SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  17
Télécharger pour lire hors ligne
การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น หมายถึง การแบ่งแยก
หน่วยการปกครองออกจากส่วนกลาง โดยให้องค์กรที่จัดขึ้น
ในท้องถิ่นหรือองค์กรปกครองท้องถิ่นมีอิสระในการดาเนิน
กิจการภายในท้องถิ่นของตนได้ เพื่อให้ประชาชนในท้องถิ่น
ได้มีส่วนร่วมในการปกครองตนเอง รวมทั้งแบ่งเบาภาระของ
รัฐบาลในการบริหารและบริการประชาชน
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามแบบกระจายอานาจ
ประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ ได้แก่
         -   มีฐานะเป็นนิติบุคคล
         -   มีอิสระในการบริหารงาน
         -   มีงบประมาณของตนเอง
         -   คณะผู้บริหารท้องถิ่นมาจากการเลือกตั้ง
             ของคนในท้องถิ่น
กฎหมายที่สาคัญขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(1) พ.ร.บ.องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ.2540 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(2) พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ.2496 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(3) พ.ร.บ.สภาตาบล และองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(4) พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2528
(5) พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ.2542
สาระสาคัญของหลักการปกครองท้องถิ่น
(1) มีหลายรูปแบบ จะแตกต่างกันไปตามความเจริญ จานวนประชากร และขนาด
   พื้นที่
(2) ต้องมีอานาจ (Autonomy) ในการปฏิบัติหน้าที่ตามความเหมาะสม
(3) ต้องมีสิทธิตามกฎหมายที่จะดาเนินการปกครองตนเอง โดยสิทธิ แบ่งออกเป็น 2
   ประการ คือ
    (3.1) สิทธิที่จะตรากฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรปกครองส่วน
   ท้องถิ่น
   (3.2) สิทธิในการกาหนดงบประมาณเพื่อบริหารกิจการตามอานาจหน้าที่ที่มีอยู่
                           (4) มีองค์กรที่จาเป็นในการบริหารและปกครองตนเอง
                           (5) ประชาชนในท้ อ งถิ่ น มี ส่ ว นร่ ว มในการปกครอง
   ท้องถิ่น
องค์ประกอบของการปกครองส่วนท้องถิ่น
1. ต้องมีอาณาเขตที่แน่นอนชัดเจน (Area)
2. ต้องมีอานาจอิสระ (Autonomy)
3. ต้องมีสิทธิตามที่กฎหมายรับรอง
4. ต้ อ งเปิ ด โอกาสให้ ป ระชาชนในท้ อ งถิ่ น เข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มในการ
ปกครองทั้งโดยตรงและโดยอ้อม
5. ต้องมีองค์กรที่แน่นอนชัดเจนในการบริหารจัดการงานของท้องถิ่น
รูปแบบองค์กรปกครองท้องถิ่นไทย
 ปัจจุบัน มี 5 รูปแบบ
(1) องค์การบริหารส่วนจังหวัด (Provincial Administration Organization)
(2) เทศบาล (Municipality)
(3) องค์การบริหารส่วนตาบล (Sub-district Administration Organization)
(4) กรุงเทพมหานคร (Bangkok Metropolitan Administration)
(5) เมืองพัทยา (Pattaya City)
โครงสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ปัจจุบัน ได้กาหนดโครงสร้างออกเป็นรูปแบบสภากับฝ่ายบริหาร ได้แก่
(1) มีการแบ่งแยกฝ่ายสภาและฝ่ายบริหารออกจากกัน
(2) ฝ่ายบริหาร ทาหน้าที่ในการบริหารกิจการภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(3) ฝ่ายสภา ทาหน้าที่ในการตรวจสอบการทางานของฝ่ายบริหารและ ทาหน้าที่ใน
   การออกกฎหมายในระดับท้องถิ่น
(4) สภาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มาจากการเลือกตั้งของประชาชนโดยตรง
(5) หัวหน้าฝ่ายบริหารมาจากการเลือกตั้งโดยตรง
โครงสร้างขององค์การบริหารส่วนตาบล
   (ตาม พ.ร.บ. สภาตาบล และ อบต. พ.ศ. 2537)
       แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2546
                                       องค์การบริหารส่วนตาบล
 สภา อบต.                                                                นายก อบต.
 องค์ประกอบ
                                                                มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของ
 สมาชิกสภา อบต. มาจากการเลือกตั้ง                                       ประชาชน
 1. สมาชิกหมู่บ้านละ 2 คน
                                                                     นายกอาจแต่งตั้ง
 2. อบต. ใดมี 2 หมู่บ้าน ให้มีสมาชิก
                                                                   รองนายกไม่เกิน 2 คน
    หมู่บ้านละ 2 คน
 3. อบต. ใดมี 1 หมู่บ้าน ให้มี 6 คน
                                                                   เลขานุการนายก 1 คน

           ประธานสภา อบต.
      เลือกมาจากสมาชิกสภา 1 คน
                                                               สานักงานปลัด อบต. และส่วนต่างๆ
          รองประธานสภา อบต.                                              ของ อบต.
        เลือกจากสมาชิกสภา 1 คน
           เลขานุการสภา อบต.
เลือกจากปลัด อบต. หรือสมาชิกสภา 1 คน
โครงสร้างเทศบาล
   (ตาม พ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ. 2496)
แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 12) พ.ศ. 2546

                     เทศบาลนคร                            เทศบาลเมือง                       เทศบาลตาบล

           ราษฎร 50,000 คน ขึ้นไป                  ราษฎร 10,000 คน ขึ้นไป     มีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะ



                     สภาเทศบาล                                                              นายกเทศมนตรี
                                                                                     มาจากการเลือกตั้งโดยตรง
                                                                                         ของประชาชน
         สมาชิกเทศบาลตาบล 12 คน
         สมาชิกเทศบาลเมือง 18 คน                                                       นายกเทศมนตรีแต่งตั้ง
         สมาชิกเทศบาลนคร 24 คน
         ประธานสภา และรองประธาน
       สภาเทศบาล เลือกจากสมาชิกสภา                                          รองนายกฯ (ตาบล) ไม่เกิน 2 คน
          เทศบาล ตาแหน่งละ 1 คน                                             รองนายกฯ (เมือง) ไม่เกิน 3 คน
                                                                            รองนายกฯ (นคร) ไม่เกิน 4 คน
                                                                            เลขา+ที่ปรึกษา (ตาบล) ไม่เกิน 2 คน
                                                                            เลขา+ที่ปรึกษา (เมือง) ไม่เกิน 3 คน
                                                                            เลขา+ที่ปรึกษา (นคร) ไม่เกิน 5 คน
                                           ปลัดเทศบาล/เลขานุการสภาเทศบาล
โครงสร้างองค์การบริหารส่วนจังหวัด
     (ตาม พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540)
           แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2546
                                                         องค์การบริหารส่วน
                                                              จังหวัด

   ราษฎร ไม่เกิน 500,000
                                            สภาองค์การบริหาร         นายกองค์การบริหาร
   สมาชิก 24 คน                                ส่วนจังหวัด              ส่วนจังหวัด
   ราษฎร 50,001-1,000,000
                                                                                           สมาชิก 24 คน รองฯ 2 คน
   สมาชิก 30 คน
   ราษฎร 1,000,001-1,500,000                                            รองนายก อบจ.       สมาชิก 30 คน รองฯ 2 คน
                                              สมาชิกสภา อบจ.                               สมาชิก 36 คน รองฯ 3 คน
   สมาชิก 36 คน                                                            2-4 คน
                                                (24-48 คน)                                 สมาชิก 42 คน รองฯ 3 คน
   ราษฎร 1,500,001-2,000,000                                         เลขา+ที่ปรึกษา 5 คน
   สมาชิก 42 คน                                                                            สมาชิก 48 คน รองฯ 4 คน
   ราษฎรมากกว่า 2,000,000
   สมาชิก 48 คน                              ประธานสภา อบจ.              ปลัด อบจ.
      (ม.9)

                                              รองประธานสภา
                                                อบจ. 2 คน



                                              เลขานุการ อบจ.
โครงสร้างเมืองพัทยา
ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2542
                                                        เมืองพัทยา

                  สภาเมืองพัทยา                            นายกฯ                          นายกเมืองพัทยา
                                        นายกฯ เป็นผู้แต่งตั้งรองนายกฯ และที่ปรึกษา   มาจากการเลือกตั้งโดยตรง วาระ
                                                                                          ดารงตาแหน่ง 4 ปี
               สมาชิกเมืองพัทยา 24 คน
                                                                                          รองนายกเมืองพัทยา
                                                                                             ไม่เกิน 4 คน
                                                                                        เลขานุการนายกที่ปรึกษา

                 ประธานสภา 1 คน                                                             บริหารกิจการ
                                                                                            ของเมืองพัทยา

                รองประธานสภา 2 คน
                                                                                        สานักปลัดเมืองพัทยา
                  ปลัดเมืองพัทยา                                                         ราชการส่วนต่างๆ
                 ทาหน้าที่เลขานุการ                                                       ปลัดเมืองพัทยา
                  สภาเมืองพัทยา                                                                และ
                                                                                         พนักงานเมืองพัทยา
โครงสร้างกรุงเทพมหานคร
                                            กทม.


              สภา กทม.                                                 ผู้ว่าราชการ กทม.


   สมาชิกสภา กทม. เขตละ 1 คน                                 รองฯไม่เกิน 4 คน
    คานวณจากเขตละ 1 แสนคน                                        คาสั่งแต่งตั้งให้ประกาศในราชกิจจา
                                                         นุเบกษา
  เศษ 1 แสน ถ้าเกิน 5 หมื่น เพิ่ม 1                              เลขา 1 คน
               คน
            วาระ 4 ปี                                            ผู้ช่วยเลขาฯ ไม่เกินจานวนรองฯ
                                                                ประธานที่ปรึกษา ที่ปรึกษาและคณะที่
                                                         ปรึกษา
    ประธาน 1 คน                                                 รวมกันไม่เกิน 9 คน
    รองประธาน 2 คน
   รมว.มท.ประกาศในราชกิจจา            เลขาประธาน 1 คน                      ปลัด กทม.
    วาระ 2 ปี                         ผู้ช่วยเลขา 2 คน
โครงสร้างกรุงเทพมหานคร
                                   เขตและสภาเขต


       สมาชิกสภาเขต
       เขตละ 7 คน                                           ผอ. เขต 1 คน
       เกินแสนเพิ่ม 1 คนต่อแสน                            (ข้าราชการ กทม.)
       ถ้าเศษ 5 หมื่น เพิ่ม 1 คน
       วาระ 4 ปี



       ประธานสภาเขต 1 คน
       รองประธานสภาเขต 1 คน              ผู้ว่าฯ ประกาศ
       วาระ 1 ปี
จานวนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1. องค์การบริหารส่วนจังหวัด       จานวน    75   แห่ง
2. เทศบาล                         จานวน 1,276   แห่ง
    2.1 เทศบาลนคร                 จานวน    23   แห่ง
    2.2 เทศบาลเมือง               จานวน   129   แห่ง
    2.3 เทศบาลตาบล                จานวน 1,124   แห่ง
3. องค์การบริหารส่วนตาบล          จานวน 6,500   แห่ง
4. การปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ   จานวน     2   แห่ง
วิเคราะห์สรุปได้ดังนี้
            1. รัฐบาลกระจายอานาจหรือมอบหมายให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปกครองท้องถิ่น
ของตนเอง โดยมีภารกิจที่จาเป็นตามขอบข่ายของตน เช่น การจัดการศึกษา การคุ้มครองดูแลและ
บารุงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การทะนุบารุง
ศาสนา วัฒนธรรมประเพณี เป็นต้น
            2. แม้รัฐบาลจะกระจายอานาจแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แต่รัฐบาลยังมีอานาจใน
การเป็นผู้กากับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบางเรื่องอีกด้วย ดังเห็นได้จากการที่รัฐสภาเป็นผู้มี
อานาจและหน้าที่เสนอและพิจารณาให้ความเห็นชอบเกี่ยวกับร่างพระราชบัญญัติการปกครอง
ส่วนท้องถิ่นทุกรูปแบบหรือการให้กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทยมี
หน้าที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในฐานะผู้ร่วมงาน และส่งเสริมการปกครอง
ส่วนท้องถิ่น รวมทั้งหน่วยงานราชการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องด้วย
ข้อเสนอแนะ
         ในอดีตนั้น รัฐมิได้ให้ความสาคัญกับหลักความเป็นอิสระขององค์กร
ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น เท่ า ไรนั ก อี ก ทั้ ง ยั ง อาศั ย ช่ อ งทางที่ รั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง
ราชอาณาจักรไทยเปิดช่องให้กากับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ตาม
ความจาเป็น กาหนดมาตรการกากับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอย่าง
เข้มงวดมาก ทาให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทยตลอดระยะเวลา
ที่ผ่านมาขาดไร้ซึ่งความเป็นอิสระอย่างแท้จริง อีกทั้งยังทาให้เจตนารมณ์ของ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ซึ่งเป็นกฎหมายสูงสุด
ของประเทศนั้นถูกละเลยอีกด้วย

Contenu connexe

Tendances

เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจPannatut Pakphichai
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1Puy Chappuis
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยทศวรรษ โตเสือ
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002Thidarat Termphon
 
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1Parich Suriya
 
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001Thidarat Termphon
 
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาอาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาArt Nan
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นPaew Tongpanya
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยPaew Tongpanya
 
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfbansarot
 
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาkroobannakakok
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าพัน พัน
 

Tendances (20)

เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจเครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เครื่องชี้วัดการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
 
ปัญหาสังคม
ปัญหาสังคมปัญหาสังคม
ปัญหาสังคม
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
สรุปกฎหมายปกครองฉบับเข้าใจง่าย ข้อ 1
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
 
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
ศาสนาและหน้าที่พลเมือง สค31002
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
 
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
 
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาอาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
แนวข้อสอบ ด้านการเงินหรือการคลังของท้องถิ่น (เจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงาน-นักวิชาก...
แนวข้อสอบ ด้านการเงินหรือการคลังของท้องถิ่น (เจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงาน-นักวิชาก...แนวข้อสอบ ด้านการเงินหรือการคลังของท้องถิ่น (เจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงาน-นักวิชาก...
แนวข้อสอบ ด้านการเงินหรือการคลังของท้องถิ่น (เจ้าหน้าที่ เจ้าพนักงาน-นักวิชาก...
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
 
หมวกสีขาว
หมวกสีขาวหมวกสีขาว
หมวกสีขาว
 
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
 
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนาการปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
การปกครองท้องถิ่นไทยกับการพัฒนา
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่งเฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
เฉลยใบงานการเคลื่อนที่ในแนวดิ่ง
 
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552
แนวข้อสอบพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 13 พ.ศ. 2552
 

En vedette

การบริหารท้องถิ่น
การบริหารท้องถิ่นการบริหารท้องถิ่น
การบริหารท้องถิ่นTaraya Srivilas
 
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนChacrit Sitdhiwej
 
บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3Saiiew
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยSaiiew
 
บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2Saiiew
 
บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4Saiiew
 
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการSaiiew
 
1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นkroobannakakok
 
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ25465.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546กองพัน ตะวันแดง
 

En vedette (10)

การบริหารท้องถิ่น
การบริหารท้องถิ่นการบริหารท้องถิ่น
การบริหารท้องถิ่น
 
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ยั่งยืนบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน
บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวที่ยั่งยืน
 
บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3บริหารราชการไทย 3
บริหารราชการไทย 3
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
 
บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2บริหารราชการไทย 2
บริหารราชการไทย 2
 
บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4บริหารราชการไทย 4
บริหารราชการไทย 4
 
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
ระบบต่างที่มีอิทธิพลต่อระบบราชการ
 
1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1 กำเนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
 
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ25465.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
5.2พรบ.ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ2546
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 

Similaire à การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น อาจารย์สมศักย์

รายงานฉบับสมบูรณ์(Final Report)โครงการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ตามแผนปฏิบัติการ...
รายงานฉบับสมบูรณ์(Final Report)โครงการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ตามแผนปฏิบัติการ...รายงานฉบับสมบูรณ์(Final Report)โครงการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ตามแผนปฏิบัติการ...
รายงานฉบับสมบูรณ์(Final Report)โครงการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ตามแผนปฏิบัติการ...ประพันธ์ เวารัมย์
 
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยสำนักงาน กกต. แพร่
 
Sak (2) [compatibility mode]
Sak (2) [compatibility mode]Sak (2) [compatibility mode]
Sak (2) [compatibility mode]Jani Kp
 
รายงานการประชุมสภาเทศบาลตำบลธงธานี สมัยสามัญ สมัยที่ 1
รายงานการประชุมสภาเทศบาลตำบลธงธานี สมัยสามัญ   สมัยที่ 1รายงานการประชุมสภาเทศบาลตำบลธงธานี สมัยสามัญ   สมัยที่ 1
รายงานการประชุมสภาเทศบาลตำบลธงธานี สมัยสามัญ สมัยที่ 1phukosai Phukosai
 

Similaire à การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น อาจารย์สมศักย์ (9)

ถอดรหัสท้องถิ่น 2
ถอดรหัสท้องถิ่น 2ถอดรหัสท้องถิ่น 2
ถอดรหัสท้องถิ่น 2
 
สรุปพรบสภาตำบล
สรุปพรบสภาตำบลสรุปพรบสภาตำบล
สรุปพรบสภาตำบล
 
รายงานฉบับสมบูรณ์(Final Report)โครงการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ตามแผนปฏิบัติการ...
รายงานฉบับสมบูรณ์(Final Report)โครงการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ตามแผนปฏิบัติการ...รายงานฉบับสมบูรณ์(Final Report)โครงการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ตามแผนปฏิบัติการ...
รายงานฉบับสมบูรณ์(Final Report)โครงการสื่อสารและประชาสัมพันธ์ตามแผนปฏิบัติการ...
 
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
 
Sak (2) [compatibility mode]
Sak (2) [compatibility mode]Sak (2) [compatibility mode]
Sak (2) [compatibility mode]
 
ระบบงานรัฐสภา 55
ระบบงานรัฐสภา 55ระบบงานรัฐสภา 55
ระบบงานรัฐสภา 55
 
9 พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้อ
9 พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้อ9 พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้อ
9 พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้อ
 
Prachum
PrachumPrachum
Prachum
 
รายงานการประชุมสภาเทศบาลตำบลธงธานี สมัยสามัญ สมัยที่ 1
รายงานการประชุมสภาเทศบาลตำบลธงธานี สมัยสามัญ   สมัยที่ 1รายงานการประชุมสภาเทศบาลตำบลธงธานี สมัยสามัญ   สมัยที่ 1
รายงานการประชุมสภาเทศบาลตำบลธงธานี สมัยสามัญ สมัยที่ 1
 

Plus de ธิติพงศ์ กุลภา College of Local Administration,KhonKaen University

Plus de ธิติพงศ์ กุลภา College of Local Administration,KhonKaen University (15)

งานวิจัยบ้านหนองหลุบ(สมบูรณ์)
งานวิจัยบ้านหนองหลุบ(สมบูรณ์)งานวิจัยบ้านหนองหลุบ(สมบูรณ์)
งานวิจัยบ้านหนองหลุบ(สมบูรณ์)
 
วิธีการสุ่มตัวอย่างและการเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีการสุ่มตัวอย่างและการเก็บรวบรวมข้อมูลวิธีการสุ่มตัวอย่างและการเก็บรวบรวมข้อมูล
วิธีการสุ่มตัวอย่างและการเก็บรวบรวมข้อมูล
 
กลุ่มที่ ๔ กตัญญูกตเวที
กลุ่มที่ ๔ กตัญญูกตเวทีกลุ่มที่ ๔ กตัญญูกตเวที
กลุ่มที่ ๔ กตัญญูกตเวที
 
ข้อมูลทั่วไปบ้านหนองหลุบ
ข้อมูลทั่วไปบ้านหนองหลุบข้อมูลทั่วไปบ้านหนองหลุบ
ข้อมูลทั่วไปบ้านหนองหลุบ
 
สรุปรายงานการวิจัย
สรุปรายงานการวิจัยสรุปรายงานการวิจัย
สรุปรายงานการวิจัย
 
นำเสนอสหกิจศึกษาทางการปกครองท้องถิ่น
นำเสนอสหกิจศึกษาทางการปกครองท้องถิ่นนำเสนอสหกิจศึกษาทางการปกครองท้องถิ่น
นำเสนอสหกิจศึกษาทางการปกครองท้องถิ่น
 
การบริหารงาน สธ.ทน.ขอนแก่น
การบริหารงาน สธ.ทน.ขอนแก่นการบริหารงาน สธ.ทน.ขอนแก่น
การบริหารงาน สธ.ทน.ขอนแก่น
 
สงครามฆ่าล้างเผ่าพันธุ์บอสเนีย
สงครามฆ่าล้างเผ่าพันธุ์บอสเนียสงครามฆ่าล้างเผ่าพันธุ์บอสเนีย
สงครามฆ่าล้างเผ่าพันธุ์บอสเนีย
 
พฤติกรรมการเที่ยวสถานบันเทิง(เล่ม)
พฤติกรรมการเที่ยวสถานบันเทิง(เล่ม)พฤติกรรมการเที่ยวสถานบันเทิง(เล่ม)
พฤติกรรมการเที่ยวสถานบันเทิง(เล่ม)
 
พฤติกรรมการเที่ยวสถานบันเทิง(เล่ม)
พฤติกรรมการเที่ยวสถานบันเทิง(เล่ม)พฤติกรรมการเที่ยวสถานบันเทิง(เล่ม)
พฤติกรรมการเที่ยวสถานบันเทิง(เล่ม)
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
การสำรวจขยะ
การสำรวจขยะการสำรวจขยะ
การสำรวจขยะ
 
สถิติการเกษตร
สถิติการเกษตรสถิติการเกษตร
สถิติการเกษตร
 
กฎหมายมหาชนกับการปฎิวัติฝรั่งเศส
กฎหมายมหาชนกับการปฎิวัติฝรั่งเศสกฎหมายมหาชนกับการปฎิวัติฝรั่งเศส
กฎหมายมหาชนกับการปฎิวัติฝรั่งเศส
 
การจัดระบบสาธารณูปโภค อบต.ศิลา
การจัดระบบสาธารณูปโภค อบต.ศิลาการจัดระบบสาธารณูปโภค อบต.ศิลา
การจัดระบบสาธารณูปโภค อบต.ศิลา
 

การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น อาจารย์สมศักย์

  • 1.
  • 2. การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น หมายถึง การแบ่งแยก หน่วยการปกครองออกจากส่วนกลาง โดยให้องค์กรที่จัดขึ้น ในท้องถิ่นหรือองค์กรปกครองท้องถิ่นมีอิสระในการดาเนิน กิจการภายในท้องถิ่นของตนได้ เพื่อให้ประชาชนในท้องถิ่น ได้มีส่วนร่วมในการปกครองตนเอง รวมทั้งแบ่งเบาภาระของ รัฐบาลในการบริหารและบริการประชาชน
  • 3. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามแบบกระจายอานาจ ประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ ได้แก่ - มีฐานะเป็นนิติบุคคล - มีอิสระในการบริหารงาน - มีงบประมาณของตนเอง - คณะผู้บริหารท้องถิ่นมาจากการเลือกตั้ง ของคนในท้องถิ่น
  • 4. กฎหมายที่สาคัญขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (1) พ.ร.บ.องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ.2540 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (2) พ.ร.บ.เทศบาล พ.ศ.2496 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (3) พ.ร.บ.สภาตาบล และองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ.2537 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (4) พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ.2528 (5) พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ.2542
  • 5. สาระสาคัญของหลักการปกครองท้องถิ่น (1) มีหลายรูปแบบ จะแตกต่างกันไปตามความเจริญ จานวนประชากร และขนาด พื้นที่ (2) ต้องมีอานาจ (Autonomy) ในการปฏิบัติหน้าที่ตามความเหมาะสม (3) ต้องมีสิทธิตามกฎหมายที่จะดาเนินการปกครองตนเอง โดยสิทธิ แบ่งออกเป็น 2 ประการ คือ (3.1) สิทธิที่จะตรากฎหมายหรือระเบียบข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรปกครองส่วน ท้องถิ่น (3.2) สิทธิในการกาหนดงบประมาณเพื่อบริหารกิจการตามอานาจหน้าที่ที่มีอยู่ (4) มีองค์กรที่จาเป็นในการบริหารและปกครองตนเอง (5) ประชาชนในท้ อ งถิ่ น มี ส่ ว นร่ ว มในการปกครอง ท้องถิ่น
  • 6. องค์ประกอบของการปกครองส่วนท้องถิ่น 1. ต้องมีอาณาเขตที่แน่นอนชัดเจน (Area) 2. ต้องมีอานาจอิสระ (Autonomy) 3. ต้องมีสิทธิตามที่กฎหมายรับรอง 4. ต้ อ งเปิ ด โอกาสให้ ป ระชาชนในท้ อ งถิ่ น เข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มในการ ปกครองทั้งโดยตรงและโดยอ้อม 5. ต้องมีองค์กรที่แน่นอนชัดเจนในการบริหารจัดการงานของท้องถิ่น
  • 7. รูปแบบองค์กรปกครองท้องถิ่นไทย ปัจจุบัน มี 5 รูปแบบ (1) องค์การบริหารส่วนจังหวัด (Provincial Administration Organization) (2) เทศบาล (Municipality) (3) องค์การบริหารส่วนตาบล (Sub-district Administration Organization) (4) กรุงเทพมหานคร (Bangkok Metropolitan Administration) (5) เมืองพัทยา (Pattaya City)
  • 8. โครงสร้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปัจจุบัน ได้กาหนดโครงสร้างออกเป็นรูปแบบสภากับฝ่ายบริหาร ได้แก่ (1) มีการแบ่งแยกฝ่ายสภาและฝ่ายบริหารออกจากกัน (2) ฝ่ายบริหาร ทาหน้าที่ในการบริหารกิจการภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (3) ฝ่ายสภา ทาหน้าที่ในการตรวจสอบการทางานของฝ่ายบริหารและ ทาหน้าที่ใน การออกกฎหมายในระดับท้องถิ่น (4) สภาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มาจากการเลือกตั้งของประชาชนโดยตรง (5) หัวหน้าฝ่ายบริหารมาจากการเลือกตั้งโดยตรง
  • 9. โครงสร้างขององค์การบริหารส่วนตาบล (ตาม พ.ร.บ. สภาตาบล และ อบต. พ.ศ. 2537) แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2546 องค์การบริหารส่วนตาบล สภา อบต. นายก อบต. องค์ประกอบ มาจากการเลือกตั้งโดยตรงของ สมาชิกสภา อบต. มาจากการเลือกตั้ง ประชาชน 1. สมาชิกหมู่บ้านละ 2 คน นายกอาจแต่งตั้ง 2. อบต. ใดมี 2 หมู่บ้าน ให้มีสมาชิก รองนายกไม่เกิน 2 คน หมู่บ้านละ 2 คน 3. อบต. ใดมี 1 หมู่บ้าน ให้มี 6 คน เลขานุการนายก 1 คน ประธานสภา อบต. เลือกมาจากสมาชิกสภา 1 คน สานักงานปลัด อบต. และส่วนต่างๆ รองประธานสภา อบต. ของ อบต. เลือกจากสมาชิกสภา 1 คน เลขานุการสภา อบต. เลือกจากปลัด อบต. หรือสมาชิกสภา 1 คน
  • 10. โครงสร้างเทศบาล (ตาม พ.ร.บ. เทศบาล พ.ศ. 2496) แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 12) พ.ศ. 2546 เทศบาลนคร เทศบาลเมือง เทศบาลตาบล ราษฎร 50,000 คน ขึ้นไป ราษฎร 10,000 คน ขึ้นไป มีประกาศกระทรวงมหาดไทยยกฐานะ สภาเทศบาล นายกเทศมนตรี มาจากการเลือกตั้งโดยตรง ของประชาชน สมาชิกเทศบาลตาบล 12 คน สมาชิกเทศบาลเมือง 18 คน นายกเทศมนตรีแต่งตั้ง สมาชิกเทศบาลนคร 24 คน ประธานสภา และรองประธาน สภาเทศบาล เลือกจากสมาชิกสภา รองนายกฯ (ตาบล) ไม่เกิน 2 คน เทศบาล ตาแหน่งละ 1 คน รองนายกฯ (เมือง) ไม่เกิน 3 คน รองนายกฯ (นคร) ไม่เกิน 4 คน เลขา+ที่ปรึกษา (ตาบล) ไม่เกิน 2 คน เลขา+ที่ปรึกษา (เมือง) ไม่เกิน 3 คน เลขา+ที่ปรึกษา (นคร) ไม่เกิน 5 คน ปลัดเทศบาล/เลขานุการสภาเทศบาล
  • 11. โครงสร้างองค์การบริหารส่วนจังหวัด (ตาม พ.ร.บ. องค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.ศ. 2540) แก้ไขเพิ่มเติมถึง (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2546 องค์การบริหารส่วน จังหวัด ราษฎร ไม่เกิน 500,000 สภาองค์การบริหาร นายกองค์การบริหาร สมาชิก 24 คน ส่วนจังหวัด ส่วนจังหวัด ราษฎร 50,001-1,000,000 สมาชิก 24 คน รองฯ 2 คน สมาชิก 30 คน ราษฎร 1,000,001-1,500,000 รองนายก อบจ. สมาชิก 30 คน รองฯ 2 คน สมาชิกสภา อบจ. สมาชิก 36 คน รองฯ 3 คน สมาชิก 36 คน 2-4 คน (24-48 คน) สมาชิก 42 คน รองฯ 3 คน ราษฎร 1,500,001-2,000,000 เลขา+ที่ปรึกษา 5 คน สมาชิก 42 คน สมาชิก 48 คน รองฯ 4 คน ราษฎรมากกว่า 2,000,000 สมาชิก 48 คน ประธานสภา อบจ. ปลัด อบจ. (ม.9) รองประธานสภา อบจ. 2 คน เลขานุการ อบจ.
  • 12. โครงสร้างเมืองพัทยา ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการเมืองพัทยา พ.ศ. 2542 เมืองพัทยา สภาเมืองพัทยา นายกฯ นายกเมืองพัทยา นายกฯ เป็นผู้แต่งตั้งรองนายกฯ และที่ปรึกษา มาจากการเลือกตั้งโดยตรง วาระ ดารงตาแหน่ง 4 ปี สมาชิกเมืองพัทยา 24 คน รองนายกเมืองพัทยา ไม่เกิน 4 คน เลขานุการนายกที่ปรึกษา ประธานสภา 1 คน บริหารกิจการ ของเมืองพัทยา รองประธานสภา 2 คน สานักปลัดเมืองพัทยา ปลัดเมืองพัทยา ราชการส่วนต่างๆ ทาหน้าที่เลขานุการ ปลัดเมืองพัทยา สภาเมืองพัทยา และ พนักงานเมืองพัทยา
  • 13. โครงสร้างกรุงเทพมหานคร กทม. สภา กทม. ผู้ว่าราชการ กทม. สมาชิกสภา กทม. เขตละ 1 คน รองฯไม่เกิน 4 คน คานวณจากเขตละ 1 แสนคน คาสั่งแต่งตั้งให้ประกาศในราชกิจจา นุเบกษา เศษ 1 แสน ถ้าเกิน 5 หมื่น เพิ่ม 1 เลขา 1 คน คน วาระ 4 ปี ผู้ช่วยเลขาฯ ไม่เกินจานวนรองฯ ประธานที่ปรึกษา ที่ปรึกษาและคณะที่ ปรึกษา ประธาน 1 คน รวมกันไม่เกิน 9 คน รองประธาน 2 คน รมว.มท.ประกาศในราชกิจจา เลขาประธาน 1 คน ปลัด กทม. วาระ 2 ปี ผู้ช่วยเลขา 2 คน
  • 14. โครงสร้างกรุงเทพมหานคร เขตและสภาเขต สมาชิกสภาเขต เขตละ 7 คน ผอ. เขต 1 คน เกินแสนเพิ่ม 1 คนต่อแสน (ข้าราชการ กทม.) ถ้าเศษ 5 หมื่น เพิ่ม 1 คน วาระ 4 ปี ประธานสภาเขต 1 คน รองประธานสภาเขต 1 คน ผู้ว่าฯ ประกาศ วาระ 1 ปี
  • 15. จานวนขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 1. องค์การบริหารส่วนจังหวัด จานวน 75 แห่ง 2. เทศบาล จานวน 1,276 แห่ง 2.1 เทศบาลนคร จานวน 23 แห่ง 2.2 เทศบาลเมือง จานวน 129 แห่ง 2.3 เทศบาลตาบล จานวน 1,124 แห่ง 3. องค์การบริหารส่วนตาบล จานวน 6,500 แห่ง 4. การปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ จานวน 2 แห่ง
  • 16. วิเคราะห์สรุปได้ดังนี้ 1. รัฐบาลกระจายอานาจหรือมอบหมายให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปกครองท้องถิ่น ของตนเอง โดยมีภารกิจที่จาเป็นตามขอบข่ายของตน เช่น การจัดการศึกษา การคุ้มครองดูแลและ บารุงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย การทะนุบารุง ศาสนา วัฒนธรรมประเพณี เป็นต้น 2. แม้รัฐบาลจะกระจายอานาจแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น แต่รัฐบาลยังมีอานาจใน การเป็นผู้กากับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นบางเรื่องอีกด้วย ดังเห็นได้จากการที่รัฐสภาเป็นผู้มี อานาจและหน้าที่เสนอและพิจารณาให้ความเห็นชอบเกี่ยวกับร่างพระราชบัญญัติการปกครอง ส่วนท้องถิ่นทุกรูปแบบหรือการให้กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทยมี หน้าที่เข้าไปเกี่ยวข้องกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในฐานะผู้ร่วมงาน และส่งเสริมการปกครอง ส่วนท้องถิ่น รวมทั้งหน่วยงานราชการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องด้วย
  • 17. ข้อเสนอแนะ ในอดีตนั้น รัฐมิได้ให้ความสาคัญกับหลักความเป็นอิสระขององค์กร ปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น เท่ า ไรนั ก อี ก ทั้ ง ยั ง อาศั ย ช่ อ งทางที่ รั ฐ ธรรมนู ญ แห่ ง ราชอาณาจักรไทยเปิดช่องให้กากับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ตาม ความจาเป็น กาหนดมาตรการกากับดูแลองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอย่าง เข้มงวดมาก ทาให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในประเทศไทยตลอดระยะเวลา ที่ผ่านมาขาดไร้ซึ่งความเป็นอิสระอย่างแท้จริง อีกทั้งยังทาให้เจตนารมณ์ของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ ซึ่งเป็นกฎหมายสูงสุด ของประเทศนั้นถูกละเลยอีกด้วย