SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  5
Télécharger pour lire hors ligne
1. เครื่องวัดความไหวสะเทือนและแผนภาพ
คลื่นไหวสะเทือน
	 เครื่องมือที่ใช้ตรวจการสั่นสะเทือนของ
แผ่นดินไหว เรียกว่า เครื่องวัดความไหวสะเทือน
(Seismograph) ประดิษฐ์ขึ้นครั้งแรกในประเทศ
จีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 2 มีลักษณะดังแสดง
ในรูป 1.1
				บทที่ 1
	 การตรวจวัดแผ่นดินไหว
2
แผ่นดินไหวที่ควรรู้
รูป 1.1 เครื่องวัดความไหวสะเทือนเครื่องแรกของโลก
	 เครื่องมือนี้ประดิษฐ์โดยชาวจีนชื่อ ฉาง เฮง (Chang Heng) ใน
คริสต์ศตวรรษที่ 2 ด้านบนของเครื่องมือจะมีมังกร 8 ตัว แต่ละตัวคาบ
ลูกบอลไว้ แรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวจะผลักให้ลูกบอลตกลงใน
ปากของกบ 8 ตัวที่รอรับอยู่ด้านล่างในทิศทางที่จะเกิดแผ่นดินไหว
(หรือในทิศทางตรงกันข้าม)
	 เครื่องวัดความไหวสะเทือนสมัยใหม่ประกอบด้วย ตุ้มน�้ำหนัก
(Mass) สปริง (Spring) ตัวหน่วงการสั่นสะเทือน (Damper) นาฬิกา
(Clock) และเครื่องบันทึก (Recorder) ตามแผนภาพในรูป 1.2 เมื่อคลื่น
แผ่นดินไหวเดินทางมาถึง จะมีแรงไหวสะเทือนจากแผ่นดินไหวมา
กระท�ำต่อตุ้มน�้ำหนักตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน (Newton’s Law)
และในทันทีทันใดนั้นสปริงก็จะกระท�ำต่อตุ้มน�้ำหนักด้วย หากไม่มีแรง                         
อื่น ๆ เข้ามากระท�ำ ตุ้มน�้ำหนักก็จะแกว่งกลับไปมาตลอดไปเหมือน
3
1 : การตรวจวัดแผ่นดินไหว
ลูกตุ้มนาฬิกา โดยปกติแล้วการแกว่งตัวของตุ้มน�้ำหนักจะหยุดลงได้
ในที่สุดด้วยกลไกบางอย่าง แต่แรงเสียดทานนั้นไม่เหมาะสมส�ำหรับ
ใช้ในการหยุดตุ้มน�้ำหนัก ตัวหน่วงการสั่นสะเทือนแบบน�้ำมันหรือ
ลมจึงถูกสร้างขึ้นเพื่อท�ำให้การแกว่งตัวของตุ้มน�้ำหนักหยุดลงอย่าง              
ช้า ๆ กลไกที่คล้ายกันนี้จะพบเห็นได้ในชีวิตประจ�ำวัน เช่น โช้คอัพของ
รถยนต์ นาฬิกาก็เป็นส่วนประกอบอีกอย่างหนึ่งที่มีบทบาทส�ำคัญใน
เครื่องวัดความไหวสะเทือน เพราะจะท�ำให้สามารถบันทึกเวลาที่คลื่น
ไหวสะเทือน (คลื่นแผ่นดินไหว) เดินทางมาถึงได้อย่างแม่นย�ำ ซึ่งจะ
อธิบายเพิ่มเติมในภายหลัง ในปัจจุบัน การวิเคราะห์ด้านแผ่นดินไหว
มีการพัฒนาไปอย่างมาก หลังจากที่มีการน�ำนาฬิกาที่มีจอแสดงผล
แบบดิจิทัลโดยใช้คริสตัลเหลวมาใช้อย่างแพร่หลาย เครื่องบันทึกก็เป็น
อุปกรณ์อีกชิ้นหนึ่งที่จะใช้สร้างแผนภาพคลื่นไหวสะเทือน (Seismogram)
รูป 1.2 แผนภาพแสดงเครื่องวัดความไหวสะเทือน (ตรวจวัดในแนวดิ่ง)
4
แผ่นดินไหวที่ควรรู้
	 จากรูป 1.2 แผนภาพแสดงการท�ำงานของเครื่องวัดความไหว
สะเทือน แผนภาพไม่ได้แสดงตัวบันทึกและนาฬิกา
	 เครื่องวัดความไหวสะเทือนสมัยใหม่จะถูกควบคุมด้วยระบบ
อิเล็กทรอนิกส์และบางส่วนถูกแทนที่ด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ แต่
เครื่องวัดความไหวสะเทือนแบบดั้งเดิมนั้น เราสามารถที่จะมองเห็น
ส่วนประกอบต่าง ๆ ได้อย่างชัดเจนดังแสดงในรูป 1.3 เนื่องจากปริภูมิ
(Space) ประกอบด้วย 3 มิติ ดังนั้น เพื่อที่จะสามารถบันทึกการเคลื่อนที่
ที่เกิดขึ้นได้ทุกทิศทาง ในเครื่องมือหนึ่งชุดจึงประกอบเครื่องวัดความ
ไหวสะเทือน 3 ชุดย่อยเพื่อวัดการสั่นสะเทือน 3 ทิศทาง ได้แก่ แนว
เหนือ-ใต้ ตะวันออก-ตะวันตก และแนวดิ่ง เครื่องวัดความไหวสะเทือน
ควรจะติดตั้งบนพื้นหินแข็งที่มั่นคงหรือในห้องใต้ดินเพื่อหลีกเลี่ยง
สัญญาณรบกวนอื่น ๆ
รูป 1.3 เครื่องวัดความไหวสะเทือนแบบดั้งเดิม
5
1 : การตรวจวัดแผ่นดินไหว
	 จากรูป 1.3 ภาพแสดงชุดวัดความไหวสะเทือนในแนวเหนือ-ใต้
ตะวันออก-ตะวันตก และแนวดิ่ง เปรียบเทียบรูป 1.2 และ 1.3 เพื่อหา
ตุ้มน�้ำหนัก สปริง และตัวหน่วงการสั่นสะเทือน การบันทึกท�ำโดยใช้
เข็มขูดให้เกิดเป็นรอยบนกระดาษรมควัน ในภาพไม่ได้แสดงนาฬิกา
2. เครือข่ายตรวจวัดแผ่นดินไหว (Seismic Network)
	 ในการก�ำหนดหาปริมาณต่าง ๆ ของการศึกษาด้านแผ่นดินไหว
ให้แม่นย�ำ เช่น จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว (Epicenter) ความลึกของ
ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว (Focal depth) เวลาการเกิด (Origin time) หรือขนาด
(Magnitude) จ�ำเป็นต้องใช้ระบบเครือข่ายสถานีตรวจวัดแผ่นดินไหว
เนื่องจากขอบเขตของประเทศไทยค่อนข้างจ�ำกัด จึงมีการน�ำข้อมูลจาก
เครือข่ายในระดับโลก (รูป 1.4) มาใช้ในการค�ำนวณหาปริมาณเหล่านี้
เพื่อให้เกิดความถูกต้องแม่นย�ำและเป็นกลางปราศจากการเอนเอียง
โดยเฉพาะส�ำหรับกรณีการเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ ปัจจุบันข้อมูล
เหล่านี้ถูกบันทึกและจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูลของศูนย์ข้อมูลตรวจวัด
แผ่นดินไหวต่าง ๆ ทั่วโลก ข้อมูลดังกล่าวสามารถเข้าถึงได้โดยผ่าน
เครือข่ายอินเทอร์เน็ตโดยหน่วยงานที่ให้บริการที่เกี่ยวข้องกับแผ่นดิน
ไหวหรือเพื่อวัตถุประสงค์ในการวิจัย และบริการดังกล่าวได้ขยายไปยัง
บุคคลทั่วไปโดยผ่านช่องทางเว็บไซต์ (National Earthquake Information
Center, NEIC)

Contenu connexe

En vedette

แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัยแบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัยAdisorn Tanprasert
 
5.กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย
5.กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย5.กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย
5.กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัยBangkok, Thailand
 
โครงงานแผ่นดินไหว
โครงงานแผ่นดินไหวโครงงานแผ่นดินไหว
โครงงานแผ่นดินไหวthanaporn2118
 
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัยตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัยSahatchai
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยtechno UCH
 
สื่อการสอนอาชีวอนามัย
สื่อการสอนอาชีวอนามัยสื่อการสอนอาชีวอนามัย
สื่อการสอนอาชีวอนามัยTui Ka
 
โครงการ Safety day 2014
โครงการ Safety day 2014โครงการ Safety day 2014
โครงการ Safety day 2014Jiraporn Promsit
 
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานSuradet Sriangkoon
 

En vedette (9)

แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัยแบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
 
สาธารณภัย
สาธารณภัยสาธารณภัย
สาธารณภัย
 
5.กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย
5.กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย5.กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย
5.กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย
 
โครงงานแผ่นดินไหว
โครงงานแผ่นดินไหวโครงงานแผ่นดินไหว
โครงงานแผ่นดินไหว
 
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัยตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 
สื่อการสอนอาชีวอนามัย
สื่อการสอนอาชีวอนามัยสื่อการสอนอาชีวอนามัย
สื่อการสอนอาชีวอนามัย
 
โครงการ Safety day 2014
โครงการ Safety day 2014โครงการ Safety day 2014
โครงการ Safety day 2014
 
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างานความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
ความเสี่ยงขั้นพื้นฐานสำหรับผู้ปฏิบัติหน้างาน
 

Plus de CUPress

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737CUPress
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560CUPress
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478CUPress
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270CUPress
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102CUPress
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096CUPress
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072CUPress
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027CUPress
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914CUPress
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907CUPress
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686CUPress
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457CUPress
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440CUPress
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389CUPress
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280CUPress
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365CUPress
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303CUPress
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242CUPress
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235CUPress
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099CUPress
 

Plus de CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

9789740331322

  • 1. 1. เครื่องวัดความไหวสะเทือนและแผนภาพ คลื่นไหวสะเทือน เครื่องมือที่ใช้ตรวจการสั่นสะเทือนของ แผ่นดินไหว เรียกว่า เครื่องวัดความไหวสะเทือน (Seismograph) ประดิษฐ์ขึ้นครั้งแรกในประเทศ จีนตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 2 มีลักษณะดังแสดง ในรูป 1.1 บทที่ 1 การตรวจวัดแผ่นดินไหว
  • 2. 2 แผ่นดินไหวที่ควรรู้ รูป 1.1 เครื่องวัดความไหวสะเทือนเครื่องแรกของโลก เครื่องมือนี้ประดิษฐ์โดยชาวจีนชื่อ ฉาง เฮง (Chang Heng) ใน คริสต์ศตวรรษที่ 2 ด้านบนของเครื่องมือจะมีมังกร 8 ตัว แต่ละตัวคาบ ลูกบอลไว้ แรงสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหวจะผลักให้ลูกบอลตกลงใน ปากของกบ 8 ตัวที่รอรับอยู่ด้านล่างในทิศทางที่จะเกิดแผ่นดินไหว (หรือในทิศทางตรงกันข้าม) เครื่องวัดความไหวสะเทือนสมัยใหม่ประกอบด้วย ตุ้มน�้ำหนัก (Mass) สปริง (Spring) ตัวหน่วงการสั่นสะเทือน (Damper) นาฬิกา (Clock) และเครื่องบันทึก (Recorder) ตามแผนภาพในรูป 1.2 เมื่อคลื่น แผ่นดินไหวเดินทางมาถึง จะมีแรงไหวสะเทือนจากแผ่นดินไหวมา กระท�ำต่อตุ้มน�้ำหนักตามกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน (Newton’s Law) และในทันทีทันใดนั้นสปริงก็จะกระท�ำต่อตุ้มน�้ำหนักด้วย หากไม่มีแรง อื่น ๆ เข้ามากระท�ำ ตุ้มน�้ำหนักก็จะแกว่งกลับไปมาตลอดไปเหมือน
  • 3. 3 1 : การตรวจวัดแผ่นดินไหว ลูกตุ้มนาฬิกา โดยปกติแล้วการแกว่งตัวของตุ้มน�้ำหนักจะหยุดลงได้ ในที่สุดด้วยกลไกบางอย่าง แต่แรงเสียดทานนั้นไม่เหมาะสมส�ำหรับ ใช้ในการหยุดตุ้มน�้ำหนัก ตัวหน่วงการสั่นสะเทือนแบบน�้ำมันหรือ ลมจึงถูกสร้างขึ้นเพื่อท�ำให้การแกว่งตัวของตุ้มน�้ำหนักหยุดลงอย่าง ช้า ๆ กลไกที่คล้ายกันนี้จะพบเห็นได้ในชีวิตประจ�ำวัน เช่น โช้คอัพของ รถยนต์ นาฬิกาก็เป็นส่วนประกอบอีกอย่างหนึ่งที่มีบทบาทส�ำคัญใน เครื่องวัดความไหวสะเทือน เพราะจะท�ำให้สามารถบันทึกเวลาที่คลื่น ไหวสะเทือน (คลื่นแผ่นดินไหว) เดินทางมาถึงได้อย่างแม่นย�ำ ซึ่งจะ อธิบายเพิ่มเติมในภายหลัง ในปัจจุบัน การวิเคราะห์ด้านแผ่นดินไหว มีการพัฒนาไปอย่างมาก หลังจากที่มีการน�ำนาฬิกาที่มีจอแสดงผล แบบดิจิทัลโดยใช้คริสตัลเหลวมาใช้อย่างแพร่หลาย เครื่องบันทึกก็เป็น อุปกรณ์อีกชิ้นหนึ่งที่จะใช้สร้างแผนภาพคลื่นไหวสะเทือน (Seismogram) รูป 1.2 แผนภาพแสดงเครื่องวัดความไหวสะเทือน (ตรวจวัดในแนวดิ่ง)
  • 4. 4 แผ่นดินไหวที่ควรรู้ จากรูป 1.2 แผนภาพแสดงการท�ำงานของเครื่องวัดความไหว สะเทือน แผนภาพไม่ได้แสดงตัวบันทึกและนาฬิกา เครื่องวัดความไหวสะเทือนสมัยใหม่จะถูกควบคุมด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์และบางส่วนถูกแทนที่ด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ แต่ เครื่องวัดความไหวสะเทือนแบบดั้งเดิมนั้น เราสามารถที่จะมองเห็น ส่วนประกอบต่าง ๆ ได้อย่างชัดเจนดังแสดงในรูป 1.3 เนื่องจากปริภูมิ (Space) ประกอบด้วย 3 มิติ ดังนั้น เพื่อที่จะสามารถบันทึกการเคลื่อนที่ ที่เกิดขึ้นได้ทุกทิศทาง ในเครื่องมือหนึ่งชุดจึงประกอบเครื่องวัดความ ไหวสะเทือน 3 ชุดย่อยเพื่อวัดการสั่นสะเทือน 3 ทิศทาง ได้แก่ แนว เหนือ-ใต้ ตะวันออก-ตะวันตก และแนวดิ่ง เครื่องวัดความไหวสะเทือน ควรจะติดตั้งบนพื้นหินแข็งที่มั่นคงหรือในห้องใต้ดินเพื่อหลีกเลี่ยง สัญญาณรบกวนอื่น ๆ รูป 1.3 เครื่องวัดความไหวสะเทือนแบบดั้งเดิม
  • 5. 5 1 : การตรวจวัดแผ่นดินไหว จากรูป 1.3 ภาพแสดงชุดวัดความไหวสะเทือนในแนวเหนือ-ใต้ ตะวันออก-ตะวันตก และแนวดิ่ง เปรียบเทียบรูป 1.2 และ 1.3 เพื่อหา ตุ้มน�้ำหนัก สปริง และตัวหน่วงการสั่นสะเทือน การบันทึกท�ำโดยใช้ เข็มขูดให้เกิดเป็นรอยบนกระดาษรมควัน ในภาพไม่ได้แสดงนาฬิกา 2. เครือข่ายตรวจวัดแผ่นดินไหว (Seismic Network) ในการก�ำหนดหาปริมาณต่าง ๆ ของการศึกษาด้านแผ่นดินไหว ให้แม่นย�ำ เช่น จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว (Epicenter) ความลึกของ ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว (Focal depth) เวลาการเกิด (Origin time) หรือขนาด (Magnitude) จ�ำเป็นต้องใช้ระบบเครือข่ายสถานีตรวจวัดแผ่นดินไหว เนื่องจากขอบเขตของประเทศไทยค่อนข้างจ�ำกัด จึงมีการน�ำข้อมูลจาก เครือข่ายในระดับโลก (รูป 1.4) มาใช้ในการค�ำนวณหาปริมาณเหล่านี้ เพื่อให้เกิดความถูกต้องแม่นย�ำและเป็นกลางปราศจากการเอนเอียง โดยเฉพาะส�ำหรับกรณีการเกิดแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ ปัจจุบันข้อมูล เหล่านี้ถูกบันทึกและจัดเก็บไว้ในฐานข้อมูลของศูนย์ข้อมูลตรวจวัด แผ่นดินไหวต่าง ๆ ทั่วโลก ข้อมูลดังกล่าวสามารถเข้าถึงได้โดยผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ตโดยหน่วยงานที่ให้บริการที่เกี่ยวข้องกับแผ่นดิน ไหวหรือเพื่อวัตถุประสงค์ในการวิจัย และบริการดังกล่าวได้ขยายไปยัง บุคคลทั่วไปโดยผ่านช่องทางเว็บไซต์ (National Earthquake Information Center, NEIC)