SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  7
Télécharger pour lire hors ligne
รายวิชา ฟิสิกส์ เพิ่มเติม
“Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG
กิจกรรม/การทดลอง ฟิสิกส์ เล่ม 1
บทที่ 1 บทนา
-
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง
การทดลอง 2.1 การเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรี
ศึกษาการหาความเร่งของการตกแบบเสรี
บทที่ 3 การเคลื่อนที่แนวตรง
การทดลอง 3.1 การหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์
ศึกษาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ของแรงสองแรงที่ทามุมต่อกัน
การทดลอง 3.2 ความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับความเร่ง
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงที่กระทาต่อวัตถุกับความเร่งของวัตถุ
การทดลอง 3.3 แรงเสียดทาน
ศึกษาขนาดและทิศทางของแรงเสียดทาน
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงดึงและนาหนักของวัตถุ
บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
การทดลอง 4.1 การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
ศึกษาลักษณะของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
การทดลอง 4.2 การเคลื่อนที่ในแนววงกลม
ตอนที่1 ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคาบ และแรงสู่ศูนย์กลางของการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ในแนววงกลงในแนวระดับ เมื่อรัศมีคงตัว
ตอนที่2 ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคาบ และรัศมีของการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนว
วงกลมในแนวระดับ เมื่อแรงคงตัว
การทดลอง 4.3 การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายของรถทดลองซึ่งติดอยู่กับสปริง
ศึกษาการกระจัดและความเร็วของรถทดลองซึ่งเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่าง
ง่ายในช่วงเวลาครึ่งคาบ
การทดลอง 4.4 ลูกตุ้มอย่างง่าย
หาความเร่งโน้มถ่วงของโลก g
รายวิชา ฟิสิกส์ เพิ่มเติม
“Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG
กิจกรรม/การทดลอง เล่ม 2
บทที่ 5 งานและพลังงาน
การทดลอง 5.1 ความสัมพันธ์ระหว่างงานและพลังงานจลน์
ศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างงานและพลังงานจลน์
การทดลอง 5.2 พลังงานศักย์โน้มถ่วงกับเส้นทางการเคลื่อนที่
ศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างงานกับพลังงานศักย์โน้มถ่วง
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
การทดลอง 6.1 การชนของวัตถุในแนวตรง
ศึกษาผลรวมของโมเมนตัม และผลรวมของพลังงานจลน์จากการชนแบบยืดหยุ่น
ของรถทดลองก่อนและหลังชน
ศึกษาผลรวมของโมเมนตัม และผลรวมของพลังงานจลน์จากการชนแบบไม่
ยืดหยุ่นของรถทดลองก่อนและหลังชน
การทดลอง 6.2 การดีดตัวแยกจากกันของวัตถุในแนวตรง
ศึกษาผลรวมของโมเมนตัม และผลรวมของพลังงานจลน์ของรถทดลองก่อนและ
หลังจากการดีดตัวแยกออกจากกัน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
กิจกรรม 7.1 โมเมนต์และความเฉื่อย
ศึกษาธรรมชาติของโมเมนต์ความเฉื่อย
บทที่ 8 สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
การทดลอง 8.1 สมดุลของแรง 3 แรง
ศึกษาเงื่อนไขของแรง 3 แรงที่กระทาต่อวัตถุแล้วทาให้วัตถุอยู่ในสมดุล
การทดลอง 8.2 ความเค้นดึงความเครียดดึง
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นดึงและความเครียดดึง
รายวิชา ฟิสิกส์ เพิ่มเติม
“Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG
กิจกรรม/การทดลอง เล่ม 3
บทที่ 9 คลื่นกล
กิจกรรม 9.1 คลื่นและตัวกลาง
สังเกตและอธิบายการเคลื่อนที่ของคลื่นผิวนาที่ผ่านตัวกลาง
กิจกรรม 9.2 คลื่นนิ่งในเส้นเชือก
ศึกษาคลื่นนิ่งในเส้นเชือก
การทดลอง 9.1 การสะท้อนของคลื่นนา
ศึกษาสมบัติการสะท้อนของคลื่นนา
การทดลอง 9.2 การหักเหของคลื่น
ศึกษาสมบัติการหักเหของคลื่นนา
การทดลอง 9.3 การแทรกสอดของคลื่น
ศึกษาสมบัติการแทรกสอดของคลื่นนา
การทดลอง 9.4 การเลียวเบนของคลื่น
ศึกษาสมบัติการเลียวเบนของคลื่นนา
บทที่ 10 เสียง
กิจกรรม 10.1 ความถี่ธรรมชาติ
ศึกษาการสั่นหรือการแกว่งของวัตถุ ที่ถูกบังคับให้สั่นหรือแกว่งด้วยแรงจาก
ภายนอกที่มีความถี่ต่างๆ กัน
กิจกรรม 10.2 คลื่นนิ่งของเสียง
ศึกษาคลื่นนิ่งของเสียง
การทดลอง 10.1 เสียงกับการแทรกสอด
ศึกษาสมบัติการแทรกสอดของเสียง
การทดลอง 10.2 เสียงกับการเลียวเบน
ศึกษาสมบัติการเลียวเบนของเสียง
การทดลอง 10.3 การสั่นพ้องของอากาศในหลอดเรโซแนนซ์
ศึกษาการสั่นพ้องของอากาศในท่อปลายปิด
การทดลอง 10.4 การวัดความยาวคลื่นเสียง
ศึกษาวิธีการวัดความยาวคลื่นเสียงในอากาศโดยอาศัยปรากฏการณ์การสั่นพ้อง
ของอากาศในหลอดเรโซแนนซ์
การทดลอง 10.5 การเกิดบีตของเสียง
ศึกษาผลการซ้อนทับระหว่างคลื่นเสียงจากแหล่งกาเนิดเสียง 2 แหล่งที่มีความถี่
ต่างกันเล็กน้อย
รายวิชา ฟิสิกส์ เพิ่มเติม
“Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG
บทที่ 11 แสงและทัศนอุปกรณ์
การทดลอง 11.1 การหักเหของแสง
ศึกษาการหักเหของแสง
การทดลอง 11.2 การหักเหของแสงผ่านเลนส์นูน
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระยะวัตถุ ระยะภาพ และความยาวโฟกัสของ
เลนส์นูน
กิจกรรม 11.1 กล้องจุลทรรศน์
ศึกษาหลักการทางานของกล้องจุลทรรศน์
กิจกรรม 11.2 กล้องโทรทรรศน์
ศึกษาหลักการทางานของกล้องโทรทรรศน์
กิจกรรม 11.3 สีของวัตถุ
ศึกษาสมบัติของแผ่นกรองแสงสีต่างๆ
กิจกรรม 11.4 การผสมแสงสีบนฉากขาว
ศึกษาการผสมแสงสี
บทที่ 11 แสงและทัศนอุปกรณ์
การทดลอง 12.1 การแทรกสอดของแสง
ศึกษาภาพที่เกิดจากการแทรกสอดของแสง
การทดลอง 12.2 การเลียวเบนของแสง
ศึกษาการเลียวเบนของแสง
การทดลอง 12.3 เกรตติง
ศึกษาหาความยาวคลื่นแสงโดยใช้เกรตติง
รายวิชา ฟิสิกส์ เพิ่มเติม
“Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG
กิจกรรม/การทดลอง 4
บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต
กิจกรรม 13.1 ชนิดของแรงระหว่างประจุไฟฟ้าและชนิดของประจุไฟฟ้า
ศึกษาชนิดของแรงระหว่างประจุไฟฟ้าและชนิดของประจุไฟฟ้า
กิจกรรม 13.2 การทาให้อิเล็กโทรสโคปมีประจุโดยการเหนี่ยวนา
ศึกษาวิธีการทาให้วัตถุมีประจุโดยการเหนี่ยวนา
บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส
การทดลอง 14.1 ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ระหว่างปลายของ
ลวดโลหะ
การทดลอง 14.2 ความต่างศักย์ระหว่างขัวแบตเตอรี่
ศึกษาเปรียบเทียบความต่างศักย์ระหว่างขัวแบตเตอรี่ เมื่อไม่ได้ต่อเป็นวงจรกับ
ตัวต้านทาน และเมื่อต่อเป็นวงจรกับตัวต้านทานภายนอกค่าต่างๆ
การทดลอง 14.3 กระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวต้านทานที่ต่อกันแบบ
อนุกรมและแบบขนาน
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าในวงจรกับกระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัว
ต้านทานแต่ละตัวที่ต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน
ศึกษาความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวต้านทานแต่ละตัว กับความต่างศักย์
ระหว่างปลายของตัวต้านทานทังสองที่ต่อกันแบบอนุกรมและแบบขนาน
การทดลอง 14.4 ตัวแบ่งศักย์
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ระหว่างขัวแบตเตอรี่( inV ) และความ
ต่างศักย์ที่ต้องการ( outV )
ผลของความต้านทานของโหลด(load) ที่มีต่อ outV
บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
กิจกรรม 15.1 การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนในสนามแม่เหล็ก
ศึกษาพฤติกรรมของอิเล็กตรอนในสนามแม่เหล็ก
กิจกรรม 15.2 สนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนา
ศึกษาพฤติกรรมของอิเล็กตรอนในสนามแม่เหล็ก
กิจกรรม 15.3 แรงที่กระทาต่อลวดตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านและลวดอยู่ใน
สนามแม่เหล็ก
ศึกษาแรงที่กระทาต่อลวดตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านและลวดอยู่ใน
สนามแม่เหล็ก
รายวิชา ฟิสิกส์ เพิ่มเติม
“Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG
กิจกรรม 15.4 แรงระหว่างลวดตัวนาสองเส้นที่ขนานกันและมีกระแสไฟฟ้าผ่าน
ศึกษาแรงระหว่างลวดตัวนาสองเส้นที่กระแสไฟฟ้าผ่าน
กิจกรรม 15.5 กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนา
ศึกษาการเกิดกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนาในขดลวดตัวนา
กิจกรรม 15.6 เครื่องกาเนิดไฟฟ้า
ศึกษาการทางานของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า
กิจกรรม 15.7 หม้อแปลง
ศึกษาการทางานของหม้อแปลง
บทที่ 16 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
กิจกรรม 16.1 ความสว่างของแสงเมื่อผ่านแผ่นโพลารอยด์
ศึกษาความสว่างของแสงเมื่อผ่านแผ่นโพลารอยด์
กิจกรรม 16.2 การตรวจสอบโพลาไรเซชันของแสง
ตรวจสอบโพลาไรเซชันของแสงสะท้อนจากผิววัตถุ
รายวิชา ฟิสิกส์ เพิ่มเติม
“Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG
กิจกรรม/การทดลอง เล่ม 5
บทที่ 17 ของไหล
การทดลอง 17.1 ความดันในของเหลว
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความดันและความลึกในของเหลว เมื่อความ
หนาแน่นของของเหลวมีค่าคงตัว
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความดันและความหน่าแน่นของของเหลว เมื่อความ
ลึกมีค่าคงตัว
การทดลอง 17.2 แรงพยุง
ศึกษาแรงพยุงที่กระทาต่อวัตถุที่อยู่ในของเหลว
การทดลอง 17.3 ความตึงผิวของของเหลว
ศึกษาความตึงผิวของของเหลวบางชนิด
บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส
การทดลอง 18.1 กฎของบอยล์
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความดันและปริมาตรของแก๊ส เมื่ออุณหภูมิ
การทดลอง 18.2 กฎของชาร์ล
ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรและอุณหภูมิของแก๊ส เมื่ออุณหภูมิ
บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม
กิจกรรม 19.1 การเปรียบเทียบลักษณะการกระเจิงของอนุภาคแอลฟา
ศึกษาการกระเจิงของอนุภาคแอลฟา
การทดลอง 19.1 การศึกษาสเปกตรัมของแก๊สร้อน
ศึกษาสเปกตรัมที่เกิดจากแก๊สร้อน
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์
กิจกรรม 20.1 สถานการณ์จาลองการสลายกัมมันตรังสี
ศึกษาหาค่าคงตัวในการสลายตัวของนิวเคลียสโดยเปรียบเทียบกับการทอด
ลูกบาศก์

Contenu connexe

Tendances

แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรงTaweesak Poochai
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558dnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงrutchaneechoomking
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงPonpirun Homsuwan
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfbansarot
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกochestero
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานjirupi
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1NooAry Diiz'za
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคChanthawan Suwanhitathorn
 

Tendances (20)

แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 
การสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสงการสะท้อนของแสง
การสะท้อนของแสง
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdfตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
ตำแหน่งระยะทางและการกระจัด Pdf
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลก
 
แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์แรงนิวเคลียร์
แรงนิวเคลียร์
 
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
 

Plus de Worrachet Boonyong

Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6Worrachet Boonyong
 
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์ แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์ Worrachet Boonyong
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสWorrachet Boonyong
 
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุแบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุWorrachet Boonyong
 
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5Worrachet Boonyong
 
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5Worrachet Boonyong
 
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]Worrachet Boonyong
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.Worrachet Boonyong
 
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)Worrachet Boonyong
 
แบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
แบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่นแบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
แบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่นWorrachet Boonyong
 
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคัน
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคันรายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคัน
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคันWorrachet Boonyong
 
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555Worrachet Boonyong
 
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring science
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring scienceรายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring science
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring scienceWorrachet Boonyong
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยาWorrachet Boonyong
 
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)Worrachet Boonyong
 

Plus de Worrachet Boonyong (16)

ONET 63 BY PHY360
ONET 63 BY PHY360ONET 63 BY PHY360
ONET 63 BY PHY360
 
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
Electrostatics ปฐมบทแห่งไฟฟ้า ม.6
 
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์ แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุแบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
แบบทดสอบเรื่อง แรงระหว่างประจุ
 
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
 
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
ใบงาน เอกภพวิทยา ม.5
 
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ฉบับแก้ไข ตามข้อเสนอแนะของ สมศ.
 
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
การเคลื่อนที่ใน 1 มิติ (motion in one dimension)
 
แบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
แบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่นแบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
แบบบันทึกการสำรวจ ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
 
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคัน
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคันรายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคัน
รายงานผลการเข้าประชุมปฏิบัติการออกกลางคัน
 
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2555
 
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring science
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring scienceรายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring science
รายงานการเข้าร่วมประชุมปฏิบัติการ Inspiring science
 
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน รร.มัธยมจารพัตวิทยา
 
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
 

กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.

  • 1. รายวิชา ฟิสิกส์ เพิ่มเติม “Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG กิจกรรม/การทดลอง ฟิสิกส์ เล่ม 1 บทที่ 1 บทนา - บทที่ 2 การเคลื่อนที่แนวตรง การทดลอง 2.1 การเคลื่อนที่ของวัตถุที่ตกแบบเสรี ศึกษาการหาความเร่งของการตกแบบเสรี บทที่ 3 การเคลื่อนที่แนวตรง การทดลอง 3.1 การหาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ ศึกษาขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ของแรงสองแรงที่ทามุมต่อกัน การทดลอง 3.2 ความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับความเร่ง ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงที่กระทาต่อวัตถุกับความเร่งของวัตถุ การทดลอง 3.3 แรงเสียดทาน ศึกษาขนาดและทิศทางของแรงเสียดทาน ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงดึงและนาหนักของวัตถุ บทที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ การทดลอง 4.1 การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ ศึกษาลักษณะของการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ การทดลอง 4.2 การเคลื่อนที่ในแนววงกลม ตอนที่1 ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคาบ และแรงสู่ศูนย์กลางของการเคลื่อนที่ของวัตถุ ในแนววงกลงในแนวระดับ เมื่อรัศมีคงตัว ตอนที่2 ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคาบ และรัศมีของการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนว วงกลมในแนวระดับ เมื่อแรงคงตัว การทดลอง 4.3 การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายของรถทดลองซึ่งติดอยู่กับสปริง ศึกษาการกระจัดและความเร็วของรถทดลองซึ่งเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่าง ง่ายในช่วงเวลาครึ่งคาบ การทดลอง 4.4 ลูกตุ้มอย่างง่าย หาความเร่งโน้มถ่วงของโลก g
  • 2. รายวิชา ฟิสิกส์ เพิ่มเติม “Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG กิจกรรม/การทดลอง เล่ม 2 บทที่ 5 งานและพลังงาน การทดลอง 5.1 ความสัมพันธ์ระหว่างงานและพลังงานจลน์ ศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างงานและพลังงานจลน์ การทดลอง 5.2 พลังงานศักย์โน้มถ่วงกับเส้นทางการเคลื่อนที่ ศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างงานกับพลังงานศักย์โน้มถ่วง บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน การทดลอง 6.1 การชนของวัตถุในแนวตรง ศึกษาผลรวมของโมเมนตัม และผลรวมของพลังงานจลน์จากการชนแบบยืดหยุ่น ของรถทดลองก่อนและหลังชน ศึกษาผลรวมของโมเมนตัม และผลรวมของพลังงานจลน์จากการชนแบบไม่ ยืดหยุ่นของรถทดลองก่อนและหลังชน การทดลอง 6.2 การดีดตัวแยกจากกันของวัตถุในแนวตรง ศึกษาผลรวมของโมเมนตัม และผลรวมของพลังงานจลน์ของรถทดลองก่อนและ หลังจากการดีดตัวแยกออกจากกัน บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน กิจกรรม 7.1 โมเมนต์และความเฉื่อย ศึกษาธรรมชาติของโมเมนต์ความเฉื่อย บทที่ 8 สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น การทดลอง 8.1 สมดุลของแรง 3 แรง ศึกษาเงื่อนไขของแรง 3 แรงที่กระทาต่อวัตถุแล้วทาให้วัตถุอยู่ในสมดุล การทดลอง 8.2 ความเค้นดึงความเครียดดึง ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นดึงและความเครียดดึง
  • 3. รายวิชา ฟิสิกส์ เพิ่มเติม “Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG กิจกรรม/การทดลอง เล่ม 3 บทที่ 9 คลื่นกล กิจกรรม 9.1 คลื่นและตัวกลาง สังเกตและอธิบายการเคลื่อนที่ของคลื่นผิวนาที่ผ่านตัวกลาง กิจกรรม 9.2 คลื่นนิ่งในเส้นเชือก ศึกษาคลื่นนิ่งในเส้นเชือก การทดลอง 9.1 การสะท้อนของคลื่นนา ศึกษาสมบัติการสะท้อนของคลื่นนา การทดลอง 9.2 การหักเหของคลื่น ศึกษาสมบัติการหักเหของคลื่นนา การทดลอง 9.3 การแทรกสอดของคลื่น ศึกษาสมบัติการแทรกสอดของคลื่นนา การทดลอง 9.4 การเลียวเบนของคลื่น ศึกษาสมบัติการเลียวเบนของคลื่นนา บทที่ 10 เสียง กิจกรรม 10.1 ความถี่ธรรมชาติ ศึกษาการสั่นหรือการแกว่งของวัตถุ ที่ถูกบังคับให้สั่นหรือแกว่งด้วยแรงจาก ภายนอกที่มีความถี่ต่างๆ กัน กิจกรรม 10.2 คลื่นนิ่งของเสียง ศึกษาคลื่นนิ่งของเสียง การทดลอง 10.1 เสียงกับการแทรกสอด ศึกษาสมบัติการแทรกสอดของเสียง การทดลอง 10.2 เสียงกับการเลียวเบน ศึกษาสมบัติการเลียวเบนของเสียง การทดลอง 10.3 การสั่นพ้องของอากาศในหลอดเรโซแนนซ์ ศึกษาการสั่นพ้องของอากาศในท่อปลายปิด การทดลอง 10.4 การวัดความยาวคลื่นเสียง ศึกษาวิธีการวัดความยาวคลื่นเสียงในอากาศโดยอาศัยปรากฏการณ์การสั่นพ้อง ของอากาศในหลอดเรโซแนนซ์ การทดลอง 10.5 การเกิดบีตของเสียง ศึกษาผลการซ้อนทับระหว่างคลื่นเสียงจากแหล่งกาเนิดเสียง 2 แหล่งที่มีความถี่ ต่างกันเล็กน้อย
  • 4. รายวิชา ฟิสิกส์ เพิ่มเติม “Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG บทที่ 11 แสงและทัศนอุปกรณ์ การทดลอง 11.1 การหักเหของแสง ศึกษาการหักเหของแสง การทดลอง 11.2 การหักเหของแสงผ่านเลนส์นูน ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระยะวัตถุ ระยะภาพ และความยาวโฟกัสของ เลนส์นูน กิจกรรม 11.1 กล้องจุลทรรศน์ ศึกษาหลักการทางานของกล้องจุลทรรศน์ กิจกรรม 11.2 กล้องโทรทรรศน์ ศึกษาหลักการทางานของกล้องโทรทรรศน์ กิจกรรม 11.3 สีของวัตถุ ศึกษาสมบัติของแผ่นกรองแสงสีต่างๆ กิจกรรม 11.4 การผสมแสงสีบนฉากขาว ศึกษาการผสมแสงสี บทที่ 11 แสงและทัศนอุปกรณ์ การทดลอง 12.1 การแทรกสอดของแสง ศึกษาภาพที่เกิดจากการแทรกสอดของแสง การทดลอง 12.2 การเลียวเบนของแสง ศึกษาการเลียวเบนของแสง การทดลอง 12.3 เกรตติง ศึกษาหาความยาวคลื่นแสงโดยใช้เกรตติง
  • 5. รายวิชา ฟิสิกส์ เพิ่มเติม “Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG กิจกรรม/การทดลอง 4 บทที่ 13 ไฟฟ้าสถิต กิจกรรม 13.1 ชนิดของแรงระหว่างประจุไฟฟ้าและชนิดของประจุไฟฟ้า ศึกษาชนิดของแรงระหว่างประจุไฟฟ้าและชนิดของประจุไฟฟ้า กิจกรรม 13.2 การทาให้อิเล็กโทรสโคปมีประจุโดยการเหนี่ยวนา ศึกษาวิธีการทาให้วัตถุมีประจุโดยการเหนี่ยวนา บทที่ 14 ไฟฟ้ากระแส การทดลอง 14.1 ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ระหว่างปลายของ ลวดโลหะ การทดลอง 14.2 ความต่างศักย์ระหว่างขัวแบตเตอรี่ ศึกษาเปรียบเทียบความต่างศักย์ระหว่างขัวแบตเตอรี่ เมื่อไม่ได้ต่อเป็นวงจรกับ ตัวต้านทาน และเมื่อต่อเป็นวงจรกับตัวต้านทานภายนอกค่าต่างๆ การทดลอง 14.3 กระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวต้านทานที่ต่อกันแบบ อนุกรมและแบบขนาน ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกระแสไฟฟ้าในวงจรกับกระแสไฟฟ้าที่ผ่านตัว ต้านทานแต่ละตัวที่ต่อแบบอนุกรมและแบบขนาน ศึกษาความต่างศักย์ระหว่างปลายของตัวต้านทานแต่ละตัว กับความต่างศักย์ ระหว่างปลายของตัวต้านทานทังสองที่ต่อกันแบบอนุกรมและแบบขนาน การทดลอง 14.4 ตัวแบ่งศักย์ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ระหว่างขัวแบตเตอรี่( inV ) และความ ต่างศักย์ที่ต้องการ( outV ) ผลของความต้านทานของโหลด(load) ที่มีต่อ outV บทที่ 15 ไฟฟ้าและแม่เหล็ก กิจกรรม 15.1 การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนในสนามแม่เหล็ก ศึกษาพฤติกรรมของอิเล็กตรอนในสนามแม่เหล็ก กิจกรรม 15.2 สนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสไฟฟ้าในลวดตัวนา ศึกษาพฤติกรรมของอิเล็กตรอนในสนามแม่เหล็ก กิจกรรม 15.3 แรงที่กระทาต่อลวดตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านและลวดอยู่ใน สนามแม่เหล็ก ศึกษาแรงที่กระทาต่อลวดตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้าผ่านและลวดอยู่ใน สนามแม่เหล็ก
  • 6. รายวิชา ฟิสิกส์ เพิ่มเติม “Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG กิจกรรม 15.4 แรงระหว่างลวดตัวนาสองเส้นที่ขนานกันและมีกระแสไฟฟ้าผ่าน ศึกษาแรงระหว่างลวดตัวนาสองเส้นที่กระแสไฟฟ้าผ่าน กิจกรรม 15.5 กระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนา ศึกษาการเกิดกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนาในขดลวดตัวนา กิจกรรม 15.6 เครื่องกาเนิดไฟฟ้า ศึกษาการทางานของเครื่องกาเนิดไฟฟ้า กิจกรรม 15.7 หม้อแปลง ศึกษาการทางานของหม้อแปลง บทที่ 16 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า กิจกรรม 16.1 ความสว่างของแสงเมื่อผ่านแผ่นโพลารอยด์ ศึกษาความสว่างของแสงเมื่อผ่านแผ่นโพลารอยด์ กิจกรรม 16.2 การตรวจสอบโพลาไรเซชันของแสง ตรวจสอบโพลาไรเซชันของแสงสะท้อนจากผิววัตถุ
  • 7. รายวิชา ฟิสิกส์ เพิ่มเติม “Imagination is more important than knowledge” WORRACHET BOONYONG กิจกรรม/การทดลอง เล่ม 5 บทที่ 17 ของไหล การทดลอง 17.1 ความดันในของเหลว ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความดันและความลึกในของเหลว เมื่อความ หนาแน่นของของเหลวมีค่าคงตัว ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความดันและความหน่าแน่นของของเหลว เมื่อความ ลึกมีค่าคงตัว การทดลอง 17.2 แรงพยุง ศึกษาแรงพยุงที่กระทาต่อวัตถุที่อยู่ในของเหลว การทดลอง 17.3 ความตึงผิวของของเหลว ศึกษาความตึงผิวของของเหลวบางชนิด บทที่ 18 ความร้อนและทฤษฎีจลน์ของแก๊ส การทดลอง 18.1 กฎของบอยล์ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความดันและปริมาตรของแก๊ส เมื่ออุณหภูมิ การทดลอง 18.2 กฎของชาร์ล ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรและอุณหภูมิของแก๊ส เมื่ออุณหภูมิ บทที่ 19 ฟิสิกส์อะตอม กิจกรรม 19.1 การเปรียบเทียบลักษณะการกระเจิงของอนุภาคแอลฟา ศึกษาการกระเจิงของอนุภาคแอลฟา การทดลอง 19.1 การศึกษาสเปกตรัมของแก๊สร้อน ศึกษาสเปกตรัมที่เกิดจากแก๊สร้อน บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ กิจกรรม 20.1 สถานการณ์จาลองการสลายกัมมันตรังสี ศึกษาหาค่าคงตัวในการสลายตัวของนิวเคลียสโดยเปรียบเทียบกับการทอด ลูกบาศก์