ ตกประหม่า ๑๐. มินหม้อ เขม่าด่าที่ติดก้นหม้อ ๑๑. ส่งทุกข์ เข้าสวม ๑๒. ขี้ครอก ลูกของข้าทาส ๑๓. เครื่องอาน เครื่องกิน ๑๔. จวงจันทน์ เครื่องหอมที่เจือด้วยไม้จวงและไม้จันทน์
  • 8. แบบทดสอบเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอน ขุนช้างถวายฎีกา ๑. บทเสนาขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกาเป็นตอนที่เท่าไหร่ ๑.บทที่๓๓ ๒.บทที่๓๔ ๓.บทที่๓๕ ๔.บทที่๓๖ ๕.บทที่๓๗ ๒. เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนขุนช้างถวายฎีกาใครคือผู้แต่ง ๑.รัชกาลที่๒ ๒.รัชกาลที่๓ ๓.รัชกาลที่๔ ๔.สุนทรภู่ ๕.ไม่ปรากฏผู้แต่ง ๓. เหตุใดขุนช้างจึงถวายฎีกา ๑.ต้องการได้นางวันทองมาครอบครอง ๒.ต้องการครองราชย์สมบัติ ๓.ต้องการเพิ่มเบี้ยหวัดในอาชีพราชการ ๔.ต้องการประจบสอพลอพระพันวสาเพื่อเอาความดีเข้าตัว ๕.เรียกร้องความสนใจ
  • 9. ๔. ใครมีบทบาทมากที่สุดในตอนขุนช้างถวายฎีกา ๑.ขุนช้าง ๒.ขุนแผน ๓.นางทองประศรี ๔.นางศรีประจัน ๕.เสนาอามาตย์ ๕. ขุนช้างมีวิธีการอย่างไรเพื่อให้พระพันวสารับฎีกา ๑. กราบอ้อนวอน ๒. ลงลอยคอในน้า ๓. อาสาออกรบ ๔. ให้สินบนกับเสนาอามาตย์ ๕. นาแก้วแหวนเงินทองมาถวาย ๖. พระพันวสา เป็นกษัตริย์ของเมืองใด ๑. กรุงสุโขทัย ๒. กรุงอโยธยา ๓. กรุงศรีอยุธยา ๔. กรุงหงสาวดี ๕. กรุงล้านช้าง
  • 10. ๗. “ทุกวันนี้ลูกชายสบายยศ พร้อมหมดเมียมิ่งก็มีสอง มีบ่าวไพร่ใช้สอยทั้งเงินทอง พี่น้องข้างพ่อก็บริบูรณ์” เมียมิ่งก็มีสองหมายถึงผู้ใด ๑.นางสร้อยทองและนางสายทอง ๒.นางแก้วกิริยาและนางลาวทอง ๓.นางสร้อยฟ้าและนางศรีมาลา ๔.นางสายทองและนางลาวทอง ๕.นางสร้อยฟ้าและนางแก้วกิริยา ๘. พฤติกรรมของใครเกิดจากการใช้อารมณ์เหนือเหตุผล ๑.ขุนช้าง ๒.ขุนแผน ๓.จมื่นไวย ๔.นางวันทอง ๕.พระพันวสา ๙. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุที่ทาให้นางวันทองถูกประหารชีวิต ๑. นางวันทองเป็นเมียขุนแผนแล้วยังยอมเป็นเมียขุนช้างอีก ๒. พระพันวษาทรงพระพิโรธนางวันทองที่ไม่ตัดสินใจให้เด็ดขาด ๓. ขุนแผนไม่ได้เพ็ดทูลของนางวันทองคืนจากขุนช้าง ๔. จมื่นไวยไปลักแม่มาในยามค่าคืน ๕.ขุนช้างถวายฏีกา
  • 11. ๑๐. ข้อใดไม่มีภาพสะท้อนทางวัฒนธรรม ๑. ถ้ารักน้องป้องปิดให้มิดอาย ฉันกลับกลายแล้วหม่อมจงฟาดฟัน ๒. พระจันทรจรแจ่มกระจ่างดี พระพายพัดมาลีตรลบไป ๓. ไปเพ็ดทูลเสียให้ทูลกระหม่อมแจ้ง น้องจะแต่งบายศรีไว้เชิญขวัญ ๔. หญิงเดียวชายครองเป็นสองมิตร ถ้ามิปลิดเสียให้เปลื้องไม่ตามใจ ๕. อีมีอีมาอีสาคร นิ่งนอนไยหวามาหากู ๑๑. “ พลางเรียกหาข้าไทอยู่ว้าวุ่น อีอุ่นอีอิ่มอีฉิมอีสอน อีมีอีมาอีสาคร นิ่งนอนไยหวามาหากู” คาประพันธ์นี้ขุนช้างเรียกคนใช้ทั้งหมดกี่คน ๑. ๖ คน ๒. ๗ คน ๓. ๘ คน ๔. ๙ คน ๕. ๕ คน ๑๒. ข้อใดคือเหตุผลที่วันทองต้องถูกลงพระอาญารุนแรงถึงขั้น “อกเอาขวานผ่าอย่าปรานี อย่าให้มีโลหิตติดตีนกู เอาใบตองรองไว้ให้หมากิน ตกดินจะอัปรีย์กาลีอยู่” ๑.ว่าหญิงชั่วผัวยังคราวละคนเดียว หาตอมกันเกลียวเหมือนมึงไม่ ๒.กูเลี้ยงมึงให้ถึงเป็นหัวหมื่น คนอื่นรู้ว่าแม่ก็ขายหน้า ๓.ที่รูปรวยสวยสมมีถมไป มึงตัดใจเสียเถิดอีคนนี้ ๔.รูปงามนามเพราะน้อยไปหรือ ใจไม่ซื่อสมศักดิ์เท่าเส้นผม ๕.พระจันทรจรแจ่มกระจ่างดี พระพายพัดมาลีตรลบไป
  • 12. ๑๓. ข้อใดไม่แสดงอาการเคลื่อนไหว ๑. ย่างท้าวก้าวไปในทันที มิได้มีใครทักแต่สักคน ๒.โอ้แม่เจ้าประคุณของลูกเอ๋ย ไม่ควรเลยจะพรากจากคุณพ่อ ๓. ชมพลางย่างเยื้องชาเลืองมา เปิดมุ้งเห็นหน้าแม่วันทอง ๔. พลางนั่งลงนอบนบอภิวันท์ สะอื้นอั้นอกแค้นน้าตาคลอ ๕.รูปงามนามเพราะน้อยไปหรือ ใจไม่ซื่อสมศักดิ์เท่าเส้นผม ๑๔. ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับความเชื่อในเรื่องไสยศาสตร์ ๑. ดูเวลาปลอดห่วงทักทิน ๒. เสกขมิ้นว่านยาเข้าทาตัว ๓. เงียบสัตว์จัตุบททวิบาท ๔. ลงยันต์ราชะเอาปะอก ๕.ขุนแผนเป่ามนตร์สะเดาะกลอน ๑๕. “ขุนช้างเห็นข้าไม่มาใกล้ ขัดใจลุกขึ้นทั้งแก้ผ้า แหงนเถ่อเป้อปังยืนจังกา ย่างท้าวก้าวมาไมรู้ตัว” คาที่ขีดเส้นใต้หมายถึงข้อใด ๑. มองดู ๒. นิ่งเฉย ๓. ค้างอยู่ ๔. เดินด้วยอาการไว ๕.พยักหน้า
  • 13. ๑๖. เรื่องขุนช้างขุนแผนมีเนื้อหาสาระที่คนชอบเพราะเหตุผลใดเป็นสาคัญ ๑. เรื่องที่มีหลายรส หลายอารมณ์ ๒. เรื่องที่ไม่เป็นไปตามใจหวัง ๓. เรื่องที่ไม่สมหวังของตัวละคร ๔. เรื่องที่สะท้อนชีวิตของคนสมัยก่อน ๕. เป็นเรื่องพี่สนุกลุ้นระทึก ๑๗. การกระทาของขุนช้างที่ฉุดนางวันทองซึ่งเป็นภรรยาของขุนแผนมาเป็นภรรยา ตนนั้น ถือว่าผิดศีลข้อใด ๑. ปาณาติปาตา เวรมณี ๒. อทินนาทานา เวรมณี ๓. กาเมสุมิจฉาจารา เวรมณี ๔. มุสาวาทา เวรมณี ๕.โกรธา เวรมณี
  • 14. ๑๘. “เจ้าเป็นถึงหัวหมื่นมหาดเล็ก มิใช่เด็ดดอกจงฟังคาแม่ว่า จงเร่งไปคิดกับบิดา ฟ้องหากราบทูลพระทรงธรรม์” คาประพันธ์นี้นางวันทองต้องการบอกอะไรให้พลายงาม ๑. ดุด่าว่ากล่าว ๒. พร่าสอน ๓. เตือนสติ ๔. ชักชวน ๕.ยินดี ๑๙. “พี่ผิดจริงแล้วเจ้าวันทอง เหมือนลืมน่องหลงเลือนทาเชือนเฉย” ข้อความนี้ ใครสานึกผิดในเรื่องใด ๑. ขุนช้างสานึกผิด ในเรื่องที่หึงหวงนางวันทองมากเกินไป ๒. ขุนช้างสานึกผิด ในเรื่องไม่ดูแลนงวันทองให้ดี จนถูกพลายงามมาลักตัวไป ๓. ขุนแผนสานึกผิด ในเรื่องที่มีภรรยาหลายคน ๔.ขุนแผนสานึกผิด ในเรื่องที่ไม่ได้ทูลขอนางวันทองคืนจากขุนช้าง หลังจากรบชนะ เจ้าเชียงใหม่ ๕. ขุนแผนสานึกผิด เรื่องที่ตนเจ้าชู้
  • 15. ๒๐. “ครานั้นจึงโฉมเจ้าวันทอง เศร้าหมองด้วยลูกเป็นหนักหนา พ่อพลายงามทรามสวาดิของแม่อา แม่โศกาเกือบเจียนจะบรรลัย ใช่จะอิ่มเอิบอาบด้วยเงินทอง มิใช่ของตัวทามาแต่ไหน ทั้งผู้คนช้างม้าแลข้าไท ไม่รักใคร่เหมือนกับพ่อพลายงาม ทุกวันนี้ใช่แม่จะผาสุก มีแต่ทุกข์ใจเจ็บดังเหน็บหนาม ต้องจาจนทนกรรมที่ติดตาม จะขืนความคิดไปก็ใช่ที” คาประพันธ์นี้นางวันทองต้องการบอกให้รู้อะไร ๑. บอกถึงความวิตกกังวล ๒. ราพันถึงความทุกข์ใจ ๓. ให้คาแนะนา ๔. แสดงความท้อใจ ๕. ราพึงราพันถึงความรัก ๒๑. การกราบบังคมทูลเป็นกลางของนางวันทองทาให้ส่งผลอย่างไร ๑. ที่รูปรวยสวยสมมีถมไป ๒. ให้ฟันฟาดเสียให้เป็นผี ๓. เอาใบตองรองไว้ให้หมากิน ๔. อกเอาขวานผ่าอย่าปรานี ๕.อีแสนถ่อยจัญไรใจทมิฬ
  • 16. ๒๒. ข้อใดเป็นวิธีที่ขุนช้างใช้ถวายฎีกา ๑. ไปเข้าเฝ้าที่ท้องพระโรง ๒. ลักลอบไปในห้องพระบรรทม ๓. ฝากขุนนางผู้ใหญ่ไปถวาย ๔ ว่ายน้าลอยคอถวายฎีกาที่เรือพระที่นั่ง ๕. ตะโกนใกล้เรือพระที่นั่งของพระพันวษา ๒๓. “อีแสนถ่อยจัญไรใจทมิฬ ดังเพชรนิลเกิดขึ้นในอาจม” ผู้ประพันธ์ใช้โวหารใดในการ ประพันธ์ ๑. อุปลักษณ์ ๒. อุปมา ๓. สัทพจน์ ๔. พรรณนาโวหาร ๕.สาธก
  • 17. ๒๔. เมื่อขุนช้างถวายฎีกาต่อสมเด็จพระพันวษา ทาไมต้องถูกเฆี่ยนถึง 30 ที ๑. ขุนช้างละเมิดกฎหมายในการรักษาความปลอดภัยแก่พระมหากษัตริย์ ๒. ขุนช้างสร้างความราคาญในการเสด็จประพาส ๓. ขุนช้างไม่รู้จักกาลเทศะความเหมาะสม ๔. ขุนช้างชอบฟ้องร้องเรื่องไร้สาระ ๕. ขุนช้างโวยวายทาให้พระพันวษากริ้ว ๒๕. เสภาคืออะไร ๑. การขับลานาเป็นเรื่องราว ใช้กรับเป็นเครื่องประกอบจังหวะ ๒. การร้องเป็นทานองสรภัญญะ ใช้กลองรามะนาเป็นเครื่องประกอบจังหวะ ๓. การร้องเป็นทานองแหล่ ใช้ระนาดเป็นเครื่องประกอบจังหวะ ๔. การร้องเป็นทานองไทยเดิม ใช้ฉิ่งเป็นเครื่องประกอบจังหวะ ๕. เป็นการร้องประกอบเพลง
  • 18. เฉลยแบบฝึกหัด ข้อ ตอบ ๑. ๓ ๒. ๔ ๓. ๑ ๔. ๑ ๕. ๒ ๖. ๓ ๗. ๓ ๘. ๕ ๙. ๑ ๑๐. ๓ ๑๑. ๒ ๑๒. ๑ ๑๓. ๒ ๑๔. ๓ ๑๕. ๓ ๑๖. ๒
  • 19. ข้อ ตอบ ๑๗. ๓ ๑๘. ๓ ๑๙. ๔ ๒๐. ๔ ๒๑. ๒ ๒๒. ๔ ๒๓. ๒ ๒๔. ๓ ๒๕. ๓