SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  50
ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์ รศ.ดร.พญ.ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์
พญ.อรจิรา วงษ์ดนตรี นส.มณฑิชา เจนพานิชทรัพย์
สานักงานวิจัยและพัฒนาเพื่อการแปรงานวิจัยสุขภาพสู่การปฏิบัติ
ภาควิชาเวชศาสตร์ป้องกันและสังคม คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การทบทวนสถานการณ์
และกลไกการจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
วัตถุประสงค์
• เพื่อทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างความแตกฉานด้านสุขภาพ กับองค์ประกอบ
สาคัญของระบบสุขภาพตามกรอบแนวคิดขององค์การอนามัยโลก
• เพื่อทบทวนสถานการณ์ และกลไกหลักที่เกี่ยวข้องกับเรื่องความแตกฉานด้านสุขภาพในระดับ
นานาชาติรวมถึงประสบการณ์การดาเนินงาน
• เพื่อให้มีข้อมูลเกี่ยวกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และหัวข้อวิจัยที่เกี่ยวกับความแตกฉานด้านสุขภาพ
ระเบียบวิธีวิจัย
• การทบทวนวรรณกรรม และวิเคราะห์
ความสัมพันธ์ระหว่างความแตกฉานด้าน
สุขภาพ กับองค์ประกอบสาคัญของระบบ
สุขภาพตามกรอบแนวคิดขององค์การอนามัย
โลก อันได้แก่
 กาลังคนด้านสุขภาพ
 ระบบข้อมูลสารสนเทศ
 เวชภัณฑ์ เทคโนโลยีทางการแพทย์
 รูปแบบการจัดบริการ
 ภาวะผู้นา และการอภิบาลระบบ
 ระบบการเงินการคลัง
เรื่องเล่าจากการทดลองเลือกแผนสุขภาพที่มีผลต่อการเบิกจ่ายยา
คาจากัดความของ Health Literacy
• จากรายงานวิจัยทั้งหมด 170 ฉบับ มีรายงานวิจัยดั้งเดิม 19 ฉบับ
ที่ให้คาจากัดความของความแตกฉานด้านสุขภาพ
• แตกต่างกันอยู่ 17 คาจากัดความ
• กรอบแนวคิดที่แตกต่างกันโดยสามารถจาแนกได้ทั้งสิ้น 12 ลักษณะ
Source: Sorensen K, Van den broucke S, Fullam J, et al. Health literacy and public health:
A systematic review and integration of definitions and models. BMC Public Health. 2012;12:80-93.
Health Literacy
• ความสามารถในการค้นหาเข้าถึง ทาความเข้าใจ และใช้ประโยชน์จากข้อมูลด้านสุขภาพ
• ในอดีตจนถึงปัจจุบัน นักวิชาการในประเทศไทยมีการแปลคานี้ไว้แตกต่างกันไป อาทิเช่น “ความ
แตกฉานด้านสุขภาพ” หรือ “การรู้เท่าทันด้านสุขภาพ” หรือ “ความรอบรู้ด้านสุขภาพ” หรือ
“ความฉลาดทางสุขภาวะ”
• อย่างไรก็ตาม ในรายงานฉบับนี้จะใช้คาว่า “ความแตกฉานด้านสุขภาพ”
ความแตกฉานด้านสุขภาพ
…เข้าถึง เข้าใจ นาไปใช้ได้...
เข้าถึง เข้าใจ
นาไป
ใช้ได้
มา
หา
ไป
หา
ถูกที่
ถูกทาง
ถูกต้อง
ถูกเวลา
ถูกและคุ้มค่า
อ่านเข้าใจ
ดูเข้าใจฟังเข้าใจ
แลกเปลี่ยนได้
หากสงสัย
ใช้แก้ปัญหา
ใช้เพิ่มคุณค่า
ผู้ที่มีระดับความแตกฉานด้านสุขภาพต่า
• เจ็บป่วยจนต้องพักรักษาตัวในโรงพยาบาลมากกว่า
• ใช้บริการรักษาฉุกเฉินมากกว่า
• มีความสามารถในการป้องกันและดูแลสุขภาพน้อยกว่า
• สถานะทางสุขภาพโดยรวมแย่กว่า
ผลิตภาพลดลง
ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น
Source: Berkman ND, Sheridan SL, Donahue K, et al. Low literacy and health outcomes: An
updated systematic review. Annals of Internal Medicine. 2011;155(2):97-107.
In 2009, 8 Billions US$ in Canada
(3-5% of total health expenditures)
In 1998, 73 Billions US$ in USA
Source: Sorensen K, Van den broucke S, Fullam J, et al. Health literacy and public health:
A systematic review and integration of definitions and models. BMC Public Health. 2012;12:80-93.
งานวิจัยความแตกฉานด้านสุขภาพจาแนกตามการมีอยู่ของคาสาคัญ
คาสาคัญที่ระบุไว้ในงานวิจัย
Public health
รวม
ไม่มี มี
Medical
ไม่มี 2,376 1,189 3,565
มี 1,132 962 2,094
รวม 3,508 2,151 5,659
จานวนงานวิจัยที่ค้นหาได้ตามคาสาคัญจากฐานข้อมูล PubMed
คาสาคัญ จานวน
Health workforces
“health literacy” AND “health workforce” 5
“health literacy” AND “health worker” 7
“health literacy” AND “health professional” 20
“health literacy” AND “human resource” 5
Total 37
Information system/information technology
“health literacy” AND “information system” 17
“health literacy” AND “information technology” 33
Total 50
Medicines, vaccines, medical products,
technology
“health literacy” AND “medical product” 0
“health literacy” AND “medicine” 62
“health literacy” AND “medical technology” 2
“health literacy” AND “vaccine” 25
Total 89
Service system design
“health literacy” AND “service delivery” 0
“health literacy” AND “service design” 4
“health literacy” AND “health care service” 48
“health literacy” AND “health service” 70
Total 122
Leadership and governance
“health literacy” AND “governance” 4
“health literacy” AND “leadership” 37
Total 41
Financing
“health literacy” AND “finance” 6
“health literacy” AND “financing” 17
“health literacy” AND “expenditure” 5
“health literacy” AND “costs” 128
Total 156
ความแตกฉานด้านสุขภาพกับกาลังคนด้านสุขภาพ
ความแตกฉานด้านสุขภาพกับกาลังคนด้านสุขภาพ
•บุคลากรวิชาชีพสุขภาพมักจะประเมินความสามารถในการสื่อสารของ
ตนเองสูงกว่าที่เป็นจริง
•งานวิจัยหลากหลายชิ้นพยายามนาเสนอประสิทธิผล และประสิทธิภาพของ
กลวิธีการสอนในรูปแบบต่างๆ เพื่อให้เกิดความแตกฉานด้านสุขภาพใน
บุคลากรวิชาชีพสุขภาพ แต่สุดท้ายแล้วยังไม่สามารถแยกแยะได้ว่าผลลัพธ์
ที่เกิดขึ้นนั้นเกิดจากความแตกต่างของรูปแบบการสอนจริง
ความแตกฉานด้านสุขภาพกับกาลังคนด้านสุขภาพ
• มีการศึกษาในประเทศเอธิโอเปีย ปีค.ศ.2012 พบว่า 97.3% ของบุคลากรวิชาชีพ
สุขภาพยืนยันถึงความต้องการที่จะเข้าถึงแหล่งความรู้ด้านสุขภาพ เพื่อทบทวน และ
เพิ่มความรู้ของตนเองเพื่อใช้ในการดูแลรักษาผู้ป่วย ทั้งนี้56% ยอมรับว่าความ
ต้องการดังกล่าวเกิดจากการที่ตนเองได้รับคาถามผู้มารับบริการดูแลรักษานั่นเอง
• ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการแสวงหาความรู้ ได้แก่ เศรษฐานะ ภาระงาน ความ
ยากง่ายในการเข้าถึงแหล่งข้อมูล กฎระเบียบขององค์กร/หน่วยงาน
ความแตกฉานด้านสุขภาพกับกาลังคนด้านสุขภาพ
• นอกจากทักษะ และความรู้เชิงวิชาชีพที่จาเป็นตามที่ระบุในหลักสูตรวิชาชีพเฉพาะ
ด้านแล้ว ในประเทศสหรัฐอเมริกา ปีค.ศ.2012 ได้เริ่มมีการพัฒนาบทสรุปอันเป็น
ข้อตกลงของสมาคม/องค์กรวิชาชีพ ทั้งแพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล รวมไปถึงวิชาชีพ
อื่นๆ ในแวดวงวิทยาศาสตร์สุขภาพ โดยระบุถึงความจาเป็นที่จะต้องฝึกทักษะด้าน
การค้นหาข้อมูลสารสนเทศทางการแพทย์ให้แก่บุคลากร เพราะถือว่าเป็นทักษะ
สาคัญที่บ่งถึงความแตกฉานด้านสุขภาพของบุคลากรวิชาชีพสุขภาพในยุคปัจจุบัน
และอนาคต
สาระสาคัญจากวรรณกรรม
“บุคลากรวิชาชีพสุขภาพควรมีความรู้ และทักษะด้านอื่น
นอกเหนือไปจากความรู้ด้านสุขภาพ เช่น การใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
การสนับสนุนทางสังคม ทักษะการสื่อสารเพื่อเสริมสร้างความรู้
ความเข้าใจที่จาเป็นให้แก่ผู้ป่วย และประชาชน”
ความแตกฉานด้านสุขภาพกับระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ
ความแตกฉานด้านสุขภาพกับระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ
•ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้ระบบข้อมูลสุขภาพคือ
ก. ลักษณะที่เอื้อต่อการใช้งาน (Usability)
ข. ความสามารถ/ความฉลาดของเทคโนโลยีสารสนเทศ (Intelligence)
ค. ความยากง่ายในการเข้าถึง (Access)
ความแตกฉานด้านสุขภาพกับระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ
• สารสนเทศด้านสุขภาพสามารถใช้ดาเนินการเกี่ยวกับความแตกฉานด้านสุขภาพได้
ดังนี้
ก. ใช้ในการประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพของแต่ละบุคคล
ข. ใช้ในการประเมินสาระในสื่อต่างๆ ว่ามีความยากง่ายในการอ่านมากน้อยเพียงใด
ค. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นสิ่งแทรกแซงด้านสุขภาพ (Intervention) เพื่อพัฒนา
ความแตกฉานด้านสุขภาพของแต่ละกลุ่มเป้าหมายและใช้มุ่งเป้าในระดับสังคม
ได้อีกด้วย
ความแตกฉานด้านสุขภาพกับระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ
• ความแตกฉานด้านสุขภาพมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการค้นหาข้อมูลสุขภาพแบบ
ออนไลน์ด้วยตนเอง และพบในกลุ่มที่มีความแตกฉานด้านสุขภาพเพียงพอมากกว่า
กลุ่มที่มีความแตกฉานด้านสุขภาพไม่เพียงพอ 2.1 เท่า
สาระสาคัญจากวรรณกรรม
“การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านระบบสารสนเทศด้านสุขภาพ
ควรคานึงถึงลักษณะเชิงประชากรศาสตร์ และพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย
และวางแผนพัฒนาให้สอดคล้องกับปัจจัยสาคัญ ได้แก่
ความยากง่ายในการเข้าถึง วิธีการใช้งานสาหรับแต่ละกลุ่มเป้าหมาย
และความสามารถของระบบในการตอบสนองต่อความต้องการจริง”
ความแตกฉานด้านสุขภาพกับเวชภัณฑ์ และเทคโนโลยีทางการแพทย์
ความแตกฉานด้านสุขภาพกับเวชภัณฑ์ และเทคโนโลยีทางการแพทย์
• กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ที่มีระดับความแตกฉานด้านสุขภาพต่านั้นจะมีอัตราการไม่ปฏิบัติตัวตาม
คาแนะนาของแพทย์ และมีอัตราการไม่กินยาตามกาหนดสูงกว่ากลุ่มที่มีระดับความ
แตกฉานด้านสุขภาพสูงประมาณ 1.3 เท่า ที่ช่วงความเชื่อมั่น 95% ระหว่าง 1.02-1.66 เท่า
นอกจากนี้ยังมีความเชื่อในเรื่องการรับประทานยาและวัคซีนที่ผิดอีกด้วย
• กลุ่มผู้ที่มีระดับความแตกฉานด้านสุขภาพต่านั้นจะมีความต้องการข้อมูลเรื่องการใช้ยา
มากกว่าผู้ที่มีระดับความแตกฉานด้านสุขภาพสูง ถึง 1.96 เท่า (โดยมีช่วงความเชื่อมั่น
95% ระหว่าง 1.5-2.55)
สาระสาคัญจากวรรณกรรม
“ความแตกฉานด้านสุขภาพนั้นมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการใช้ยา
วัคซีน และเทคโนโลยีทางการแพทย์ ระบบบริการสุขภาพควรมีกลไก
ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของประชากรที่มีพื้นฐานความแตกฉานด้านสุขภาพที่แตกต่างกัน
นอกจากนี้การพัฒนาระบบสุขภาพไม่ควรมุ่งเน้นที่ตัวผู้ป่วยหรือกลุ่มเป้าหมายเท่านั้น
แต่ควรครอบคลุมผู้ดูแลหรือครอบครัวด้วย”
ความแตกฉานด้านสุขภาพกับระบบบริการสุขภาพ
ความแตกฉานด้านสุขภาพกับระบบบริการสุขภาพ
• งานวิจัยในประเทศสหรัฐอเมริกาในปีค.ศ.2014 พบว่าผู้ป่วยเด็กที่มีผู้ดูแลที่มีความแตกฉาน
ด้านสุขภาพในระดับต่านั้นจะมีอัตราการเจ็บป่วยฉุกเฉินจนต้องมารับบริการดูแลรักษาที่
แผนกฉุกเฉินของโรงพยาบาลมากกว่ากลุ่มที่มีผู้ดูแลที่มีความแตกฉานด้านสุขภาพใน
ระดับสูงถึง 1.5 เท่า โดยมีช่วงความเชื่อมั่น 95% ระหว่าง 1.2-1.8 เท่า และยังมีอัตราการมา
รับบริการสุขภาพแบบไม่ฉุกเฉินสูงถึง 2.4 เท่า โดยมีช่วงความเชื่อมั่น 95% ระหว่าง 1.3-4.4
เท่า
• หากวิเคราะห์เฉพาะผู้ป่วยเด็กที่ไม่มีโรคเรื้อรัง จะพบว่ากลุ่มที่มีผู้ดูแลที่มีความแตกฉาน
ด้านสุขภาพระดับต่าจะมีอัตราการใช้บริการที่แผนกฉุกเฉินมากกว่ากลุ่มที่มีความแตกฉาน
ด้านสุขภาพระดับสูงถึง 3 เท่า โดยมีช่วงความเชื่อมั่น 95% ระหว่าง 1.8-5.7 เท่า
ความแตกฉานด้านสุขภาพกับระบบบริการสุขภาพ
• การศึกษาในประเทศสหรัฐอเมริกาพบว่า ความแตกฉานด้านสุขภาพที่ต่ามีผลทาให้
อัตราการเข้ารับการดูแลรักษาตัวในโรงพยาบาลสูงขึ้นถึง 21% ทั้งๆ ที่เกิดจากสาเหตุที่
สามารถจะป้องกันได้
ความแตกฉานด้านสุขภาพกับระบบบริการสุขภาพ
• การมีความแตกฉานด้านสุขภาพระดับต่าจะส่งผลต่อเรื่องความรู้ความเข้าใจพื้นฐาน
ของผู้ป่วยที่น้อยกว่าที่ควรจะเป็น ตลอดจนการประสบความยากลาบากในการเข้าใช้
บริการ ทั้งในเรื่องความรู้เกี่ยวกับบริการที่มี กระบวนการ สถานที่ ป้ายบอกทาง ฯลฯ
ความผิดพลาดในการประเมินสถานะสุขภาพของตนจนทาให้มาตรวจรักษาช้ากว่าที่
ควร รวมถึงความล้มเหลวในการดูแลหรือจัดการตนเองเรื่องสุขภาพตั้งแต่ส่งเสริม
สุขภาพ ป้องกันโรค ดูแลรักษา และฟื้นฟูสภาพ
สาระสาคัญจากวรรณกรรม
“มีความจาเป็นที่จะต้องยกระดับความแตกฉานด้านสุขภาพของประชากร
เพื่อให้สถานะสุขภาพดีขึ้น ลดภาระของระบบบริการสุขภาพ
อย่างไรก็ตามระบบบริการสุขภาพจาเป็นต้องได้รับการออกแบบให้เหมาะสม
กับกลุ่มประชากรที่มีระดับความแตกฉานด้านสุขภาพที่แตกต่างกัน
เพื่อให้สามารถเกิดความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการ และเกิดประสิทธิภาพ
ในกระบวนการดูแลรักษาสุขภาพ”
ความแตกฉานด้านสุขภาพกับการอภิบาลระบบและภาวะผู้นา
ความแตกฉานด้านสุขภาพกับการอภิบาลระบบและภาวะผู้นา
• มาตรการหลักที่จะช่วยให้เกิดการขับเคลื่อนเรื่องความแตกฉานด้านสุขภาพได้ ดังนี้
ก. มาตรการจากรัฐบาล อันประกอบด้วยการสร้างนโยบายที่บังคับให้เกิดบรรทัดฐานทางสังคม, การตั้ง
มาตรฐานด้านการศึกษา, การทาการศึกษาวิจัย, และการสร้างระบบการวัดหรือประเมินความแตกฉานด้าน
สุขภาพ
ข. มาตรการระดับองค์กร และบุคลากร ที่มุ่งเน้นการให้แนวทางการบริหารจัดการที่ประยุกต์เรื่องลักษณะ
ผู้นา และการนาองค์กรที่เหมาะสม และการหมั้นหมายหรือการกระจายบทบาทหน้าที่ที่เหมาะสมให้แก่
หน่วยงาน หรือบุคลากรที่เกี่ยวข้อง
ค. มาตรการสร้างความร่วมมือระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้อง ที่มุ่งสร้างความร่วมมือกับสื่อต่างๆ เพื่อเป็นช่องทาง
ในการสื่อสารระหว่างกัน การพัฒนาสื่อที่เหมาะสม และหลากหลายสาหรับกลุ่มเป้าหมายต่างๆ และการเลือก
สิ่งแทรกแซงด้านสุขภาพที่เหมาะสมกับแต่ละบริบท
โมเดลการขับเคลื่อนและพัฒนาสู่เมืองสุขภาพ
สาระสาคัญจากวรรณกรรม
“นโยบายจากรัฐบาล กลไกการบริหารจัดการระดับหน่วยงาน
และกลไกการสร้างความร่วมมือระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในระดับต่างๆ
คือกุญแจสาคัญในการขับเคลื่อนให้เกิดการพัฒนา
ความแตกฉานด้านสุขภาพของประชากร”
ความแตกฉานด้านสุขภาพกับค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ
ความแตกฉานด้านสุขภาพกับค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ
• การทบทวนอย่างเป็นระบบในปีค.ศ.2009 จากงานวิจัยกว่า 2,000 เรื่อง พบว่าความ
ชุกของปัญหาความแตกฉานด้านสุขภาพระดับต่านั้นอยู่ระหว่าง 34-59% และมีผลทา
ให้ค่าใช้จ่ายด้านการดูแลสุขภาพโดยรวมของแต่ละประเทศสูงขึ้นราว 3-5% ต่อปี
• โดยเฉลี่ยแล้วผู้ป่วยที่มีความแตกฉานด้านสุขภาพอยู่ในระดับต่า จะต้องรับผิดชอบ
ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพมากกว่าผู้ที่มีความแตกฉานด้านสุขภาพระดับสูงถึง 143-7,798
ดอลลาร์สหรัฐ
ความแตกฉานด้านสุขภาพกับค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ
• ในประเทศสหรัฐอเมริกา กลุ่มทหารผ่านศึกผู้มีปัญหาความแตกฉานด้านสุขภาพมี
จานวนราว 17% แต่ค่าใช้จ่ายที่ต้องใช้ไปนั้นสูงถึง 24% ของค่าใช้จ่ายในการดูแล
รักษาพยาบาลของทหารผ่านศึกทั้งหมด
• ค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ยต่อคนของทหารผ่านศึกที่มีความแตกฉานด้านสุขภาพระดับต่านั้น
สูงกว่าคนที่มีความแตกฉานด้านสุขภาพระดับสูงถึง 2 เท่าตัว (31,581 ดอลล่าร์สหรัฐ
ในระดับต่า และ 17,033 ดอลล่าร์สหรัฐในระดับสูง)
• หากสามารถแก้ไขปัญหาดังกล่าวได้ จะทาให้ลดค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาพยาบาล
ไปได้ถึง 8%
ความแตกฉานด้านสุขภาพกับค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ
• กลุ่มเด็กที่มีผู้ดูแลที่มีความแตกฉานด้านสุขภาพต่าจะมีค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาปัญหา
ช่องปากสูงกว่ากลุ่มเด็กที่มีผู้ดูแลที่มีความแตกฉานด้านสุขภาพสูงราว 40 ดอลล่าร์สหรัฐต่อ
คนต่อปี โดยมีสถิติการเข้ารับบริการรักษาฉุกเฉินสูงขึ้นเรื่อยๆ ในแต่ละปี
• กลุ่มประชากรที่มีสิทธิประกันสุขภาพภายใต้ระบบ Medicare ปีค.ศ.1998 ซึ่งแสดงให้เห็นว่า
กลุ่มประชากรที่มีความแตกฉานด้านสุขภาพระดับต่า จะมีค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ ทั้งการดูแล
ฉุกเฉิน การนอนรักษาตัวในโรงพยาบาล และค่าใช้จ่ายโดยรวมสูงกว่ากลุ่มประชากรที่มี
ความแตกฉานด้านสุขภาพระดับสูง โดยมีผลต่างของค่าใช้จ่ายในการดูแลฉุกเฉินถึง 108
ดอลล่าร์สหรัฐ โดยมีช่วงความเชื่อมั่น 95% ที่ 62-154 ดอลล่าร์สหรัฐ
สาระสาคัญจากวรรณกรรม
“มีหลักฐานชัดเจนว่ากลุ่มประชากรที่มีความแตกฉานด้านสุขภาพระดับต่า
จะมีค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพสูงกว่ากลุ่มประชากรที่มีความแตกฉานด้านสุขภาพระดับสูง
ทั้งจากการรักษาพยาบาลฉุกเฉิน และการนอนพักรักษาตัวที่โรงพยาบาล”
ประเทศออสเตรเลีย กับกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
• มีระบบการประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพระดับชาติ โดยได้รับการวางรากฐานไว้สาหรับการ
พัฒนานโยบายหรือมาตรการระดับชาติในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับความแตกฉานด้านสุขภาพ
• การประเมินความแตกฉานด้านสุขภาพจะเป็นส่วนหนึ่งของระบบการประเมินทักษะชีวิตและ
ความสามารถในการอ่านออกเขียนได้ของผู้ใหญ่ (Adult Literacy and Life Skill Survey: ALLS)
• ความแตกฉานด้านสุขภาพโดยเฉลี่ยจะเพิ่มขึ้นตามอายุที่เพิ่มขึ้นตั้งแต่ 15-19 ปีไปจนถึงอายุ
ประมาณ 40 ปี จากนั้นจะค่อยๆ ลดลงตามอายุที่เพิ่มขึ้น
• พื้นที่ส่วนใหญ่มีค่าเฉลี่ยของความแตกฉานด้านสุขภาพไม่ค่อยแตกต่างกัน ยกเว้นพื้นที่เดียวใน
ประเทศที่มีค่าเฉลี่ยของความแตกฉานด้านสุขภาพสูงกว่าที่อื่นๆ คือ Australian Capital Territory
ประเทศออสเตรเลีย กับกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
• กลไกที่เกิดจากความร่วมมือระหว่างภาครัฐ และภาคส่วนอื่น เช่นThe Australian
Commission on Safety and Quality in Healthcare, Community Pharmacy Health
Literacy Research Project, ศูนย์บริการข้อมูลสุขภาพแบบออนไลน์ ภายใต้ชื่อว่า
HealthInsite
ประเทศนิวซีแลนด์ กับกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
• ไม่ได้มีการใช้แนวคิดของความแตกฉานด้านสุขภาพเป็นจุดตั้งต้นของการพัฒนานโยบายสุขภาพ
แต่ความแตกฉานด้านสุขภาพนั้นจะปรากฏสอดแทรกอยู่ในนโยบายต่างๆ ตามความเหมาะสม
ภายใต้การพิจารณาของหน่วยงาน
• มีการสนับสนุนทุนวิจัยให้แก่หน่วยงานสุขภาพในระดับภาคเพื่อศึกษาเรื่องความแตกฉานด้าน
สุขภาพ โดยมีรายงานว่าบุคลากรวิชาชีพสุขภาพในประเทศนิวซีแลนด์เริ่มมีความตระหนักถึงเรื่อง
นี้มากขึ้นกว่าในอดีต
• ภาคเอกชน เช่นหน่วยงานชื่อ Health Navigator ก็ได้มีส่วนร่วมบุกเบิกก่อตั้งเว็บไซต์
http://www.healthliteracy.org.nz
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในเรื่องความแตกฉานด้านสุขภาพ
หัวข้อวิจัยและพัฒนาที่ประเทศไทยควรพิจารณา
• หมวดบุคลากรวิชาชีพสุขภาพ
หนึ่ง ประสิทธิภาพในการสื่อสารข้อมูลสุขภาพระหว่างบุคลากรวิชาชีพสุขภาพระดับ
ต่างๆ กับผู้ป่วย ญาติหรือครอบครัว และประชาชน
สอง ความรู้ และทักษะเฉพาะ ที่เป็นที่ต้องการของบุคลากรวิชาชีพสุขภาพ และ
ประชาชน ในระบบบริการสุขภาพยุคปัจจุบัน และอนาคต
หัวข้อวิจัยและพัฒนาที่ประเทศไทยควรพิจารณา
• หมวดระบบข้อมูลและสารสนเทศด้านสุขภาพ
หนึ่ง กลไกที่เหมาะสมในการเฝ้าระวังปัญหาจากภาวะข้อมูลข่าวสารสุขภาพท่วมท้นใน
สังคมไทย
สอง การพัฒนาระบบการให้ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ ที่ถูกต้อง เหมาะสม และมี
ประสิทธิภาพ
สาม การประเมินสถานการณ์การเข้าถึง ความยากง่ายในการทาความเข้าใจ และภาษาที่
สื่อสารในระบบสุขภาพ
สี่ กระบวนการนโยบายสาธารณะเพื่อจัดการควบคุม ดูแล ติดตาม กากับ ปัจจัยแวดล้อมทาง
สังคมที่มีผลต่อการสร้าง และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านสุขภาพ
หัวข้อวิจัยและพัฒนาที่ประเทศไทยควรพิจารณา
• หมวดเวชภัณฑ์ และเทคโนโลยีทางการแพทย์
หนึ่ง ระบบเฝ้าระวังกลุ่มเสี่ยง และกลุ่มที่มีปัญหาเรื่องความแตกฉานด้านสุขภาพใน
กระบวนการดูแลรักษาโรคที่ต้องการความสม่าเสมอในการรับประทานยา เช่น วัณ
โรค โรคติดเชื้อที่ต้องใช้ยาปฏิชีวนะ เป็นต้น
สอง การพัฒนามาตรการ และการประเมินประสิทธิภาพของมาตรการให้ความรู้เรื่อง
การใช้ยา และเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่เหมาะสมสาหรับกลุ่มประชากรที่มีความ
แตกฉานด้านสุขภาพในระดับที่แตกต่างกัน
หัวข้อวิจัยและพัฒนาที่ประเทศไทยควรพิจารณา
• หมวดระบบบริการ
หนึ่ง การวิจัยและพัฒนาต้นแบบโรงพยาบาลที่เป็นมิตรต่อกลุ่มประชากรที่มีปัญหา
ด้านความแตกฉานด้านสุขภาพ
สอง ระบบติดตามสถิติการบริการสุขภาพในกลุ่มประชากร โดยพิจารณาถึงความ
แตกฉานด้านสุขภาพเป็นปัจจัยสาคัญ
หัวข้อวิจัยและพัฒนาที่ประเทศไทยควรพิจารณา
• หมวดการอภิบาลระบบและภาวะผู้นา
หนึ่ง การประเมินสถานการณ์ และความพร้อมของสังคมไทยในการขับเคลื่อน และ
ยกระดับความแตกฉานด้านสุขภาพของประชากร โดยจาแนกเป็น 3 ระดับได้แก่
มาตรการจากรัฐ กลไกระดับหน่วยงาน และความร่วมมือระหว่างหน่วยงานหรือกลุ่ม
ต่างๆ ในสังคม
สอง การพัฒนาต้นแบบสถานพยาบาล หรือชุมชน ที่เสริมสร้างความแตกฉานด้าน
สุขภาพให้แก่ประชากรในการดูแล หรือจัดการปัญหาสุขภาพเฉพาะเรื่อง
สาม การวิจัยเชิงทดลองแนวทางการบริหารจัดการ โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีภาวะผู้นา
หัวข้อวิจัยและพัฒนาที่ประเทศไทยควรพิจารณา
• หมวดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ
หนึ่ง การพัฒนานโยบาย หรือมาตรการแก้ไขปัญหาค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ โดย
ประยุกต์ใช้ความรู้ด้านเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมในการจัดการปัจจัยแวดล้อมทาง
สังคม และตัวเลือกที่มีในระบบบริการสุขภาพ
สอง การวิเคราะห์ความคุ้มค่าของมาตรการยกระดับความแตกฉานด้านสุขภาพ
(Cost-effectiveness analysis, Cost-benefit analysis, and Cost-utility analysis)
ขอบคุณครับ

Contenu connexe

Tendances

หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55sivapong klongpanich
 
Evidence based public health (medical cannabis policy)
Evidence based public health (medical cannabis policy)Evidence based public health (medical cannabis policy)
Evidence based public health (medical cannabis policy)Thira Woratanarat
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAtaem
 
กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...
กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...
กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...Thira Woratanarat
 
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...Borwornsom Leerapan
 
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์Utai Sukviwatsirikul
 
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Suandok ethical risk model test
Suandok ethical risk model testSuandok ethical risk model test
Suandok ethical risk model testKedGedsana
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างSuradet Sriangkoon
 
แนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วนแนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วนUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ Utai Sukviwatsirikul
 

Tendances (15)

หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55
 
Evidence based public health (medical cannabis policy)
Evidence based public health (medical cannabis policy)Evidence based public health (medical cannabis policy)
Evidence based public health (medical cannabis policy)
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
 
Sup kan 57
Sup kan 57Sup kan 57
Sup kan 57
 
Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหารเกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
เกณฑ์การวัดสมรรถนะผู้บริหาร
 
Aseanjob
AseanjobAseanjob
Aseanjob
 
กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...
กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...
กรณีศึกษาด้าน การสาธารณสุขมูลฐานกับการจัดบริการทางการแพทย์ในสถานการณ์ชุมนุม ก...
 
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
The Future of Thai Health Systems: Healthcare Quality Management and Control ...
 
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
การตรวจสุขภาพสตรีมีครรภ์
 
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
 
Suandok ethical risk model test
Suandok ethical risk model testSuandok ethical risk model test
Suandok ethical risk model test
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
 
แนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วนแนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วน
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
 

En vedette

นำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตนำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตjd18122505
 
กรณีศึกษา การรับรู้ผลกระทบและการจัดการวิกฤติน้ามันรั่วลงทะเล บริเวณอ่าวพร้าว ...
กรณีศึกษา การรับรู้ผลกระทบและการจัดการวิกฤติน้ามันรั่วลงทะเล บริเวณอ่าวพร้าว ...กรณีศึกษา การรับรู้ผลกระทบและการจัดการวิกฤติน้ามันรั่วลงทะเล บริเวณอ่าวพร้าว ...
กรณีศึกษา การรับรู้ผลกระทบและการจัดการวิกฤติน้ามันรั่วลงทะเล บริเวณอ่าวพร้าว ...Thira Woratanarat
 
สาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกสาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกChuchai Sornchumni
 
แนวคิดและความก้าวหน้าการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
แนวคิดและความก้าวหน้าการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิแนวคิดและความก้าวหน้าการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
แนวคิดและความก้าวหน้าการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิChuchai Sornchumni
 
การดูแลสุขภาพระยะยาวเขตบริการสุขภาพที่ 9
การดูแลสุขภาพระยะยาวเขตบริการสุขภาพที่ 9การดูแลสุขภาพระยะยาวเขตบริการสุขภาพที่ 9
การดูแลสุขภาพระยะยาวเขตบริการสุขภาพที่ 9ทอง บุญยศ
 
บทเรียนการพัฒนาระบบเครือข่ายบริการทางการแพทย์
บทเรียนการพัฒนาระบบเครือข่ายบริการทางการแพทย์บทเรียนการพัฒนาระบบเครือข่ายบริการทางการแพทย์
บทเรียนการพัฒนาระบบเครือข่ายบริการทางการแพทย์Thira Woratanarat
 
Clinical Practice Guideline for Dementia 2008
Clinical Practice Guideline for Dementia 2008Clinical Practice Guideline for Dementia 2008
Clinical Practice Guideline for Dementia 2008Utai Sukviwatsirikul
 
L1 Sudoku
L1 SudokuL1 Sudoku
L1 Sudokubnmoran
 
ซูโดกุ สสวท
ซูโดกุ สสวทซูโดกุ สสวท
ซูโดกุ สสวทNat Krub
 
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม 2557
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม 2557แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม 2557
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม 2557Utai Sukviwatsirikul
 
Sudoku Solving with Computational Intelligence
Sudoku Solving with Computational IntelligenceSudoku Solving with Computational Intelligence
Sudoku Solving with Computational Intelligenceharaldhiss
 
คู่มือ การสื่อสารกับผู้ป่วยชาวต่างชาติ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี
คู่มือ การสื่อสารกับผู้ป่วยชาวต่างชาติ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานีคู่มือ การสื่อสารกับผู้ป่วยชาวต่างชาติ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี
คู่มือ การสื่อสารกับผู้ป่วยชาวต่างชาติ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานีtopsaby99
 
Sudoku powerpoint
Sudoku powerpointSudoku powerpoint
Sudoku powerpointunion40
 
ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษร
ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษรซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษร
ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษรPawaputanon Mahasarakham
 
การสร้าง Family care team หมอครอบครัว
การสร้าง Family care team หมอครอบครัวการสร้าง Family care team หมอครอบครัว
การสร้าง Family care team หมอครอบครัวDr.Suradet Chawadet
 

En vedette (20)

นำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขตนำเสนอ Hl ของเขต
นำเสนอ Hl ของเขต
 
กรณีศึกษา การรับรู้ผลกระทบและการจัดการวิกฤติน้ามันรั่วลงทะเล บริเวณอ่าวพร้าว ...
กรณีศึกษา การรับรู้ผลกระทบและการจัดการวิกฤติน้ามันรั่วลงทะเล บริเวณอ่าวพร้าว ...กรณีศึกษา การรับรู้ผลกระทบและการจัดการวิกฤติน้ามันรั่วลงทะเล บริเวณอ่าวพร้าว ...
กรณีศึกษา การรับรู้ผลกระทบและการจัดการวิกฤติน้ามันรั่วลงทะเล บริเวณอ่าวพร้าว ...
 
แผ่นพับ 3 อ.
แผ่นพับ 3 อ.แผ่นพับ 3 อ.
แผ่นพับ 3 อ.
 
สาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุกสาธารณสุขเชิงรุก
สาธารณสุขเชิงรุก
 
แนวคิดและความก้าวหน้าการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
แนวคิดและความก้าวหน้าการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิแนวคิดและความก้าวหน้าการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
แนวคิดและความก้าวหน้าการวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
 
Sudoku puzzles
Sudoku puzzlesSudoku puzzles
Sudoku puzzles
 
การดูแลสุขภาพระยะยาวเขตบริการสุขภาพที่ 9
การดูแลสุขภาพระยะยาวเขตบริการสุขภาพที่ 9การดูแลสุขภาพระยะยาวเขตบริการสุขภาพที่ 9
การดูแลสุขภาพระยะยาวเขตบริการสุขภาพที่ 9
 
บทเรียนการพัฒนาระบบเครือข่ายบริการทางการแพทย์
บทเรียนการพัฒนาระบบเครือข่ายบริการทางการแพทย์บทเรียนการพัฒนาระบบเครือข่ายบริการทางการแพทย์
บทเรียนการพัฒนาระบบเครือข่ายบริการทางการแพทย์
 
Clinical Practice Guideline for Dementia 2008
Clinical Practice Guideline for Dementia 2008Clinical Practice Guideline for Dementia 2008
Clinical Practice Guideline for Dementia 2008
 
Sudoku valencia 2
Sudoku valencia  2Sudoku valencia  2
Sudoku valencia 2
 
L1 Sudoku
L1 SudokuL1 Sudoku
L1 Sudoku
 
ซูโดกุ สสวท
ซูโดกุ สสวทซูโดกุ สสวท
ซูโดกุ สสวท
 
Sudoku
SudokuSudoku
Sudoku
 
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม 2557
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม 2557แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม 2557
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม 2557
 
Sudoku Solving with Computational Intelligence
Sudoku Solving with Computational IntelligenceSudoku Solving with Computational Intelligence
Sudoku Solving with Computational Intelligence
 
คู่มือ การสื่อสารกับผู้ป่วยชาวต่างชาติ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี
คู่มือ การสื่อสารกับผู้ป่วยชาวต่างชาติ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานีคู่มือ การสื่อสารกับผู้ป่วยชาวต่างชาติ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี
คู่มือ การสื่อสารกับผู้ป่วยชาวต่างชาติ โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี
 
Sudoku powerpoint
Sudoku powerpointSudoku powerpoint
Sudoku powerpoint
 
Cpg copd
Cpg copdCpg copd
Cpg copd
 
ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษร
ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษรซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษร
ซูโดกุขนาด 9x9 ช่อง แบบตัวอักษร
 
การสร้าง Family care team หมอครอบครัว
การสร้าง Family care team หมอครอบครัวการสร้าง Family care team หมอครอบครัว
การสร้าง Family care team หมอครอบครัว
 

Similaire à การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ

Enabling Patient Centered Care through Information and Technology (September ...
Enabling Patient Centered Care through Information and Technology (September ...Enabling Patient Centered Care through Information and Technology (September ...
Enabling Patient Centered Care through Information and Technology (September ...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
ATM in Healthcare: ฝันที่เมื่อไหร่จะเป็นจริง
ATM in Healthcare: ฝันที่เมื่อไหร่จะเป็นจริงATM in Healthcare: ฝันที่เมื่อไหร่จะเป็นจริง
ATM in Healthcare: ฝันที่เมื่อไหร่จะเป็นจริงNawanan Theera-Ampornpunt
 
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0Nawanan Theera-Ampornpunt
 
2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)
2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)
2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)Watcharin Chongkonsatit
 
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขอาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขChuchai Sornchumni
 
Research Agenda in HPSR & Community Medicine
Research Agenda in HPSR & Community Medicine Research Agenda in HPSR & Community Medicine
Research Agenda in HPSR & Community Medicine Borwornsom Leerapan
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยTanawat Sudsuk
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 

Similaire à การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ (20)

Alter medpart2 n
Alter medpart2 n Alter medpart2 n
Alter medpart2 n
 
Enabling Patient Centered Care through Information and Technology (September ...
Enabling Patient Centered Care through Information and Technology (September ...Enabling Patient Centered Care through Information and Technology (September ...
Enabling Patient Centered Care through Information and Technology (September ...
 
Access&quality of care
Access&quality of careAccess&quality of care
Access&quality of care
 
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
 
ATM in Healthcare: ฝันที่เมื่อไหร่จะเป็นจริง
ATM in Healthcare: ฝันที่เมื่อไหร่จะเป็นจริงATM in Healthcare: ฝันที่เมื่อไหร่จะเป็นจริง
ATM in Healthcare: ฝันที่เมื่อไหร่จะเป็นจริง
 
ATMinHealthcare
ATMinHealthcareATMinHealthcare
ATMinHealthcare
 
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
 
Thailand 4.0 and Thailand's Public Health
Thailand 4.0 and Thailand's Public HealthThailand 4.0 and Thailand's Public Health
Thailand 4.0 and Thailand's Public Health
 
2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)
2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)
2015 lesson 3 healthcare organization management (4 2016)
 
Introduction2 publichealth
Introduction2 publichealthIntroduction2 publichealth
Introduction2 publichealth
 
NCD 4.0
NCD 4.0NCD 4.0
NCD 4.0
 
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุขอาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
อาเซียนกับระบบบริการสาธารณสุข
 
Health Information 4.0 (November 18, 2016)
Health Information 4.0 (November 18, 2016)Health Information 4.0 (November 18, 2016)
Health Information 4.0 (November 18, 2016)
 
Functions of Health Systems
Functions of Health SystemsFunctions of Health Systems
Functions of Health Systems
 
Research Agenda in HPSR & Community Medicine
Research Agenda in HPSR & Community Medicine Research Agenda in HPSR & Community Medicine
Research Agenda in HPSR & Community Medicine
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
Elderly survey doh
Elderly survey dohElderly survey doh
Elderly survey doh
 
Health Systems IV: Health Informatics
Health Systems IV: Health InformaticsHealth Systems IV: Health Informatics
Health Systems IV: Health Informatics
 

Plus de Thira Woratanarat

อยู่อย่างไรในยุคโควิด
อยู่อย่างไรในยุคโควิดอยู่อย่างไรในยุคโควิด
อยู่อย่างไรในยุคโควิดThira Woratanarat
 
Evidence based public health
Evidence based public healthEvidence based public health
Evidence based public healthThira Woratanarat
 
Commed2 2019 hanlon's method
Commed2 2019 hanlon's methodCommed2 2019 hanlon's method
Commed2 2019 hanlon's methodThira Woratanarat
 
Medical cannabis in thailand: Are we ready?
Medical cannabis in thailand: Are we ready?Medical cannabis in thailand: Are we ready?
Medical cannabis in thailand: Are we ready?Thira Woratanarat
 
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์Thira Woratanarat
 
Health literacy for NCDs prevention and control
Health literacy for NCDs prevention and controlHealth literacy for NCDs prevention and control
Health literacy for NCDs prevention and controlThira Woratanarat
 
Primary Health Care Systems: Thailand
Primary Health Care Systems: ThailandPrimary Health Care Systems: Thailand
Primary Health Care Systems: ThailandThira Woratanarat
 
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทยปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทยThira Woratanarat
 
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...Thira Woratanarat
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...Thira Woratanarat
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017Thira Woratanarat
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์Thira Woratanarat
 
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017Thira Woratanarat
 
Foods and common musculokeletal problems
Foods and common musculokeletal problemsFoods and common musculokeletal problems
Foods and common musculokeletal problemsThira Woratanarat
 
เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559
เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559
เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559Thira Woratanarat
 
Health services responsiveness during political unrest in bangkok ijphrd jul...
Health services responsiveness during political unrest in bangkok  ijphrd jul...Health services responsiveness during political unrest in bangkok  ijphrd jul...
Health services responsiveness during political unrest in bangkok ijphrd jul...Thira Woratanarat
 

Plus de Thira Woratanarat (20)

อยู่อย่างไรในยุคโควิด
อยู่อย่างไรในยุคโควิดอยู่อย่างไรในยุคโควิด
อยู่อย่างไรในยุคโควิด
 
Thailand Covid19 Situation
Thailand Covid19 SituationThailand Covid19 Situation
Thailand Covid19 Situation
 
Evidence based public health
Evidence based public healthEvidence based public health
Evidence based public health
 
Commed2 2019 hanlon's method
Commed2 2019 hanlon's methodCommed2 2019 hanlon's method
Commed2 2019 hanlon's method
 
Medical cannabis in thailand: Are we ready?
Medical cannabis in thailand: Are we ready?Medical cannabis in thailand: Are we ready?
Medical cannabis in thailand: Are we ready?
 
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
กัญชา...ชัวร์ก่อนแชร์
 
Health literacy for NCDs prevention and control
Health literacy for NCDs prevention and controlHealth literacy for NCDs prevention and control
Health literacy for NCDs prevention and control
 
Primary Health Care Systems: Thailand
Primary Health Care Systems: ThailandPrimary Health Care Systems: Thailand
Primary Health Care Systems: Thailand
 
Health care system 2018
Health care system 2018Health care system 2018
Health care system 2018
 
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทยปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
ปรากฏการณ์ตูน: ภาพสะท้อนระบบสาธารณสุขไทย
 
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
Primary Health Care Systems (PRIMASYS): Case Study from Thailand, Abridged ve...
 
SDG AND Songs
SDG AND SongsSDG AND Songs
SDG AND Songs
 
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
ประสิทธิผลของการให้ข้อมูลด้านโภชนาการต่อพฤติกรรม การบริโภคอาหารของนักศึกษาในเ...
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) 2017
 
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
การสร้างเสริมสุขภาพ (Health promotion) โดย ผศ.นพ.ธีระ วรธนารัตน์
 
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
การจัดการปัญหาสุขภาพแนวใหม่ 2017
 
Commed2 2017
Commed2 2017Commed2 2017
Commed2 2017
 
Foods and common musculokeletal problems
Foods and common musculokeletal problemsFoods and common musculokeletal problems
Foods and common musculokeletal problems
 
เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559
เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559
เมื่อนิสิตแพทย์เรียนข้างนอก เวชศาสตร์ร่วมสมัย 2559
 
Health services responsiveness during political unrest in bangkok ijphrd jul...
Health services responsiveness during political unrest in bangkok  ijphrd jul...Health services responsiveness during political unrest in bangkok  ijphrd jul...
Health services responsiveness during political unrest in bangkok ijphrd jul...
 

การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ