SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  24
Télécharger pour lire hors ligne
จัดทาโดย
        นางสาวธนาพร เหรียญทอง
โรงเรียนปิยะบุตร์ อาเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1

                                                1
คาชี้แจงในการใช้เอกสารประกอบการเรียน




        เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม (สาระเศรษฐศาสตร์)
ส32102 เรื่องเศรษฐกิจระหว่างประเทศ จัดทาขึ้นเพื่อเป็นหนังสือ และคู่มือในการสอนของครูโดย
ได้จัดกระบวนการไว้ในคู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งแบ่งเนื้อหาไว้เป็น 2 ชุด คือ
              เอกสารชุดที่ 1 เรื่อง เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
              เอกสารชุดที่ 2 เรื่องดุลการชาระเงินต่างประเทศ
        เพื่อให้การใช้เอกสารประกอบการเรียนบรรลุตามผลการเรียนที่คาดหวัง จึงขอให้นักเรียน
ดาเนินการในการใช้เอกสารประกอบการเรียนดังนี้
         1. ให้นักเรียนอ่านผลการเรียนที่คาดหวัง
         2. ให้ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนแต่ละชุดตามที่ได้จัดไว้ ให้เข้าใจ
(ขั้นตอนการเรียนตามคู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้)
         3. ทาใบงานที่กาหนดไว้ในเอกสารประกอบการเรียน
         4. ควรทาแบบทดสอบก่อนเรียนเมื่อเริ่มเรียน และทดสอบหลังเรียนเมื่อจบการเรียนทุกครั้ง
เพื่อทาให้ทราบความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียน (ในคู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้)
        5. ประเมินตนเองโดยตรวจคาตอบจากแนวการตอบใบงาน




                                                                                         2
เนื้อหาสาคัญของเอกสารประกอบการเรียน




เนื้อหา

          ชุดที่ 1
          1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
                   ความหมายของการค้าระหว่างประเทศ
                   สาเหตุที่มีการค้าระหว่างประเทศ
                   ประโยชน์ของการค้าระหว่างประเทศ
          2. นโยบายการค้าระหว่างประเทศ
                   นโยบายการค้าเสรี
                   นโยบายการค้าแบบคุ้มกัน
          ชุดที่2
          3. ดุลการค้า และการชาระเงิน
                   ความหมายของดุลการค้า และการชาระเงิน
                   ลักษณะของดุลการชาระเงินประโยชน์ของการค้า
          4. อัตราแลกเปลี่ยนเงินระหว่างประเทศ
                   ความหมายการกาหนดอัตราแลกเปลี่ยน
                   ระบบอัตราแลกเปลี่ยน
                   การเคลื่อนย้ายเงินทุน
                   ประเภทของการเคลื่อนย้ายเงินทุน
                   ประโยชน์ของการเคลื่อนย้ายเงินทุน




                                                              3
4
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง




1. บอกความหมาย สาเหตุของเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
2. บอกประโยชน์ที่ได้รับจากการค้าระหว่างประเทศ
3. เปรียบเทียบนโยบายทางการค้าระหว่างประเทศ




                                                5
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
                                    เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

               เศรษฐกิจระหว่างประเทศครอบคลุมถึงเรื่องต่างๆซึ่งประกอบด้วยการขายสินค้าและบริการ
การเงินระหว่างประเทศ การเคลื่อนย้ายทุนและแรงงานการซื้อขายหุ้น พันธบัตร ธนบัตร และทรัพย์สิน
ทางการเงินระหว่างประเทศ รวมถึงการใช้นโยบายเพื่อการแก้ปัญหาเศรษฐกิจระหว่างประเทศด้วย
          ความหมายของการค้าระหว่างประเทศ
              การค้าระหว่างประเทศ หมายถึง การแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการต่างๆระหว่างประเทศที่ทา
การค้าระหว่างกัน เรียกประเทศคู่ค้าสินค้าที่แต่ละประเทศซื้อ เรียกว่ า สินค้าเข้า (imports) และสินค้า
ที่แต่ละประเทศขาย เรียกว่า สินค้าออก (exports) ประเทศที่ซื้อสินค้าจากต่างประเทศ เรียกว่า ประเทศ
ผู้นาเข้า ( imports country หรือimportes) ส่วนประเทศที่ขายสินค้าให้กับประเทศอื่น เรียกว่า ประเทศ
ผู้ส่งออกสินค้า (exports countryหรือ exporter ) โดยทั่วไปแล้วแต่ละประเทศจะมีฐานะเป็นทั้งประเทศ
ผู้นาเข้าสินค้าและผู้ส่งสินค้าออก ในเวลาเดียวกันเพราะประเทศต่างๆมีการผลิตสินค้าแตกต่างกัน เช่น
ประเทศไทยส่งสินค้าการเกษตรไปขายญี่ปุ่น และสั่งซื้อเครื่องมือเครื่องจักรจากญี่ปุ่น




                                                                                               6
1. ความแตกต่างทางภูมิศาสตร์ การที่ประเทศต่างๆ มีทาเลที่ตั้ง สภาพดินฟ้าอากาศที่แตกต่าง
กันทาให้โอกาสในการผลิตสินค้ามีความแตกต่างกัน
             2. ความแตกต่างทางทรัพยากรธรรมชาติ ประเทศต่างๆมีทรัพยากรที่ใช้ในการผลิตแต่ละชนิดที่
แตกต่างกัน เช่น ไทยเหมาะแก่การเพาะปลูก คูเวตมีน้ามันมากกว่าไทย
            3. ความชานาญในการผลิตเฉพาะที่แตกต่างกันในแต่ละประเทศ เช่น ไทยมีความเชี่ยวชาญใน
การผลิตสินค้าเกษตรมากกว่าคูเวต ในขณะที่คูเวตมีความเชี่ยวชาญในการผลิตน้ามันมากกว่าไทย




         ประโยชน์ของการค้าระหว่างประเทศ
           1. มีสินค้าสนองความต้องการ สินค้าใดที่ผลิตในประเทศหนึ่งไม่ได้ ก็สามารถซื้อหาจาก
ประเทศอื่นได้ ทาให้แต่ละประเทศมีสินค้าเพียงพอต่อความต้องการ
            2. มีการค้าขายแลกเปลี่ยนกัน สินค้าใดถ้าจะผลิตได้ในประเทศแต่มีต้นทุนสูงเมื่อเทียบกับ
ประเทศอื่น ประเทศนั้นก็จะไม่ผลิต แต่จะเลือกผลิตแต่สินค้าที่มีต้นทุนต่ากว่าและมีความถนัด
แล้วส่งไปขายแลกเปลี่ยนกัน เราจะได้สินค้าที่มีคุณภาพดีและราคาถูกกว่าที่จะผลิตเอง
            3. มีความรู้ความชานาญในการผลิต การค้าระหว่างประเทศก่อให้เกิดความรู้ความชานาญใน
การผลิตเฉพาะอย่างตามความถนัด ทาให้มีแรงจูงใจที่จะคิดค้นเทคนิคการผลิตให้ได้คุณภาพและราคาต่าลง
           4. มีการผลิตที่ทันสมัย ช่วยให้ประเทศกาลังพัฒนาได้แบบอย่างการผลิตที่ทันสมัยขึ้น สามารถ
นาทรัพยากรที่มีอยู่มาใช้ผลิตเพื่อส่งออกได้มากขึ้น
           5. มีเทคโนโลยีการผลิตที่ก้าวหน้า ทาให้ประเทศกาลังพัฒนารู้จักใช้เทคโนโลยีจากต่างประเทศ
เพื่อพัฒนาประเทศให้เจริญขึ้น เช่น ปรับปรุงการผลิต ปรับปรุง ที่อยู่อาศัย พัฒนาถนนและพลังงานต่างๆ




                                                                                            7
นโยบายการค้าระหว่างประเทศ


           นโยบายการค้าระหว่างประเทศ ( International Trade Policy) หมายถึง วิธีการปฎิบัติที่แต่ละ
ประเทศใช้ในการนาสินค้าเข้าและส่งสินค้าออก จึงแบ่งได้ 2 แบบ ดังนี้
          1. นโยบายการค้าเสรี ( Free Trade Policy) เป็นนโยบายการค้าที่ไม่มีข้อจากัดใดๆ ประเทศที่ถือ
นโยบายการค้าเสรี ต้องอยู่ในเงื่อนไข ดังนี้
             1.) ต้องดาเนินการผลิตตามหลักการแบ่งงาน คือ ทุกประเทศจะต้องเลือกผลิตเฉพาะที่มี
ประสิทธิภาพการผลิตสูง
             2.) ไม่ว่าจะเป็นการเก็บภาษี หรือมีการเก็บภาษีแต่น้อย โดยไม่มีจุดมุ่งหมายให้เกิดความได้
เปรียบเสียเปรียบ
             3.) ต้องไม่มีการให้สิทธิพิเศษ และไม่มีข้อจากัดทางการค้ากับประเทศต่าง ๆ

          ประโยชน์ที่เกิดจากการค้าเสรี
            1. เพิ่มรายได้ประชาชาติและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เมื่อมีรายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น
ย่อมทาให้ระดับการออมเพิ่มขึ้น และก่อให้เกิดการขยายตัวในการลงทุน
            2. การประสานความร่วมมือทางการเมือง ทาให้แต่ละประเทศมีการพึ่งพาอาศัยกันหรือช่วยเหลือ
ร่วมมือกัน
            3. พัฒนาด้านสังคมและวัฒนธรรม การแลกเปลี่ยนทางการค้าก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยน
วัฒนธรรมซึ่งกันและกัน




                                                                                               8
ข้อจากัดของนโยบายการค้าเสรี
             ปัจจัยที่ทาให้เกิดข้อจากัดในการดาเนินนโยบายการค้าเสรีที่สาคัญ ได้แก่
               1. ภาวะเศรษฐกิจ บางประเทศที่มีการผลิต ซึ่งทาให้ภาวะเศรษฐกิจขาดเสถียรภาพ เนื่องจาก
การผลิตต้องผันแปรตามปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้
              2. ภาวะการขาดดุลการค้า เกิดจากการสั่งซื้อสินค้าเข้ามากกว่าการส่งสินค้าออก ประเทศเหล่านั้น
ต้องมีนโยบายสนับสนุนการส่งออกรัฐบาลอาจดาเนินนโยบายการค้าคุ้มกัน โดยการตั้งกาแพงภาษีนาเข้า
เป็นต้น
             3. ความแตกต่างของระบบการเมืองการปกครอง ซึ่งมีผลต่อการดาเนินนโยบายการค้าระหว่าง
ประเทศที่แตกต่างกันด้วย
             4. การรวมกลุ่มผลประโยชน์ทางการค้า มักเกิดการรวมกลุ่มของผู้ผลิตสินค้าที่มีความคล้ายคลึง
กันเพื่อสร้างอานาจการต่อรองราคา ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการดาเนินนโยบายการค้าแบบเสรี
             5. ภาวะสงคราม และภัยธรรมชาติ ย่อมทาให้การค้าระหว่างประเทศไม่สามารถดาเนินการได้
โดยเสรี เพราะการคมนาคมติดต่อได้ยาก ต้องมีการฟื้นฟูประเทศและเศรษฐกิจเมื่อสิ้นสุดสงคราม
            จากข้อจากัดดังกล่าง ทาให้รัฐบาลของประเทศต่าง ๆ อาจเลือกดาเนินนโยบายการค้าแบบคุ้มกัน
          2. นโยบายการค้าแบบคุ้มกัน เป็นนโยบายที่รัฐเข้าไปมีบทบาทควบคุมการค้า ซึ่งมีทั้งการเก็บภาษี
ศุลกากร การกาหนดโควตาทั้งในการส่งออกและนาเข้า การคุ้มกันทางการค้าของประเทศจะเป็นไปเพื่อ
คุ้มครองอุตสาหกรรมภายในประเทศ
                1. วัตถุประสงค์ของนโยบายการค้าแบบคุ้มกัน พอสรุปได้คือ
                      1.1 เพื่อให้ประเทศช่วยตนเองได้เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เช่นสงครามอาจทาให้ไม่มีสินค้า
ที่จาเป็นบางอย่าง จึงต้องเตรียมผลิตสินค้าไว้สารอง
                      1.2 เพื่อคุ้มครองอุตสาหกรรมภายในประเทศ ถ้ารัฐไม่ห้ามสินค้าจากต่างประเทศเข้ามา
ตีตลาด อุตสาหกรรมภายในจะต้องเลิกกิจการ
                      1.3 เพื่อป้องกันการทุ่มตลาด หมายถึง การส่งสินค้าไปขายประเทศอื่นในราคาที่ต่ากว่า
ต้นทุนเพื่อทาลายคู่แข่งขันในตลาดต่างประเทศ
                      1.4 เพื่อแก้ปัญหาการขาดดุลการค้า หมายถึง มูลค่าสินค้าที่ส่งไปขายต่างประเทศน้อยกว่า
มูลค้าสินค้าที่นาเข้ามา ทาให้ต้องเสียเงินตราต่างประเทศออกไปจานวนมาก จึงต้องแก้ไขโดยจากัดการนาเข้า
และส่งเสริมการส่งออกให้มากขึ้น




                                                                                                   9
2. เครื่องมือในการใช้นโยบายการค้าแบบคุ้มกัน รัฐบาลอาจใช้มาตรการต่าง ๆ เป็นเครื่องมือเพื่อ
กีดกันการนาเข้าและส่งออกเช่น
                    2.1. การตั้งกาแพงสินค้า ( Tariff Wall ) โดยการเรียกเก็บภาษีจากสินค้าเข้าที่ต้องการจะกีด
กันในอัตราสูงกว่าปกติ และเก็บภาษีอัตราเดียวกัน หรือเก็บอัตราภาษีหลายอัตรา
ในแต่ละประเทศไม่เท่ากัน ทาให้สินค้านาเข้ามีราคาสูงผู้บริโภคต้องหันมาซื้อสินค้าที่ผลิตได้ภายในประเทศ
แทน ช่วยให้การค้าภายในประเทศขยายตัว
                    2.2. การควบคุมโควต้าสินค้า คือการจากัดปริมาณสินค้านาเข้าเพื่อรักษาเงินตรา
ต่างประเทศ หรือเพื่อแก้ไขภาวะดุลการค้าที่ขาดดุล หรือเพื่อคุ้มครอง การผลิตภายในประเทศ
                    2.3. การควบคุมโควต้าการส่งออก เพื่อป้องกันการขาดแคลนสินค้ าภายในประเทศ หรือ
ประเทศผู้ส่งออกรายใหญ่อาจใช้วิธีนี้เพื่อบังคับให้ราคาสินค้าชนิดนั้นสูงขึ้นในตลาดโลก
                    2.4. ให้การอุดหนุนผู้ผลิตและผู้ส่งออก เพื่อคุ้มครองการผลิตภายในประเทศและส่งเสริม
การส่งสินค้าออกไปขายต่างประเทศ เช่น ยกเว้นภาษีสาหรับผู้ผลิตสินค้าส่งออก ลดค่าระวางและค่าขนส่ง
                    2.5. การใช้มาตรการอื่น ๆ เช่นกาหนดมาตรฐานคุณภาพของสินค้าเข้าไว้สูง เพื่อความ
ปลอดภัยด้านสุขภาพอนามัยของคนในประเทศ การควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
                    2.6. การห้ามนาเข้าสินค้าบางประเทศ ซึ่งเป็นมาตรการที่รุนแรงที่สุดในการ
ตอบโต้ทางการค้า โดยรัฐบาลของบางประเทศอาจกาหนดมาตรการการนาเข้าสินค้าบางประเภท




                                                                                                    10
ใบงานที่ 1 เรื่อง การค้าระหว่างประเทศ



คาสั่ง ให้นักเรียนเขียนคาตอบลงในช่องว่างถึงสาเหตุและประโยชน์ของการค้า


      เพราะเหตุใดจึงต้องมีการค้า
           ระหว่างประเทศ




     จากการค้าระหว่างประเทศให้
    ประโยชน์อะไรกับประเทศเราบ้าง




                                                                        11
12
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง




1. บอกความหมาย ลักษณะของดุลการค้าและดุลการชาระเงินได้
2. แยกประเภทดุลการค้าและดุลการชาระเงินได้
3. อัตราแลกเปลี่ยนเงินระหว่างประเทศ
4. แยกประเภท ประโยชน์ และผลกระทบของการเคลื่อนย้ายเงินทุน




                                                           13
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
                                         ดุลการค้า



            ดุลการค้า ( balance of trade ) หมายถึง มูลค่าสุทธิที่ได้จากการนามูลค่าของสินค้าส่งออก
หักออกด้วยมูลค่าของสินค้านาเข้า ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งปกติใช้ระยะเวลา 1 ปี ดุลการค้าแบ่ง
ออกเป็น 3 ลักษณะ คือ
            ( 1 ) ดุลการค้าเกินดุล ( trade surplus ) หมาถึง การที่ประเทศส่งสินค้าออกเป็นมูลค่าสูงกว่า
มูลค่าสินค้านาเข้า
            ( 2 ) ดุลการค้าสมดุล ( trade balance ) หมายถึง การที่ประเทศส่งสินค้าออกเป็นมูลค่าเท่ากับ
มูลค่าสินค้านาเข้า
            ( 3 ) ดุลการค้าขาดดุล ( trade deficit ) หมายถึง การที่ประเทศส่งสินค้าออกเป็นมูลค่าต่ากว่า
มูลค่าสินค้านาเข้า




                                                                                                14
ดุลการชาระเงินระหว่างประเทศ หมายถึง รายการที่จะแสดงรายรับ และการจ่ายเงินตรา
ต่างประเทศจากการค้า การบริการ และการเงินของประเทศที่เกิดขึ้นจากการติดต่อกับประเทศอื่นในระยะเวลา
หนึ่ง ประกอบด้วยบัญชีย่อยคือ
           1. บัญชีเดินสะพัด ( capital accoun ) หมายถึง บัญชีที่บันทึกรายการซื้อขายสินค้าและบริการ
แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ
 -                  ดุลการค้า ( Balance of Trade) เป็นบัญชีที่แสดงให้เห็นถึงฐานะทางการค้าระหว่างประเทศ
ของประเทศใดประเทศหนึ่ง ประกอบด้วย การส่งออก (Export ) และการนาเข้า (Inport)
 -                  ดุลบริการ (Services Account) เป็นบัญชีที่บันทึกรายการประเภทดอกเบี้ยและเงินปั นผล
ค่าใช้จ่ายในการเดินทางท่องเที่ยว ค่าขนส่ง ค่าระวาง ค่าประกันภัย และอื่น ๆซึ่งได้รับจากการนาเงินทุนไป
ลงทุนยังต่างประเทศ
           2. บัญชีทุนเคลื่อนย้าย ( capital movement ) เป็นบัญชีที่แสดงถึงรายการการรับเข้าและการจ่าย
ออกของเงินตราต่างประเทศ เป็นการลงทุนระหว่างประเทศแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ
                  - การลงทุนทางตรง (Direct Investment ) เป็นการนาเงินไปลงทุน โดยผู้ลงทุนเข้าไป
ดาเนินการเอง และมีการนาเอาทรัพยากรในการผลิต แรงงาน เทคโนโลยีต่าง ๆ เข้าไปยังประเทศที่จะเข้าไป
ลงทุน
                  - การลงทุนทางอ้อม (Indirect Investment) เป็นการนาเงินทุนเข้าไปลงทุนเท่านั้น หรือ
การฝากเงินในธนาคารต่างประเทศ และรวมรายการให้กู้ยืมเงินระหว่างประเทศทั้งภาครัฐและเอกชน
           3. บัญชีเงินดุลบริจาค (unrequited transfer balance) และเงินโอน ( transfer balance) หมายถึง
เป็นบัญชีที่บันทึกรายการเงินโอนหรือเงินบริจาคระหว่างประเทศ หรือเป็นเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ
และการให้เงินช่วยเหลือแก่ต่างประเทศทั้งของเอกชนและของรัฐบาล ซึ่งจะอยู่ในรูปของการให้เปล่า




                                                                                               15
4. บัญชีทุนสารองระหว่างประเทศ ( reserve assets ) เป็นบัญชีเกินดุลเงินทุนสารองที่บันทึก
รายการทุนสารองของประเทศ (Official Reserves) ซึ่งเป็นตัวเลขที่แสดงฐานะทางการเงิน ความมั่นคงทาง
เศรษฐกิจของประเทศ คือ
                    - ถ้าประเทศมีทุนสารองอยู่ในระดับสูง ประเทศนั้นค่อนข้างจะมีเสถียรภาพภายนอกดี
                    - ถ้าประเทศที่มีทุนสารองอยู่ในระดับต่า ก็จะมีเสถียรภาพภายนอกไม่ดี
             เงินทุนสารองระหว่างประเทศ มักประกอบด้วย ทองคา สิทธิถอนเงินพิเศษ ( เงินที่ยอมรับกัน
ระหว่างประเทศ ) เงินตราต่างประเทศ และหลักทรัพย์อื่นๆ ที่ธนาคารกลางหรือธนาคารแห่งชาติถือไว้ โดย
ปกติบัญชีทุนสารองระหว่างประเทศจะแสดงรายการของเงินเข้า เงินออก ของทุนสารองระหว่างประเทศ อัน
เนื่องจากเป็นบัญชีที่ใช้ในการชดเชยจานวนที่แตกต่างกันระหว่างรายรับและการจ่ายเงินสุทธิจากการดาเนิน
ธุรกรรมระหว่างประเทศของบัญชีดังกล่าว คือ หากประเทศมีรายจ่ายมากกว่ารายรับ แสดงว่าประเทศนั้นมี
ภาระผูกพันที่จะต้องชาระหนี้ให้กับต่างประเทศ ดังนั้นจึงต้องจ่ายทุนสารองระหว่างประเทศออกไปเพื่อ
ชาระหนี้ ในทางตรงข้าม หากรายการ รายรับมากกว่ารายการ รายจ่าย ประเทศนั้นก็จะได้รับจ่ายชาระหนี้
เป็นเงินตราต่างประเทศ

         ลักษณะของดุลการชาระเงิน
             1. ดุลการชาระเงินสมดุล คือ ยอดรายรับเงินตราต่างประเทศเท่ากับยอดรายจ่ายเงินตรา
ต่างประเทศ
             2. ดุลการชาระเงินขาดดุล คือ ยอดรายรับเงินตราต่างประเทศน้อยกว่ายอดรายจ่ายเงินตรา
ต่างประเทศ
             3. ดุลการชาระเงินเกินดุล คือยอดรายรับเงินตราต่างประเทศมากกว่ายอดรายจ่ายเงินตรา
ต่างประเทศ

            ดุลการชาระเงิน กับทุนสารองระหว่างประเทศ
               ทุนสารองระหว่างประเทศ คือทรัพย์สินของประเทศ ประกอบด้วยทองคา เงินตราต่างประเทศ
เช่น เงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกา เงินปอนด์สเตอร์ลิง ฯลฯ แต่ละประเทศจะมีทุนสารองระหว่างประเทศไว้เพื่อ
               1. ใช้เป็นทุนสารองเงินตราส่วนหนึ่ง ถ้าเราส่งสินค้าไปขายได้เงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกามาก
ขึ้น เราก็จะมีทุนสารองมากขึ้น รัฐบาลก็สามารถพิมพ์ธนบัตรออกใช้จ่ายหมุนเวียนได้มากขึ้น
               2. ใช้เป็นทุนรักษาระดับอัตราการแลกเปลี่ยนและเสถียรภาพทางการเงินให้มั่นคง
               3. ใช้เป็นทุนหมุนเวียนสาหรับชาระเงินให้กับต่างประเทศ ถ้ามีทุนสารองมากขึ้นก็สามารถ
ซื้อสินค้าเข้าได้มากขึ้น




                                                                                            16
การแก้ไขดุลการชาระเงินขาดดุล
                   ถ้าประเทศใดมีดุลการชาระเงินขาดดุลติดต่อกันนาน ๆ ประเทศนั้นจะไม่มีเงินสั่งสินค้าเข้า
ทาให้การค้าระหว่างประเทศชะงักงัน จึงต้องหาทางแก้ไข คือ
              1. ลดการสั่งซื้อสินค้าเข้า ให้น้อยลง เช่น ห้ามนาเข้า หรือจากัดการนาเข้า การตั้งกาแพงภาษี
              2. ส่งสินค้าออกให้มากขึ้น โดยลดภาษีขาออก หรือให้เงินช่วยเหลือผู้ส่งออก
              3. ส่งเสริมชักจูงให้ชาติเข้ามาท่องเที่ยวและการลงทุนจากต่างชาติให้มากขึ้น
              4. ส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักประหยัดในการใช้จ่าย ลดการบริโภคสินค้าฟุ่มเฟือยที่สั่งเข้ามาก
              5. ใช้มาตรการลดรายจ่ายภาครัฐบาลและลดการขาดดุลในงบประมาณประจาปีของรัฐบาลลง
              6. การแก้ไขปัญหาดุลการชาระเงินอาจทาได้โดยการปรับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ในประเทศ เพื่อให้
เงินกู้ไหลเข้ามาหรือป้องกันไม่ให้เงินไหลออก
              7. การกู้ยืมจากต่างประเทศ เพื่อนามาแก้ปัญหาดุลการชาระเงิน



                              อัตราแลกเปลี่ยนเงินระหว่างประเทศ

            ความหมาย
                อัตราแลกเปลี่ยนเงินระหว่างประเทศ หมายถึง การเปรียบเทียบค่า หรือราคาของเงินตรา
สกุลหนึ่งกับเงินตราอีกสกุลหนึ่ง เนื่องด้วยแต่ละประเทศก็มีเงินตราสกุลท้องถิ่นของตน เมื่อมีการค้าขาย
ติดต่อระหว่างกัน จาเป็นต้ องเทียบค่าของเงินตราท้องถิ่นกับเงินตราสกุลหลัก เช่น เงินดอลลาร์สหัฐ
ปอนด์เตอร์ลิง เงินมาร์กของเยอรมัน ฟรังก์ฝรั่งเศส
        อัตราแลกเปลี่ยนมีทั้งอัตราซื้อและอัตราขาย เนื่องจากธนาคารพาณิชย์ที่ให้บริการแลกเปลี่ยนเงินตรา
ต่างประเทศ จะได้ผลกาไรจากส่วนต่างของราคาซื้อกับราคาขาย (อัตราซื้อมีราคาต่ากว่าอัตราขาย)

           การกาหนดอัตราแลกเปลี่ยน
                 เงินบาทมีมูลค่าเป็นเท่าไรเมื่อเทียบกับเงินตราต่างประเทศ ขึ้นอยู่กับอุปสงค์ และอุปทานใน
เงินตราต่างประเทศ (เงินดอลลาร์สหรัฐ) ที่มีอยู่ในขณะนั้นสรุปได้ดังนี้
           1. อุปสงค์ของเงินตราต่างประเทศ คือปริมาณการซื้อเงินสกุลต่างประเทศของประชาชนในเวลา
ใดเวลาหนึ่ง ในระดับอัตราแลกเปลี่ยนต่าง ๆกัน
           2. อุปทานของเงินตราต่างประเทศ คือ ปริมาณเงินตราต่างประเทศที่มีผู้นามาเสนอขายในช่วงเวลา
ใดเวลาหนึ่ง ในระดับอัตราแลกเปลี่ยนต่างๆ กัน



                                                                                                 17
3. อัตราแลกเปลี่ยนดุลยภาพ เป็นอัตราที่เหมาะสม เกิดขึ้นเมื่อ อุปสงค์ของเงินตราต่างประเทศ
เท่ากับ อุปทานของเงินตราต่างประเทศ หรือจานวนเงินดอลลาร์สหรัฐ ที่มีผู้ซื้อ เท่ากับปริมาณเงินดอลลาร์
สหรัฐ ที่มีผู้เสนอขาย ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง

        ระบบอัตราแลกเปลี่ยน
              หมายถึง ราคาของเงินตราสกุลท้องถิ่น เมื่อเทียบกับเงินตราสกุลต่างประเทศ เช่น เงิน 37.90
บาท เท่ากับ 100 เยน แยกได้ดังนี้
           1. ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่ เป็นระบบที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้อย่างเสรีเพราะรัฐบาล
จะควบคุมไว้ โดยกาหนดอัตราให้คงที่ไว้กับเงินสกุลหนึ่ง เช่น ดอลลาร์สหรัฐ ปอนด์สเตอริง “ค่าคงที่”
ที่กาหนดขึ้น เรียกว่า ค่าเสมอภาค โดยรัฐบาลจะเป็นผู้ปรับเปลี่ยนเมื่อเห็นว่าเหมาะสม
          2. ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว เป็นระบบอัตราแลกเปลี่ยนที่เคลื่อนไหวขึ้นลงได้โดยเสรี
เปลี่ยนแปลงได้ตามอุปสงค์ อุปทานของเงินตราต่างประเทศ โดยรัฐจะไม่เข้าไปแทรกแซง หรือแทรกแซง
แต่น้อยเท่าที่จาเป็น ในปัจจุบันระบบนี้ยังแยกได้ เป็น 2 ระบบ คือ
               2.1 ระบบลอยตัวเสรี เป็นระบบที่ปล่อยให้อัตราแลกเปลี่ยนเป็นไปตามกลไกตลาดมากที่สุด
(อุปสงค์และอุปทานของเงินตราต่างประเทศ) อัตราแลกเปลี่ยนจึงเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา รัฐบาลจะไม่
เข้ามาควบคุม แต่ธนาคารกลางอาจจะเข้าแทรกแซงได้บ้างเล็กน้อย
               2.2 ระบบลอยตัวภายใต้การจัดการ มีลักษณะเหมือนกับระบบลอยตัวเสรี แต่ธนาคารกลาง
(ธนาคารแห่งชาติ) จะเข้าแทรกแซงตลาดให้เป็นไปตามทิศทางที่ต้องการ ซึ่งในปัจจุบันประเทศส่วนใหญ่
ใช้ระบบนี้ เพื่อควบคุมอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศให้มีเสถียรภาพ




                                                                                            18
หมายถึง การที่ประเทศใดประเทศหนึ่งนาเงินไปลงทุนในอีกประเทศหนึ่ง โดยทาให้เกิดผล
ได้ 2 ลักษณะ คือ



                              การเคลื่อนย้ายเงินทุน




         เงินทุนไหลเข้า คือ การที่                    เงินทุนไหลออก คือ การที่
         ชาวต่างชาตินาเงินเข้ามา                      คนในประเทศนาเงินออกไป
         ลงทุนในประเทศ หรือ                           ลงทุนในต่างประเทศ หรือ
         ปล่อยให้สินเชื่อให้แก่ธุรกิจ                 ปล่อยสินเชื่อให้แก่ธุรกิจใน
         ของคนไทย                                     ประเทศเพื่อนบ้าน




                                                                                      19
ประเภทของการเคลื่อนย้ายเงินทุน
           1. การลงทุนทางตรง คือ การที่ชาวต่างประเทศนาเงินตราเข้ามาลงทุนและเป็นเจ้าของธุรกิจ
บริการ หรืออุตสาหกรรมในประเทศนั้น ๆ ข้าวของทุนมีอานาจในการบริหารกิจการโดยตรง ซึ่งมีลักษณะ
เป็นการลงทุนระยะยาว ก่อให้เกิดการจ้างงาน โดยแรงงานเจ้าของประเทศ และมีการนาเทคโนโลยีสมัยใหม่
เข้ามาใช้ในประเทศที่มาลงทุนด้วย
           2. การลงทุนทางอ้อม คือ การที่ต่างชาตินาเงินเข้ามาลงทุนซื้ อหุ้นหรือหลักทรัพย์ แต่ไม่ได้มีสิทธิ
โดยตรงในการบริหารกิจการนั้น เพราะเป็นการลงทุนระยะสั้น เนื่องจากการลงทุนประเภทนี้มักลงทุนเพื่อ
ต้องการแสวงหากาไรในรูปแบบต่าง เช่นฝากธนาคาร ให้กู้ยืมเงิน
            3. เงินกู้ต่างประเทศ คือ การที่รัฐบาลหรือบริษัทเอกชนที่กู้ยืมเงินจากต่างประเทศ โดยให้
ค่าตอบแทนในรูปอัตราดอกเบี้ย เช่น ขายพันธบัตรให้ชาวต่างประเทศ หรือกู้ยืมเงินจากธนาคารใน
ต่างประเทศ ซึ่งมีทั้งกู้ยืมระยะสั้น ต้องใช้คืนไม่เกิน 1 ปี และกู้ยืมระยะยาวต้องใช้คืนเกินกว่า 1 ปีขึ้นไป

       ประโยชน์ของการเคลื่อนย้ายเงินทุน
         ประเทศที่รับการลงทุนจากต่างประเทศส่วนใหญ่จะเป็นประเทศกาลังพัฒนา ซึ่งจะได้รับ
ประโยชน์ ทางอ้อม ดังนี้
         1. เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เพื่อเอกชนได้ขยายกิจการในด้านต่าง ๆ เกิดการจ้างงาน ทาให้
ประชาชนมีงานทา มีรายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น
         2. ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้น เพราะมีรายได้สูงขึ้น
         3. การเพิ่มมูลค่าในทรัพยากรและวัตถุดิบในท้องถิ่น เพราะมีการใช้วัตถุดิบหรือผลผลิตทาง
การเกษตรในท้องถิ่น มาแปรรูปเป็นสินค้าสาเร็จรูป เป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรผู้ผลิตโดยตรง
         4. ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี การผลิตจากต่างประเทศที่เข้ามาลงทุน ซึ่งเป็นผลดีต่อการ
พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศระยะยาว




                                                                                                   20
ผลกระทบของการเคลื่อนย้ายเงินทุน
             การลงทุนระหว่างประเทศ โดยเฉพาะการลงทุนทางตรงเป็นผลดีทาให้เกิดการขยายตัวทาง
เศรษฐกิจและการจ้างงาน แต่อาจเกิดผลกระทบหรือผลเสียต่อประเทศกาลังพัฒนาหลายประการ คือ
             1. การแข่งขัน กับผู้ประกอบการ เจ้าของประเทศอย่างไม่ เป็นธรรม เพราะบริษัทต่างชาติเป็น
ธุรกิจขนาดใหญ่ มีกาลังทุน และเทคโนโลยีที่ทันสมัยมากกว่า จึงสามารถแย่งลูกค้าจากผู้ประกอบการ
ท้องถิ่นได้
              2. การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นอย่างสิ้นเปลือง และเกิดปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อม
              3. ปัญหาการจ้างงาน เนื่องจากมีนักลงทุนต่างชาตินิยมใช้เครื่องจักรและเทคโนโลยี ในการผลิต
มากกว่าแรงงาน
              4. การขาดดุลการค้า เพราะการลงทุนของต่างชาติ จะนาเข้าสินค้าประเภททุน เช่น เครื่องจักร
น้ามันเชื้อเพลิง และวัตถุดิบในการผลิตจานวนมาก จึงไม่ได้ช่วยแก้ปัญหาการขาดดุลการค้าตามที่หวังไว้




                                                                                              21
ใบงานที่ 2 เรื่อง ดุลการค้า และการชาระเงิน




คาสั่ง ให้นักเรียนอ่านข้อความต่อไปนี้ แล้ววิเคราะห์ว่าบุคคลในเหตุการณ์เมื่อต้องมี
        การติดต่อ หรือ เกี่ยวข้องกับประเทศนั้น ๆ เขาต้องแลกเงินให้เป็นเงินสกุลใด


       1 . พงษ์พันธ์ต้องเดินทางไปติดต่อธุรกิจกับหลายๆ ประเทศในทวีปยุโรป
                               เขาต้องใช้เงินสกุลใด




                                                       ............................




                            2. การเคลื่อนย้ายเงินทุน มีกี่ประเภท อะไรบ้าง




        1. ...........................................................................................................
           ...........................................................................................................
        2. ...........................................................................................................
           ……………………………..……………………………………….
        3. ...........................................................................................................
           ...........................................................................................................


                                                                                                                         22
3. การลงทุนทางตรงที่นักลงทุนต่างชาติเข้ามาลงทุนในไทย
                              มีผลดี และผลเสียอย่างไร




ผลดี …………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
ผลเสีย ……………………………………………….....................................................
..........................................................................................................................................
…………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………….........................................................




                                                                                                                                             23
บรรณานุกรม




จุฑา มนัสไพบูลย์ และบุษบา คุณาศิรินทร์. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานเศรษฐศาสตร์
       ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ(พว.),
        2548. หน้า 44 – 61.
เดือน คาดี และคณะ. หนังสือเรียนสมบูรณ์แบบ สังคมศึกษาสมบูรณ์แบบ ส 606. กรุงเทพ ฯ :
       วัฒนาพานิชช จากัด, 2542. หน้า 192-198.
มณีรัตน กองลัพท์ และสุวัฒนา กิตติวิริยกุล. สัมฤทธิ์มาตรฐาน 5 เศรษฐศาสตร์
        ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. กรุงเทพ ฯ: อักษรเจริญทัศน์, หน้า 82-95.
เอนก เธียรถาวร และอุทิศ ขาวเธียร. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานเศรษฐศาสตร์
        ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช, 2547. หน้า 14 – 18.




                                                                                          24

Contenu connexe

Tendances

แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3suchinmam
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2พัน พัน
 
ทิปโก้
ทิปโก้ทิปโก้
ทิปโก้rmutk
 
การเตรียมความพร้อมสู่ AEC
การเตรียมความพร้อมสู่  AECการเตรียมความพร้อมสู่  AEC
การเตรียมความพร้อมสู่ AECNopporn Thepsithar
 
แผ่นพับสังคม
แผ่นพับสังคมแผ่นพับสังคม
แผ่นพับสังคมKantida SilverSoul
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต1707253417072534
 
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศการพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่าคู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่าSompop Petkleang
 
การพัฒนาและการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนในต่างประเทศ
การพัฒนาและการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนในต่างประเทศการพัฒนาและการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนในต่างประเทศ
การพัฒนาและการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนในต่างประเทศDr.Choen Krainara
 
การประสานประโยชน์
การประสานประโยชน์การประสานประโยชน์
การประสานประโยชน์Pareeya Jeenpradab
 
Thai riceproject new zealand host market
Thai riceproject new zealand host market Thai riceproject new zealand host market
Thai riceproject new zealand host market prapawee
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงyeen_28175
 
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศtumetr1
 

Tendances (18)

แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
ทิปโก้
ทิปโก้ทิปโก้
ทิปโก้
 
การเตรียมความพร้อมสู่ AEC
การเตรียมความพร้อมสู่  AECการเตรียมความพร้อมสู่  AEC
การเตรียมความพร้อมสู่ AEC
 
แผ่นพับสังคม
แผ่นพับสังคมแผ่นพับสังคม
แผ่นพับสังคม
 
Get attachment
Get attachmentGet attachment
Get attachment
 
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
Economic Environment #Ch.2 (Global Marketing)
 
Ppt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิตPpt ปัจจัยการผลิต
Ppt ปัจจัยการผลิต
 
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศการพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
การพํมนาเศรษฐกิจและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
 
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่าคู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
 
การพัฒนาและการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนในต่างประเทศ
การพัฒนาและการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนในต่างประเทศการพัฒนาและการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนในต่างประเทศ
การพัฒนาและการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนในต่างประเทศ
 
ASEAN marketing
ASEAN marketingASEAN marketing
ASEAN marketing
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
การประสานประโยชน์
การประสานประโยชน์การประสานประโยชน์
การประสานประโยชน์
 
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)Global Market Entry Strategies (Ch.5)
Global Market Entry Strategies (Ch.5)
 
Thai riceproject new zealand host market
Thai riceproject new zealand host market Thai riceproject new zealand host market
Thai riceproject new zealand host market
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
เศรษฐศาสตร์ระหว่างประเทศ
 

En vedette

บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์koorimkhong
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101spk906
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐนันทนา วงศ์สมิตกุล
 
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงหน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงdp130233
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์Pazalulla Ing Chelsea
 

En vedette (10)

บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
รายวิชาสังคมศึกษาพื้นฐาน รหัสวิชา ส 21101
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระเศรษฐ
 
ใบ000
ใบ000ใบ000
ใบ000
 
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงหน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 

Similaire à เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ

Pretiontation Doc
Pretiontation DocPretiontation Doc
Pretiontation Docmaovkh
 
ชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติthnaporn999
 
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาThammasat University
 
Book 50 คำถาม
Book 50 คำถามBook 50 คำถาม
Book 50 คำถามsammychimrueng
 
Interfinancespecial
InterfinancespecialInterfinancespecial
Interfinancespecialmaovkh
 
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรAec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรUtai Sukviwatsirikul
 
XM603 Xmba25 G5 1of 2
XM603 Xmba25 G5 1of 2XM603 Xmba25 G5 1of 2
XM603 Xmba25 G5 1of 2kimhongpon
 
International Finance Doc
International Finance DocInternational Finance Doc
International Finance Docmaovkh
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์Krumai Kjna
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกsupatra39
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกsupatra39
 
งานนำเสนอbm702
งานนำเสนอbm702งานนำเสนอbm702
งานนำเสนอbm702Tanapon_V
 

Similaire à เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ (20)

2
22
2
 
Pretiontation Doc
Pretiontation DocPretiontation Doc
Pretiontation Doc
 
Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
Economy ppt-05
Economy ppt-05Economy ppt-05
Economy ppt-05
 
ชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติ
 
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกาบทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
บทบาทมหาอำนาจโลกของสหรัฐอเมริกา
 
Book 50 คำถาม
Book 50 คำถามBook 50 คำถาม
Book 50 คำถาม
 
Introgecon
IntrogeconIntrogecon
Introgecon
 
Interfinancespecial
InterfinancespecialInterfinancespecial
Interfinancespecial
 
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไรAec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
Aec ประเทศเราจะได้รับประโยชน์อะไร
 
XM603 Xmba25 G5 1of 2
XM603 Xmba25 G5 1of 2XM603 Xmba25 G5 1of 2
XM603 Xmba25 G5 1of 2
 
International Finance Doc
International Finance DocInternational Finance Doc
International Finance Doc
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีกเรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
เรื่องที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารการค้าปลีก
 
งานนำเสนอbm702
งานนำเสนอbm702งานนำเสนอbm702
งานนำเสนอbm702
 

Plus de thnaporn999

รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมthnaporn999
 
บริษัท
บริษัทบริษัท
บริษัทthnaporn999
 
ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนthnaporn999
 
ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์thnaporn999
 
ธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยthnaporn999
 
ชุด เจ้าของเดียว
ชุด เจ้าของเดียวชุด เจ้าของเดียว
ชุด เจ้าของเดียวthnaporn999
 
สาระเศรษฐศาสตร์
สาระเศรษฐศาสตร์สาระเศรษฐศาสตร์
สาระเศรษฐศาสตร์thnaporn999
 
ชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทานชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทานthnaporn999
 
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านthnaporn999
 
ชุด รัฐวิสาหกิจ
ชุด รัฐวิสาหกิจชุด รัฐวิสาหกิจ
ชุด รัฐวิสาหกิจthnaporn999
 
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์thnaporn999
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
อุปสงค์ อุปทาน
อุปสงค์ อุปทานอุปสงค์ อุปทาน
อุปสงค์ อุปทานthnaporn999
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามthnaporn999
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์thnaporn999
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์thnaporn999
 
พราหมณ์
พราหมณ์พราหมณ์
พราหมณ์thnaporn999
 

Plus de thnaporn999 (20)

รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
บริษัท
บริษัทบริษัท
บริษัท
 
ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วน
 
ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์
 
ธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อย
 
ชุด เจ้าของเดียว
ชุด เจ้าของเดียวชุด เจ้าของเดียว
ชุด เจ้าของเดียว
 
สาระเศรษฐศาสตร์
สาระเศรษฐศาสตร์สาระเศรษฐศาสตร์
สาระเศรษฐศาสตร์
 
ชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทานชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทาน
 
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
 
ชุด รัฐวิสาหกิจ
ชุด รัฐวิสาหกิจชุด รัฐวิสาหกิจ
ชุด รัฐวิสาหกิจ
 
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
อุปสงค์ อุปทาน
อุปสงค์ อุปทานอุปสงค์ อุปทาน
อุปสงค์ อุปทาน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ฮินดู
ฮินดูฮินดู
ฮินดู
 
พราหมณ์
พราหมณ์พราหมณ์
พราหมณ์
 

เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ

  • 1. จัดทาโดย นางสาวธนาพร เหรียญทอง โรงเรียนปิยะบุตร์ อาเภอบ้านหมี่ จังหวัดลพบุรี สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาลพบุรี เขต 1 1
  • 2. คาชี้แจงในการใช้เอกสารประกอบการเรียน เอกสารประกอบการเรียนรายวิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม (สาระเศรษฐศาสตร์) ส32102 เรื่องเศรษฐกิจระหว่างประเทศ จัดทาขึ้นเพื่อเป็นหนังสือ และคู่มือในการสอนของครูโดย ได้จัดกระบวนการไว้ในคู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งแบ่งเนื้อหาไว้เป็น 2 ชุด คือ เอกสารชุดที่ 1 เรื่อง เศรษฐกิจระหว่างประเทศ เอกสารชุดที่ 2 เรื่องดุลการชาระเงินต่างประเทศ เพื่อให้การใช้เอกสารประกอบการเรียนบรรลุตามผลการเรียนที่คาดหวัง จึงขอให้นักเรียน ดาเนินการในการใช้เอกสารประกอบการเรียนดังนี้ 1. ให้นักเรียนอ่านผลการเรียนที่คาดหวัง 2. ให้ศึกษาเอกสารประกอบการเรียนแต่ละชุดตามที่ได้จัดไว้ ให้เข้าใจ (ขั้นตอนการเรียนตามคู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้) 3. ทาใบงานที่กาหนดไว้ในเอกสารประกอบการเรียน 4. ควรทาแบบทดสอบก่อนเรียนเมื่อเริ่มเรียน และทดสอบหลังเรียนเมื่อจบการเรียนทุกครั้ง เพื่อทาให้ทราบความก้าวหน้าทางการเรียนของนักเรียน (ในคู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้) 5. ประเมินตนเองโดยตรวจคาตอบจากแนวการตอบใบงาน 2
  • 3. เนื้อหาสาคัญของเอกสารประกอบการเรียน เนื้อหา ชุดที่ 1 1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ความหมายของการค้าระหว่างประเทศ สาเหตุที่มีการค้าระหว่างประเทศ ประโยชน์ของการค้าระหว่างประเทศ 2. นโยบายการค้าระหว่างประเทศ นโยบายการค้าเสรี นโยบายการค้าแบบคุ้มกัน ชุดที่2 3. ดุลการค้า และการชาระเงิน ความหมายของดุลการค้า และการชาระเงิน ลักษณะของดุลการชาระเงินประโยชน์ของการค้า 4. อัตราแลกเปลี่ยนเงินระหว่างประเทศ ความหมายการกาหนดอัตราแลกเปลี่ยน ระบบอัตราแลกเปลี่ยน การเคลื่อนย้ายเงินทุน ประเภทของการเคลื่อนย้ายเงินทุน ประโยชน์ของการเคลื่อนย้ายเงินทุน 3
  • 4. 4
  • 5. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. บอกความหมาย สาเหตุของเศรษฐกิจระหว่างประเทศ 2. บอกประโยชน์ที่ได้รับจากการค้าระหว่างประเทศ 3. เปรียบเทียบนโยบายทางการค้าระหว่างประเทศ 5
  • 6. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ เศรษฐกิจระหว่างประเทศ เศรษฐกิจระหว่างประเทศครอบคลุมถึงเรื่องต่างๆซึ่งประกอบด้วยการขายสินค้าและบริการ การเงินระหว่างประเทศ การเคลื่อนย้ายทุนและแรงงานการซื้อขายหุ้น พันธบัตร ธนบัตร และทรัพย์สิน ทางการเงินระหว่างประเทศ รวมถึงการใช้นโยบายเพื่อการแก้ปัญหาเศรษฐกิจระหว่างประเทศด้วย ความหมายของการค้าระหว่างประเทศ การค้าระหว่างประเทศ หมายถึง การแลกเปลี่ยนสินค้าและบริการต่างๆระหว่างประเทศที่ทา การค้าระหว่างกัน เรียกประเทศคู่ค้าสินค้าที่แต่ละประเทศซื้อ เรียกว่ า สินค้าเข้า (imports) และสินค้า ที่แต่ละประเทศขาย เรียกว่า สินค้าออก (exports) ประเทศที่ซื้อสินค้าจากต่างประเทศ เรียกว่า ประเทศ ผู้นาเข้า ( imports country หรือimportes) ส่วนประเทศที่ขายสินค้าให้กับประเทศอื่น เรียกว่า ประเทศ ผู้ส่งออกสินค้า (exports countryหรือ exporter ) โดยทั่วไปแล้วแต่ละประเทศจะมีฐานะเป็นทั้งประเทศ ผู้นาเข้าสินค้าและผู้ส่งสินค้าออก ในเวลาเดียวกันเพราะประเทศต่างๆมีการผลิตสินค้าแตกต่างกัน เช่น ประเทศไทยส่งสินค้าการเกษตรไปขายญี่ปุ่น และสั่งซื้อเครื่องมือเครื่องจักรจากญี่ปุ่น 6
  • 7. 1. ความแตกต่างทางภูมิศาสตร์ การที่ประเทศต่างๆ มีทาเลที่ตั้ง สภาพดินฟ้าอากาศที่แตกต่าง กันทาให้โอกาสในการผลิตสินค้ามีความแตกต่างกัน 2. ความแตกต่างทางทรัพยากรธรรมชาติ ประเทศต่างๆมีทรัพยากรที่ใช้ในการผลิตแต่ละชนิดที่ แตกต่างกัน เช่น ไทยเหมาะแก่การเพาะปลูก คูเวตมีน้ามันมากกว่าไทย 3. ความชานาญในการผลิตเฉพาะที่แตกต่างกันในแต่ละประเทศ เช่น ไทยมีความเชี่ยวชาญใน การผลิตสินค้าเกษตรมากกว่าคูเวต ในขณะที่คูเวตมีความเชี่ยวชาญในการผลิตน้ามันมากกว่าไทย ประโยชน์ของการค้าระหว่างประเทศ 1. มีสินค้าสนองความต้องการ สินค้าใดที่ผลิตในประเทศหนึ่งไม่ได้ ก็สามารถซื้อหาจาก ประเทศอื่นได้ ทาให้แต่ละประเทศมีสินค้าเพียงพอต่อความต้องการ 2. มีการค้าขายแลกเปลี่ยนกัน สินค้าใดถ้าจะผลิตได้ในประเทศแต่มีต้นทุนสูงเมื่อเทียบกับ ประเทศอื่น ประเทศนั้นก็จะไม่ผลิต แต่จะเลือกผลิตแต่สินค้าที่มีต้นทุนต่ากว่าและมีความถนัด แล้วส่งไปขายแลกเปลี่ยนกัน เราจะได้สินค้าที่มีคุณภาพดีและราคาถูกกว่าที่จะผลิตเอง 3. มีความรู้ความชานาญในการผลิต การค้าระหว่างประเทศก่อให้เกิดความรู้ความชานาญใน การผลิตเฉพาะอย่างตามความถนัด ทาให้มีแรงจูงใจที่จะคิดค้นเทคนิคการผลิตให้ได้คุณภาพและราคาต่าลง 4. มีการผลิตที่ทันสมัย ช่วยให้ประเทศกาลังพัฒนาได้แบบอย่างการผลิตที่ทันสมัยขึ้น สามารถ นาทรัพยากรที่มีอยู่มาใช้ผลิตเพื่อส่งออกได้มากขึ้น 5. มีเทคโนโลยีการผลิตที่ก้าวหน้า ทาให้ประเทศกาลังพัฒนารู้จักใช้เทคโนโลยีจากต่างประเทศ เพื่อพัฒนาประเทศให้เจริญขึ้น เช่น ปรับปรุงการผลิต ปรับปรุง ที่อยู่อาศัย พัฒนาถนนและพลังงานต่างๆ 7
  • 8. นโยบายการค้าระหว่างประเทศ นโยบายการค้าระหว่างประเทศ ( International Trade Policy) หมายถึง วิธีการปฎิบัติที่แต่ละ ประเทศใช้ในการนาสินค้าเข้าและส่งสินค้าออก จึงแบ่งได้ 2 แบบ ดังนี้ 1. นโยบายการค้าเสรี ( Free Trade Policy) เป็นนโยบายการค้าที่ไม่มีข้อจากัดใดๆ ประเทศที่ถือ นโยบายการค้าเสรี ต้องอยู่ในเงื่อนไข ดังนี้ 1.) ต้องดาเนินการผลิตตามหลักการแบ่งงาน คือ ทุกประเทศจะต้องเลือกผลิตเฉพาะที่มี ประสิทธิภาพการผลิตสูง 2.) ไม่ว่าจะเป็นการเก็บภาษี หรือมีการเก็บภาษีแต่น้อย โดยไม่มีจุดมุ่งหมายให้เกิดความได้ เปรียบเสียเปรียบ 3.) ต้องไม่มีการให้สิทธิพิเศษ และไม่มีข้อจากัดทางการค้ากับประเทศต่าง ๆ ประโยชน์ที่เกิดจากการค้าเสรี 1. เพิ่มรายได้ประชาชาติและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เมื่อมีรายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น ย่อมทาให้ระดับการออมเพิ่มขึ้น และก่อให้เกิดการขยายตัวในการลงทุน 2. การประสานความร่วมมือทางการเมือง ทาให้แต่ละประเทศมีการพึ่งพาอาศัยกันหรือช่วยเหลือ ร่วมมือกัน 3. พัฒนาด้านสังคมและวัฒนธรรม การแลกเปลี่ยนทางการค้าก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยน วัฒนธรรมซึ่งกันและกัน 8
  • 9. ข้อจากัดของนโยบายการค้าเสรี ปัจจัยที่ทาให้เกิดข้อจากัดในการดาเนินนโยบายการค้าเสรีที่สาคัญ ได้แก่ 1. ภาวะเศรษฐกิจ บางประเทศที่มีการผลิต ซึ่งทาให้ภาวะเศรษฐกิจขาดเสถียรภาพ เนื่องจาก การผลิตต้องผันแปรตามปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้ 2. ภาวะการขาดดุลการค้า เกิดจากการสั่งซื้อสินค้าเข้ามากกว่าการส่งสินค้าออก ประเทศเหล่านั้น ต้องมีนโยบายสนับสนุนการส่งออกรัฐบาลอาจดาเนินนโยบายการค้าคุ้มกัน โดยการตั้งกาแพงภาษีนาเข้า เป็นต้น 3. ความแตกต่างของระบบการเมืองการปกครอง ซึ่งมีผลต่อการดาเนินนโยบายการค้าระหว่าง ประเทศที่แตกต่างกันด้วย 4. การรวมกลุ่มผลประโยชน์ทางการค้า มักเกิดการรวมกลุ่มของผู้ผลิตสินค้าที่มีความคล้ายคลึง กันเพื่อสร้างอานาจการต่อรองราคา ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการดาเนินนโยบายการค้าแบบเสรี 5. ภาวะสงคราม และภัยธรรมชาติ ย่อมทาให้การค้าระหว่างประเทศไม่สามารถดาเนินการได้ โดยเสรี เพราะการคมนาคมติดต่อได้ยาก ต้องมีการฟื้นฟูประเทศและเศรษฐกิจเมื่อสิ้นสุดสงคราม จากข้อจากัดดังกล่าง ทาให้รัฐบาลของประเทศต่าง ๆ อาจเลือกดาเนินนโยบายการค้าแบบคุ้มกัน 2. นโยบายการค้าแบบคุ้มกัน เป็นนโยบายที่รัฐเข้าไปมีบทบาทควบคุมการค้า ซึ่งมีทั้งการเก็บภาษี ศุลกากร การกาหนดโควตาทั้งในการส่งออกและนาเข้า การคุ้มกันทางการค้าของประเทศจะเป็นไปเพื่อ คุ้มครองอุตสาหกรรมภายในประเทศ 1. วัตถุประสงค์ของนโยบายการค้าแบบคุ้มกัน พอสรุปได้คือ 1.1 เพื่อให้ประเทศช่วยตนเองได้เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เช่นสงครามอาจทาให้ไม่มีสินค้า ที่จาเป็นบางอย่าง จึงต้องเตรียมผลิตสินค้าไว้สารอง 1.2 เพื่อคุ้มครองอุตสาหกรรมภายในประเทศ ถ้ารัฐไม่ห้ามสินค้าจากต่างประเทศเข้ามา ตีตลาด อุตสาหกรรมภายในจะต้องเลิกกิจการ 1.3 เพื่อป้องกันการทุ่มตลาด หมายถึง การส่งสินค้าไปขายประเทศอื่นในราคาที่ต่ากว่า ต้นทุนเพื่อทาลายคู่แข่งขันในตลาดต่างประเทศ 1.4 เพื่อแก้ปัญหาการขาดดุลการค้า หมายถึง มูลค่าสินค้าที่ส่งไปขายต่างประเทศน้อยกว่า มูลค้าสินค้าที่นาเข้ามา ทาให้ต้องเสียเงินตราต่างประเทศออกไปจานวนมาก จึงต้องแก้ไขโดยจากัดการนาเข้า และส่งเสริมการส่งออกให้มากขึ้น 9
  • 10. 2. เครื่องมือในการใช้นโยบายการค้าแบบคุ้มกัน รัฐบาลอาจใช้มาตรการต่าง ๆ เป็นเครื่องมือเพื่อ กีดกันการนาเข้าและส่งออกเช่น 2.1. การตั้งกาแพงสินค้า ( Tariff Wall ) โดยการเรียกเก็บภาษีจากสินค้าเข้าที่ต้องการจะกีด กันในอัตราสูงกว่าปกติ และเก็บภาษีอัตราเดียวกัน หรือเก็บอัตราภาษีหลายอัตรา ในแต่ละประเทศไม่เท่ากัน ทาให้สินค้านาเข้ามีราคาสูงผู้บริโภคต้องหันมาซื้อสินค้าที่ผลิตได้ภายในประเทศ แทน ช่วยให้การค้าภายในประเทศขยายตัว 2.2. การควบคุมโควต้าสินค้า คือการจากัดปริมาณสินค้านาเข้าเพื่อรักษาเงินตรา ต่างประเทศ หรือเพื่อแก้ไขภาวะดุลการค้าที่ขาดดุล หรือเพื่อคุ้มครอง การผลิตภายในประเทศ 2.3. การควบคุมโควต้าการส่งออก เพื่อป้องกันการขาดแคลนสินค้ าภายในประเทศ หรือ ประเทศผู้ส่งออกรายใหญ่อาจใช้วิธีนี้เพื่อบังคับให้ราคาสินค้าชนิดนั้นสูงขึ้นในตลาดโลก 2.4. ให้การอุดหนุนผู้ผลิตและผู้ส่งออก เพื่อคุ้มครองการผลิตภายในประเทศและส่งเสริม การส่งสินค้าออกไปขายต่างประเทศ เช่น ยกเว้นภาษีสาหรับผู้ผลิตสินค้าส่งออก ลดค่าระวางและค่าขนส่ง 2.5. การใช้มาตรการอื่น ๆ เช่นกาหนดมาตรฐานคุณภาพของสินค้าเข้าไว้สูง เพื่อความ ปลอดภัยด้านสุขภาพอนามัยของคนในประเทศ การควบคุมการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ 2.6. การห้ามนาเข้าสินค้าบางประเทศ ซึ่งเป็นมาตรการที่รุนแรงที่สุดในการ ตอบโต้ทางการค้า โดยรัฐบาลของบางประเทศอาจกาหนดมาตรการการนาเข้าสินค้าบางประเภท 10
  • 11. ใบงานที่ 1 เรื่อง การค้าระหว่างประเทศ คาสั่ง ให้นักเรียนเขียนคาตอบลงในช่องว่างถึงสาเหตุและประโยชน์ของการค้า เพราะเหตุใดจึงต้องมีการค้า ระหว่างประเทศ จากการค้าระหว่างประเทศให้ ประโยชน์อะไรกับประเทศเราบ้าง 11
  • 12. 12
  • 13. ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 1. บอกความหมาย ลักษณะของดุลการค้าและดุลการชาระเงินได้ 2. แยกประเภทดุลการค้าและดุลการชาระเงินได้ 3. อัตราแลกเปลี่ยนเงินระหว่างประเทศ 4. แยกประเภท ประโยชน์ และผลกระทบของการเคลื่อนย้ายเงินทุน 13
  • 14. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ดุลการค้า ดุลการค้า ( balance of trade ) หมายถึง มูลค่าสุทธิที่ได้จากการนามูลค่าของสินค้าส่งออก หักออกด้วยมูลค่าของสินค้านาเข้า ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ซึ่งปกติใช้ระยะเวลา 1 ปี ดุลการค้าแบ่ง ออกเป็น 3 ลักษณะ คือ ( 1 ) ดุลการค้าเกินดุล ( trade surplus ) หมาถึง การที่ประเทศส่งสินค้าออกเป็นมูลค่าสูงกว่า มูลค่าสินค้านาเข้า ( 2 ) ดุลการค้าสมดุล ( trade balance ) หมายถึง การที่ประเทศส่งสินค้าออกเป็นมูลค่าเท่ากับ มูลค่าสินค้านาเข้า ( 3 ) ดุลการค้าขาดดุล ( trade deficit ) หมายถึง การที่ประเทศส่งสินค้าออกเป็นมูลค่าต่ากว่า มูลค่าสินค้านาเข้า 14
  • 15. ดุลการชาระเงินระหว่างประเทศ หมายถึง รายการที่จะแสดงรายรับ และการจ่ายเงินตรา ต่างประเทศจากการค้า การบริการ และการเงินของประเทศที่เกิดขึ้นจากการติดต่อกับประเทศอื่นในระยะเวลา หนึ่ง ประกอบด้วยบัญชีย่อยคือ 1. บัญชีเดินสะพัด ( capital accoun ) หมายถึง บัญชีที่บันทึกรายการซื้อขายสินค้าและบริการ แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ - ดุลการค้า ( Balance of Trade) เป็นบัญชีที่แสดงให้เห็นถึงฐานะทางการค้าระหว่างประเทศ ของประเทศใดประเทศหนึ่ง ประกอบด้วย การส่งออก (Export ) และการนาเข้า (Inport) - ดุลบริการ (Services Account) เป็นบัญชีที่บันทึกรายการประเภทดอกเบี้ยและเงินปั นผล ค่าใช้จ่ายในการเดินทางท่องเที่ยว ค่าขนส่ง ค่าระวาง ค่าประกันภัย และอื่น ๆซึ่งได้รับจากการนาเงินทุนไป ลงทุนยังต่างประเทศ 2. บัญชีทุนเคลื่อนย้าย ( capital movement ) เป็นบัญชีที่แสดงถึงรายการการรับเข้าและการจ่าย ออกของเงินตราต่างประเทศ เป็นการลงทุนระหว่างประเทศแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ - การลงทุนทางตรง (Direct Investment ) เป็นการนาเงินไปลงทุน โดยผู้ลงทุนเข้าไป ดาเนินการเอง และมีการนาเอาทรัพยากรในการผลิต แรงงาน เทคโนโลยีต่าง ๆ เข้าไปยังประเทศที่จะเข้าไป ลงทุน - การลงทุนทางอ้อม (Indirect Investment) เป็นการนาเงินทุนเข้าไปลงทุนเท่านั้น หรือ การฝากเงินในธนาคารต่างประเทศ และรวมรายการให้กู้ยืมเงินระหว่างประเทศทั้งภาครัฐและเอกชน 3. บัญชีเงินดุลบริจาค (unrequited transfer balance) และเงินโอน ( transfer balance) หมายถึง เป็นบัญชีที่บันทึกรายการเงินโอนหรือเงินบริจาคระหว่างประเทศ หรือเป็นเงินช่วยเหลือจากต่างประเทศ และการให้เงินช่วยเหลือแก่ต่างประเทศทั้งของเอกชนและของรัฐบาล ซึ่งจะอยู่ในรูปของการให้เปล่า 15
  • 16. 4. บัญชีทุนสารองระหว่างประเทศ ( reserve assets ) เป็นบัญชีเกินดุลเงินทุนสารองที่บันทึก รายการทุนสารองของประเทศ (Official Reserves) ซึ่งเป็นตัวเลขที่แสดงฐานะทางการเงิน ความมั่นคงทาง เศรษฐกิจของประเทศ คือ - ถ้าประเทศมีทุนสารองอยู่ในระดับสูง ประเทศนั้นค่อนข้างจะมีเสถียรภาพภายนอกดี - ถ้าประเทศที่มีทุนสารองอยู่ในระดับต่า ก็จะมีเสถียรภาพภายนอกไม่ดี เงินทุนสารองระหว่างประเทศ มักประกอบด้วย ทองคา สิทธิถอนเงินพิเศษ ( เงินที่ยอมรับกัน ระหว่างประเทศ ) เงินตราต่างประเทศ และหลักทรัพย์อื่นๆ ที่ธนาคารกลางหรือธนาคารแห่งชาติถือไว้ โดย ปกติบัญชีทุนสารองระหว่างประเทศจะแสดงรายการของเงินเข้า เงินออก ของทุนสารองระหว่างประเทศ อัน เนื่องจากเป็นบัญชีที่ใช้ในการชดเชยจานวนที่แตกต่างกันระหว่างรายรับและการจ่ายเงินสุทธิจากการดาเนิน ธุรกรรมระหว่างประเทศของบัญชีดังกล่าว คือ หากประเทศมีรายจ่ายมากกว่ารายรับ แสดงว่าประเทศนั้นมี ภาระผูกพันที่จะต้องชาระหนี้ให้กับต่างประเทศ ดังนั้นจึงต้องจ่ายทุนสารองระหว่างประเทศออกไปเพื่อ ชาระหนี้ ในทางตรงข้าม หากรายการ รายรับมากกว่ารายการ รายจ่าย ประเทศนั้นก็จะได้รับจ่ายชาระหนี้ เป็นเงินตราต่างประเทศ ลักษณะของดุลการชาระเงิน 1. ดุลการชาระเงินสมดุล คือ ยอดรายรับเงินตราต่างประเทศเท่ากับยอดรายจ่ายเงินตรา ต่างประเทศ 2. ดุลการชาระเงินขาดดุล คือ ยอดรายรับเงินตราต่างประเทศน้อยกว่ายอดรายจ่ายเงินตรา ต่างประเทศ 3. ดุลการชาระเงินเกินดุล คือยอดรายรับเงินตราต่างประเทศมากกว่ายอดรายจ่ายเงินตรา ต่างประเทศ ดุลการชาระเงิน กับทุนสารองระหว่างประเทศ ทุนสารองระหว่างประเทศ คือทรัพย์สินของประเทศ ประกอบด้วยทองคา เงินตราต่างประเทศ เช่น เงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกา เงินปอนด์สเตอร์ลิง ฯลฯ แต่ละประเทศจะมีทุนสารองระหว่างประเทศไว้เพื่อ 1. ใช้เป็นทุนสารองเงินตราส่วนหนึ่ง ถ้าเราส่งสินค้าไปขายได้เงินดอลลาร์สหรัฐอเมริกามาก ขึ้น เราก็จะมีทุนสารองมากขึ้น รัฐบาลก็สามารถพิมพ์ธนบัตรออกใช้จ่ายหมุนเวียนได้มากขึ้น 2. ใช้เป็นทุนรักษาระดับอัตราการแลกเปลี่ยนและเสถียรภาพทางการเงินให้มั่นคง 3. ใช้เป็นทุนหมุนเวียนสาหรับชาระเงินให้กับต่างประเทศ ถ้ามีทุนสารองมากขึ้นก็สามารถ ซื้อสินค้าเข้าได้มากขึ้น 16
  • 17. การแก้ไขดุลการชาระเงินขาดดุล ถ้าประเทศใดมีดุลการชาระเงินขาดดุลติดต่อกันนาน ๆ ประเทศนั้นจะไม่มีเงินสั่งสินค้าเข้า ทาให้การค้าระหว่างประเทศชะงักงัน จึงต้องหาทางแก้ไข คือ 1. ลดการสั่งซื้อสินค้าเข้า ให้น้อยลง เช่น ห้ามนาเข้า หรือจากัดการนาเข้า การตั้งกาแพงภาษี 2. ส่งสินค้าออกให้มากขึ้น โดยลดภาษีขาออก หรือให้เงินช่วยเหลือผู้ส่งออก 3. ส่งเสริมชักจูงให้ชาติเข้ามาท่องเที่ยวและการลงทุนจากต่างชาติให้มากขึ้น 4. ส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักประหยัดในการใช้จ่าย ลดการบริโภคสินค้าฟุ่มเฟือยที่สั่งเข้ามาก 5. ใช้มาตรการลดรายจ่ายภาครัฐบาลและลดการขาดดุลในงบประมาณประจาปีของรัฐบาลลง 6. การแก้ไขปัญหาดุลการชาระเงินอาจทาได้โดยการปรับอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ในประเทศ เพื่อให้ เงินกู้ไหลเข้ามาหรือป้องกันไม่ให้เงินไหลออก 7. การกู้ยืมจากต่างประเทศ เพื่อนามาแก้ปัญหาดุลการชาระเงิน อัตราแลกเปลี่ยนเงินระหว่างประเทศ ความหมาย อัตราแลกเปลี่ยนเงินระหว่างประเทศ หมายถึง การเปรียบเทียบค่า หรือราคาของเงินตรา สกุลหนึ่งกับเงินตราอีกสกุลหนึ่ง เนื่องด้วยแต่ละประเทศก็มีเงินตราสกุลท้องถิ่นของตน เมื่อมีการค้าขาย ติดต่อระหว่างกัน จาเป็นต้ องเทียบค่าของเงินตราท้องถิ่นกับเงินตราสกุลหลัก เช่น เงินดอลลาร์สหัฐ ปอนด์เตอร์ลิง เงินมาร์กของเยอรมัน ฟรังก์ฝรั่งเศส อัตราแลกเปลี่ยนมีทั้งอัตราซื้อและอัตราขาย เนื่องจากธนาคารพาณิชย์ที่ให้บริการแลกเปลี่ยนเงินตรา ต่างประเทศ จะได้ผลกาไรจากส่วนต่างของราคาซื้อกับราคาขาย (อัตราซื้อมีราคาต่ากว่าอัตราขาย) การกาหนดอัตราแลกเปลี่ยน เงินบาทมีมูลค่าเป็นเท่าไรเมื่อเทียบกับเงินตราต่างประเทศ ขึ้นอยู่กับอุปสงค์ และอุปทานใน เงินตราต่างประเทศ (เงินดอลลาร์สหรัฐ) ที่มีอยู่ในขณะนั้นสรุปได้ดังนี้ 1. อุปสงค์ของเงินตราต่างประเทศ คือปริมาณการซื้อเงินสกุลต่างประเทศของประชาชนในเวลา ใดเวลาหนึ่ง ในระดับอัตราแลกเปลี่ยนต่าง ๆกัน 2. อุปทานของเงินตราต่างประเทศ คือ ปริมาณเงินตราต่างประเทศที่มีผู้นามาเสนอขายในช่วงเวลา ใดเวลาหนึ่ง ในระดับอัตราแลกเปลี่ยนต่างๆ กัน 17
  • 18. 3. อัตราแลกเปลี่ยนดุลยภาพ เป็นอัตราที่เหมาะสม เกิดขึ้นเมื่อ อุปสงค์ของเงินตราต่างประเทศ เท่ากับ อุปทานของเงินตราต่างประเทศ หรือจานวนเงินดอลลาร์สหรัฐ ที่มีผู้ซื้อ เท่ากับปริมาณเงินดอลลาร์ สหรัฐ ที่มีผู้เสนอขาย ในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง ระบบอัตราแลกเปลี่ยน หมายถึง ราคาของเงินตราสกุลท้องถิ่น เมื่อเทียบกับเงินตราสกุลต่างประเทศ เช่น เงิน 37.90 บาท เท่ากับ 100 เยน แยกได้ดังนี้ 1. ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบคงที่ เป็นระบบที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้อย่างเสรีเพราะรัฐบาล จะควบคุมไว้ โดยกาหนดอัตราให้คงที่ไว้กับเงินสกุลหนึ่ง เช่น ดอลลาร์สหรัฐ ปอนด์สเตอริง “ค่าคงที่” ที่กาหนดขึ้น เรียกว่า ค่าเสมอภาค โดยรัฐบาลจะเป็นผู้ปรับเปลี่ยนเมื่อเห็นว่าเหมาะสม 2. ระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบบลอยตัว เป็นระบบอัตราแลกเปลี่ยนที่เคลื่อนไหวขึ้นลงได้โดยเสรี เปลี่ยนแปลงได้ตามอุปสงค์ อุปทานของเงินตราต่างประเทศ โดยรัฐจะไม่เข้าไปแทรกแซง หรือแทรกแซง แต่น้อยเท่าที่จาเป็น ในปัจจุบันระบบนี้ยังแยกได้ เป็น 2 ระบบ คือ 2.1 ระบบลอยตัวเสรี เป็นระบบที่ปล่อยให้อัตราแลกเปลี่ยนเป็นไปตามกลไกตลาดมากที่สุด (อุปสงค์และอุปทานของเงินตราต่างประเทศ) อัตราแลกเปลี่ยนจึงเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา รัฐบาลจะไม่ เข้ามาควบคุม แต่ธนาคารกลางอาจจะเข้าแทรกแซงได้บ้างเล็กน้อย 2.2 ระบบลอยตัวภายใต้การจัดการ มีลักษณะเหมือนกับระบบลอยตัวเสรี แต่ธนาคารกลาง (ธนาคารแห่งชาติ) จะเข้าแทรกแซงตลาดให้เป็นไปตามทิศทางที่ต้องการ ซึ่งในปัจจุบันประเทศส่วนใหญ่ ใช้ระบบนี้ เพื่อควบคุมอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศให้มีเสถียรภาพ 18
  • 19. หมายถึง การที่ประเทศใดประเทศหนึ่งนาเงินไปลงทุนในอีกประเทศหนึ่ง โดยทาให้เกิดผล ได้ 2 ลักษณะ คือ การเคลื่อนย้ายเงินทุน เงินทุนไหลเข้า คือ การที่ เงินทุนไหลออก คือ การที่ ชาวต่างชาตินาเงินเข้ามา คนในประเทศนาเงินออกไป ลงทุนในประเทศ หรือ ลงทุนในต่างประเทศ หรือ ปล่อยให้สินเชื่อให้แก่ธุรกิจ ปล่อยสินเชื่อให้แก่ธุรกิจใน ของคนไทย ประเทศเพื่อนบ้าน 19
  • 20. ประเภทของการเคลื่อนย้ายเงินทุน 1. การลงทุนทางตรง คือ การที่ชาวต่างประเทศนาเงินตราเข้ามาลงทุนและเป็นเจ้าของธุรกิจ บริการ หรืออุตสาหกรรมในประเทศนั้น ๆ ข้าวของทุนมีอานาจในการบริหารกิจการโดยตรง ซึ่งมีลักษณะ เป็นการลงทุนระยะยาว ก่อให้เกิดการจ้างงาน โดยแรงงานเจ้าของประเทศ และมีการนาเทคโนโลยีสมัยใหม่ เข้ามาใช้ในประเทศที่มาลงทุนด้วย 2. การลงทุนทางอ้อม คือ การที่ต่างชาตินาเงินเข้ามาลงทุนซื้ อหุ้นหรือหลักทรัพย์ แต่ไม่ได้มีสิทธิ โดยตรงในการบริหารกิจการนั้น เพราะเป็นการลงทุนระยะสั้น เนื่องจากการลงทุนประเภทนี้มักลงทุนเพื่อ ต้องการแสวงหากาไรในรูปแบบต่าง เช่นฝากธนาคาร ให้กู้ยืมเงิน 3. เงินกู้ต่างประเทศ คือ การที่รัฐบาลหรือบริษัทเอกชนที่กู้ยืมเงินจากต่างประเทศ โดยให้ ค่าตอบแทนในรูปอัตราดอกเบี้ย เช่น ขายพันธบัตรให้ชาวต่างประเทศ หรือกู้ยืมเงินจากธนาคารใน ต่างประเทศ ซึ่งมีทั้งกู้ยืมระยะสั้น ต้องใช้คืนไม่เกิน 1 ปี และกู้ยืมระยะยาวต้องใช้คืนเกินกว่า 1 ปีขึ้นไป ประโยชน์ของการเคลื่อนย้ายเงินทุน ประเทศที่รับการลงทุนจากต่างประเทศส่วนใหญ่จะเป็นประเทศกาลังพัฒนา ซึ่งจะได้รับ ประโยชน์ ทางอ้อม ดังนี้ 1. เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจ เพื่อเอกชนได้ขยายกิจการในด้านต่าง ๆ เกิดการจ้างงาน ทาให้ ประชาชนมีงานทา มีรายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น 2. ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ดีขึ้น เพราะมีรายได้สูงขึ้น 3. การเพิ่มมูลค่าในทรัพยากรและวัตถุดิบในท้องถิ่น เพราะมีการใช้วัตถุดิบหรือผลผลิตทาง การเกษตรในท้องถิ่น มาแปรรูปเป็นสินค้าสาเร็จรูป เป็นประโยชน์ต่อเกษตรกรผู้ผลิตโดยตรง 4. ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี การผลิตจากต่างประเทศที่เข้ามาลงทุน ซึ่งเป็นผลดีต่อการ พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศระยะยาว 20
  • 21. ผลกระทบของการเคลื่อนย้ายเงินทุน การลงทุนระหว่างประเทศ โดยเฉพาะการลงทุนทางตรงเป็นผลดีทาให้เกิดการขยายตัวทาง เศรษฐกิจและการจ้างงาน แต่อาจเกิดผลกระทบหรือผลเสียต่อประเทศกาลังพัฒนาหลายประการ คือ 1. การแข่งขัน กับผู้ประกอบการ เจ้าของประเทศอย่างไม่ เป็นธรรม เพราะบริษัทต่างชาติเป็น ธุรกิจขนาดใหญ่ มีกาลังทุน และเทคโนโลยีที่ทันสมัยมากกว่า จึงสามารถแย่งลูกค้าจากผู้ประกอบการ ท้องถิ่นได้ 2. การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นอย่างสิ้นเปลือง และเกิดปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อม 3. ปัญหาการจ้างงาน เนื่องจากมีนักลงทุนต่างชาตินิยมใช้เครื่องจักรและเทคโนโลยี ในการผลิต มากกว่าแรงงาน 4. การขาดดุลการค้า เพราะการลงทุนของต่างชาติ จะนาเข้าสินค้าประเภททุน เช่น เครื่องจักร น้ามันเชื้อเพลิง และวัตถุดิบในการผลิตจานวนมาก จึงไม่ได้ช่วยแก้ปัญหาการขาดดุลการค้าตามที่หวังไว้ 21
  • 22. ใบงานที่ 2 เรื่อง ดุลการค้า และการชาระเงิน คาสั่ง ให้นักเรียนอ่านข้อความต่อไปนี้ แล้ววิเคราะห์ว่าบุคคลในเหตุการณ์เมื่อต้องมี การติดต่อ หรือ เกี่ยวข้องกับประเทศนั้น ๆ เขาต้องแลกเงินให้เป็นเงินสกุลใด 1 . พงษ์พันธ์ต้องเดินทางไปติดต่อธุรกิจกับหลายๆ ประเทศในทวีปยุโรป เขาต้องใช้เงินสกุลใด ............................ 2. การเคลื่อนย้ายเงินทุน มีกี่ประเภท อะไรบ้าง 1. ........................................................................................................... ........................................................................................................... 2. ........................................................................................................... ……………………………..………………………………………. 3. ........................................................................................................... ........................................................................................................... 22
  • 23. 3. การลงทุนทางตรงที่นักลงทุนต่างชาติเข้ามาลงทุนในไทย มีผลดี และผลเสียอย่างไร ผลดี ……………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… ผลเสีย ………………………………………………..................................................... .......................................................................................................................................... ………………………………………………………………………………………….. ……………………………………………………......................................................... 23
  • 24. บรรณานุกรม จุฑา มนัสไพบูลย์ และบุษบา คุณาศิรินทร์. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานเศรษฐศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ(พว.), 2548. หน้า 44 – 61. เดือน คาดี และคณะ. หนังสือเรียนสมบูรณ์แบบ สังคมศึกษาสมบูรณ์แบบ ส 606. กรุงเทพ ฯ : วัฒนาพานิชช จากัด, 2542. หน้า 192-198. มณีรัตน กองลัพท์ และสุวัฒนา กิตติวิริยกุล. สัมฤทธิ์มาตรฐาน 5 เศรษฐศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. กรุงเทพ ฯ: อักษรเจริญทัศน์, หน้า 82-95. เอนก เธียรถาวร และอุทิศ ขาวเธียร. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐานเศรษฐศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. กรุงเทพฯ: วัฒนาพานิช, 2547. หน้า 14 – 18. 24