SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
เป้าหมายการเรียนรู้
ž	 เข้าใจถึงความส�ำคัญของภาวะผู้น�ำ
ž	 เข้าใจความหมายของภาวะผู้น�ำ
ž	 เข้าใจความแตกต่างระหว่างผู้น�ำกับผู้บริหาร
ž	 เข้าใจตัวอย่างภาวะผู้น�ำที่ประสบความส�ำเร็จ
Chapter Outline
กิจกรรม : ผู้น�ำในทัศนะของฉัน
˜	 ความส�ำคัญของภาวะผู้น�ำ
˜	 ภาวะผู้น�ำคืออะไร
˜	 ผู้น�ำกับผู้บริหารแตกต่างกันอย่างไร
กิจกรรม : ผู้น�ำในดวงใจ
˜	 ภาวะผู้น�ำกับความส�ำเร็จในภาคธุรกิจ
˜	 ภาวะผู้น�ำกับความส�ำเร็จในระดับชุมชนและสังคม
ความส�ำคัญและ
ธรรมชาติของภาวะผู้น�ำ
Chapter 1
Importance and Nature of Leadership
1
_13-04(001-060)P2.indd 1 3/28/13 9:34 PM
<< 2 	 ภาวะผู้นำ� : ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนา
กิจกรรม 1-1 	ผู้น�ำในทัศนะของฉัน
ขอให้ท่านแสดงความคิดเห็นต่อค�ำถามดังต่อไปนี้
1.	“ฝูงสุนัขที่มีสิงโตน�ำ ดีกว่าฝูงสิงโตที่มีสุนัขน�ำ” ท่านเห็นด้วยกับค�ำกล่าวนี้หรือไม่อย่างไร ?
2.	จากประสบการณ์ของท่านผู้น�ำส�ำคัญอย่างไร?ผู้น�ำส�ำคัญต่อครอบครัว หน่วยงานองค์การ
	 สังคม ประเทศ นานาชาติ โลกอย่างไร ?
3.	ผู้น�ำ น�ำใคร ?
ความส�ำคัญของภาวะผู้น�ำ
มีค�ำกล่าวโบราณที่ว่า “ฝูงสุนัขที่มีสิงโตน�ำ ดีกว่าฝูงสิงโตที่มีสุนัขน�ำ” ความหมาย
โดยนัยหรือความแฝงของค�ำกล่าวนี้สะท้อนให้เห็นถึงความส�ำคัญของผู้น�ำในกลุ่ม ซึ่งหาก
กลุ่มมีผู้น�ำที่มีภาวะผู้น�ำสูงมีศักยภาพมีความสามารถเปรียบเทียบได้กับสิงโตที่เป็นสัตว์ที่มีความ
เป็นผู้น�ำ เป็นเจ้าป่า ฯลฯ แม้ว่าผู้ตามดูเหมือนภายนอกจะด้อยศักยภาพหรือความสามารถ ผู้น�ำก็
จะสามารถพัฒนาหรือดึงศักยภาพความสามารถ
ของผู้ตามออกมาได้ ท�ำให้กลุ่มนี้มีประสิทธิผล
มากกว่ากลุ่มที่ผู้น�ำมีภาวะผู้น�ำต�่ำแต่อาจได้มา
อยู่ในต�ำแหน่งผู้น�ำเนื่องจากเหตุผลต่าง ๆ (เช่น
การเมือง ผลประโยชน์ ความเป็นญาติพี่น้อง
พรรคพวกเดียวกันอาวุโสเส้นใหญ่เงินถึงฯลฯ)
แม้ว่าผู้ตามจะมีศักยภาพหรือความสามารถสูง
เพียงใดแต่ก็อาจจะไม่ได้ใช้ออกมาหรือสูญเปล่า
ไปได้หรือก็ไม่ได้รู้ตัวเองว่าตนมีศักยภาพหรือมี
ความเป็นผู้น�ำอยู่ในตัวด้วย เป็นเหมือนสิงโตที่ถูกล่ามโซ่อยู่ในกรง (หรือเหมือนในนิทานที่ลูกสิงโต
ก�ำพร้าหลงไปอยู่ฝูงแกะและถูกแม่แกะเลี้ยง จนมันคิดว่าตัวเองเป็นแกะ และด�ำเนินชีวิตเหมือนกับ
ว่าตัวมันเป็นแกะ โดยไม่รู้ตัวว่าตัวเองเป็นสิงโต จึงเป็นสิงโตที่ไม่ได้ใช้ศักยภาพของตนเองออกมา)
ซึ่งในสังคมปัจจุบันเราจะพบหรือได้ยินค�ำกล่าวบ่อยมากว่า ผู้น�ำที่ไม่ดี หรือผู้บริหารที่ไม่มีภาวะ
ผู้น�ำ จะส่งผลกระทบทางลบ เช่น ท�ำให้ครอบครัวแตกแยก ชุมชนล่มสลาย องค์การหรือบริษัท
ล้มละลายหรือขาดทุน หน่วยงานไม่เจริญก้าวหน้าหรือไม่มีผลงาน ไม่สามารถแข่งขันได้ ผู้ตาม
แตกแยกทะเลาะเบาะแว้ง อิจฉาริษยากัน หมดก�ำลังใจ หมดแรงหมดไฟท�ำงาน ไม่ได้ใช้ความ
	ข้อคิด
บุคคลที่มีความส�ำคัญในทุก ๆ ระดับของ
สังคม คือ บุคคลที่เป็นผู้น�ำ ผู้น�ำเป็นผู้ที่
มีความส�ำคัญต่อการอยู่รอด สวัสดิภาพ
ของสังคมและประเทศชาติ (พระธรรม
ปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต), 2545)
_13-04(001-060)P2.indd 2 3/28/13 9:34 PM
1
ความสำ�คัญและธรรมชาติของภาวะผู้นำ�	 3 >>
สามารถหรือศักยภาพ หรือหากอยู่ในระดับประเทศ ผู้น�ำที่ไม่ดีก็อาจจะส่งผลกระทบทางลบต่อ
ประเทศ เช่น ท�ำให้ประเทศล่มสลาย เกิดสงคราม ประชาชนอดอยาก ล�ำบากยากจน เป็นหนี้สิน
ไม่มีความสุข เกิดความขัดแย้งแตกแยก เกิดสงครามกลางเมือง ทรัพยากรธรรมชาติถูกท�ำลาย
เกิดการคอร์รัปชันในทุกระดับ ไม่สามารถแก้ไขปัญหาวิกฤติการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในประเทศนั้น ๆ
ได้ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาสังคม เศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดล้อม หรือภัยพิบัติทางธรรมชาติ ดังนั้น
ความส�ำคัญของผู้น�ำสรุปได้ดังแนวคิดของท่านพระพรหมคุณาภรณ์ (พระธรรมปิฎก, 2545) ที่
กล่าวว่า บุคคลที่มีความส�ำคัญต่อความส�ำเร็จในทุกระดับของสังคมคือบุคคลที่เป็นผู้น�ำ และ
ผู้น�ำเป็นผู้ที่มีความส�ำคัญของการอยู่รอดต่อสวัสดิภาพของสังคม ประเทศชาติ รวมถึงโลกด้วย
ในอดีตตั้งแต่โบราณกาล มีการกล่าวถึงภาวะผู้น�ำของผู้น�ำหรือผู้ปกครอง เช่น ในยุค
อารยธรรมของการล่าสัตว์ ผู้ปกครองที่มีภาวะผู้น�ำที่ดีจะท�ำให้กลุ่มหรือเผ่าของพวกเขาอยู่รอด
มีอาหารการกินมีความสุขและมีความสะดวกสบาย ต่อมาในยุคของการเกษตรกรรม มีการ
เพาะปลูกเก็บเกี่ยว ผู้น�ำกลุ่มต้องมีความเป็นตัวของตัวเอง พึ่งพาตนเองได้มีความเข้มแข็งสามารถ
ปกป้องกลุ่มตนเองได้จากอันตรายต่าง ๆ ทั้งจากพวกโจรและภัยธรรมชาติรูปแบบต่าง ๆ ของ
พฤติกรรมผู้น�ำที่มีการกล่าวถึงอาจจะมีความแตกต่างกันไปตามระยะเวลา และตามวัฒนธรรม
ต่าง ๆ แต่ก็พบว่ามีความเหมือนกันอย่างน่าประหลาดใจด้วยเช่นกัน ตัวอย่างเช่น การศึกษา
ทางมนุษยวิทยาในกลุ่มแรก ๆ ที่เกี่ยวกับภาวะผู้น�ำพบว่า ภาวะผู้น�ำเกิดขึ้นได้ในทุกที่ที่มีคนอยู่
ร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นวัฒนธรรมแบบใด ตั้งแต่ชาวบ้านที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้านที่โดดเดี่ยว ชนเผ่า
เร่ร่อนในทุ่งกว้าง หรือชาวประมงที่อาศัยตามหมู่เกาะต่าง ๆ หรือแม้แต่ในสังคมที่ยังไม่ปรากฏ
ว่ามีผู้น�ำที่เป็นผู้ปกครองหรือผู้น�ำที่ได้รับเลือกอย่างเป็นทางการ ก็พบว่ามีผู้น�ำที่เป็นผู้ริเริ่ม
การกระท�ำและการแสดงบทบาทที่ส�ำคัญในการตัดสินใจของกลุ่มเสมอ ๆ และพบว่าชีวิตในเชิง
สังคมของทุก ๆ สังคมไม่มีสังคมใดที่ไม่มีผู้น�ำ แม้ว่าบางสังคมจะไม่พบผู้น�ำเพียงคนเดียวหรือ
ภาวะผู้น�ำเดี่ยว แต่จะพบลักษณะภาวะผู้น�ำร่วมหรือพบว่ามีบุคคลที่มีภาวะผู้น�ำได้หลายคน (ซึ่ง
ในปัจจุบันภาวะผู้น�ำร่วมเป็นที่สนใจขององค์การในศตวรรษที่ 21 เป็นอย่างมาก เนื่องจาก
องค์การในยุคนี้ไม่มีสมาชิกคนใดคนหนึ่งในกลุ่มเพียงคนเดียวที่จะมีความเชี่ยวชาญและ
ประสบการณ์เพียงพอที่จะช่วยให้กลุ่มบรรลุเป้าหมายได้ ดังนั้นสมาชิกในกลุ่มต้องมีภาวะผู้น�ำ
เพื่อจะได้สามารถผลัดกันเป็นผู้น�ำได้) (Bass & Bass, 2008)
ในยุคอุตสาหกรรม ซึ่งมีการเกิดขึ้นขององค์การโดยเฉพาะการเกิดโรงงานอุตสาหกรรม
การผลิต การค้าขาย การตลาด การจัดจ�ำหน่าย และการด�ำเนินการทางธุรกิจในรูปแบบต่าง ๆ
_13-04(001-060)P3.indd 3 4/11/13 10:25 PM
<< 4 	 ภาวะผู้นำ� : ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนา
ก็พบเช่นเดียวกันว่าองค์การใดมีผู้น�ำ ผู้บริหาร หรือแม้แต่พนักงาน ที่มีภาวะผู้น�ำก็ส่งผลให้
องค์การ ธุรกิจนั้น ๆ ประสบความส�ำเร็จ หรือเป็นองค์การที่ยอดเยี่ยมได้ พนักงานในองค์การนั้น ๆ
ก็ได้รับการจ่ายค่าจ้างและการปฏิบัติอย่างยุติธรรม มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุข ได้รับการพัฒนา
ศักยภาพและความสามารถอย่างเต็มที่ และในยุคปัจจุบันซึ่งอาจจะเรียกว่าเป็นยุคของข้อมูล
ข่าวสาร เราก็ยังพบเช่นเดียวกันว่าภาวะผู้น�ำยังเป็นเรื่องส�ำคัญ เห็นได้จากข้อมูลเชิงประจักษ์จาก
องค์การที่ได้รับการยอมรับว่าประสบความส�ำเร็จอย่างสูงโดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี
หรือข้อมูลข่าวสาร ตัวอย่างบริษัทผู้ผลิตสินค้าหรือบริการ เช่น Apple, Google, Microsoft,
Facebook ฯลฯ เป็นที่ยอมรับกันว่าผู้น�ำมีผลต่อความส�ำเร็จขององค์การนั้น ๆ เช่น Steve Job
มีอิทธิพลอย่างสูงสุดกับความส�ำเร็จของ Apple หรือ Sergey Brin และ Larry Page กับการ
เกิดและความส�ำเร็จของ Google และ Bill Gates กับความส�ำเร็จของ Microsoft นอกจากนี้
ผู้น�ำที่มีอิทธิพลตั้งแต่วัยหนุ่ม คือ Mark Zuckerberg กับความส�ำเร็จของ Facebook ส่วน
ในประเทศไทยผู้น�ำหรือผู้บริหาร เช่น ธนินทร์ เจียรวนนท์ มีอิทธิพลสูงสุดกับความส�ำเร็จของ
บริษัทในเครือของซีพี หรือ เฉลียว อยู่วิทยา กับความส�ำเร็จของกระทิงแดงและบริษัทต่าง ๆ ใน
ธุรกิจที่เขาเป็นเจ้าของ หรือ อิทธิพัทธ์ กุลพงษ์วณิชย์ กับความส�ำเร็จของบริษัทเถ้าแก่น้อย
ภาพ 1-1		(ซ้าย) องค์การที่ประสบการณ์ความส�ำเร็จระดับโลก
	 	 					(ขวา) Mark Zuckerberg ผู้น�ำรุ่นใหม่ที่น�ำพาองค์การสู่ความส�ำเร็จ  
	 	 					(ที่มา : 2010 The World’s most admired companies โดยนิตยสารฟอร์จูน; Person
of the year 2010 โดยนิตยสารไทม์)
การศึกษาเกี่ยวกับภาวะผู้น�ำตั้งแต่ในอดีตเคยมีข้อถกเถียงกันว่า ภาวะผู้น�ำเป็นเพียง
เรื่องราวที่สร้างขึ้นในจินตนาการหรือเปล่า เหมือนเรื่องราวที่เขียนกันอยู่ในนวนิยายโรแมนติก
_13-04(001-060)P3.indd 4 4/11/13 10:25 PM
1
ความสำ�คัญและธรรมชาติของภาวะผู้นำ�	 5 >>
ทั่วไปหรือเปล่า มีประโยชน์จริงหรือเปล่าที่จะไปเสียเวลาศึกษาเรื่องภาวะผู้น�ำนี้ หรือนักวิจารณ์
บางคนอ้างว่า ความส�ำเร็จขององค์การที่ระบุว่าเป็นผลจากความพยายามของผู้น�ำนั้น ความ
เป็นจริงแล้วเป็นผลมาจากปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมและปัจจัยอื่น ๆ ขององค์การมากกว่า อย่างไร
ก็ตาม ภายหลังพบผลการศึกษาวิจัยเชิงประจักษ์จ�ำนวนมากที่แสดงให้เห็นว่า ภาวะผู้น�ำมีอิทธิพล
ต่อประสิทธิผลขององค์การ ความส�ำเร็จขององค์การ บุคลากร หรือพนักงานขององค์การ และ
บ่อยครั้งพบว่าภาวะผู้น�ำเป็นปัจจัยที่ส�ำคัญที่สุดในการก�ำหนดความส�ำเร็จและความล้มเหลว
ขององค์การ
	Bass และ Bass (2008) ได้สรุปตัวอย่างผลการศึกษาวิจัยที่สนับสนุนความส�ำคัญของ
ภาวะผู้น�ำในกลุ่มต่าง ๆ ดังนี้ เช่น ผลการศึกษาความพึงพอใจที่ศึกษาในช่วงทศวรรษที่ 1920
แสดงให้เห็นความส�ำคัญของภาวะผู้น�ำ ผลการศึกษารายงานตรงกันว่า ทัศนคติที่ดีของพนักงาน
ต่อผู้บังคับบัญชาของพวกเขาท�ำให้เกิดความพึงพอใจของพนักงาน และในอีกด้านหนึ่งพบว่า
ทัศนคติที่ดีต่อผู้บังคับบัญชามีความสัมพันธ์กับผลผลิตในกลุ่มท�ำงาน (ตัวอย่างเช่น การศึกษา
ของ Lawshe & Nagle, 1953 cited in Bass & Bass, 2008) และนับตั้งแต่นั้นมาพบ
ผลการศึกษาจ�ำนวนมากสนับสนุนว่า ผู้น�ำสามารถสร้างความแตกต่างในความพึงพอใจและ
ผลการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา ตัวอย่างเช่น การศึกษาเปรียบเทียบความผูกพัน
ของพนักงานต่อองค์การกับความผูกพันของพนักงานต่อผู้บังคับบัญชาของพวกเขาและต่อ
ผู้บริหารระดับสูง พบว่าความผูกพันของพนักงานต่อผู้บังคับบัญชา มีความสัมพันธ์สูงกับ
ความพึงพอใจในการท�ำงาน ความตั้งใจไม่ลาออกจากงาน และพฤติกรรมเอื้อประโยชน์ต่อ
สังคม (prosocial) ของพนักงาน (Becker, 1992 cited in Bass & Bass, 2008) และมี
ความสัมพันธ์สูงกับผลการปฏิบัติงานของพนักงาน (Becker, Billings et al., 1996 cited in
Bass & Bass, 2008)
นอกเหนือจากนั้น ผู้น�ำยังสามารถสร้างความแตกต่างในด้านความส�ำเร็จหรือล้มเหลว
ขององค์การได้อีกด้วย โดยพบทั้งในองค์การภาครัฐและผู้บริหารในคณะรัฐบาลท้องถิ่น
(Abels, 1996 cited in Bass & Bass, 2008) ตัวอย่างเช่น การศึกษาวิวัฒนาการของธุรกิจค้าปลีก
พบว่าผู้บริหารอาวุโสสามารถปรับปรุงองค์การให้ประสบความส�ำเร็จได้ โดยการเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างและยุทธศาสตร์ขององค์การ (Mintberg & Water, 1982 cited in Bass & Bass,
2008) และยังมีการศึกษาความส�ำเร็จของผู้บริหารระดับสูง พบว่าความแตกต่างของผู้บริหาร
ระดับสูงสามารถอธิบายผลการปฏิบัติงานขององค์การได้ถึง 45 เปอร์เซ็นต์อย่างมีนัยส�ำคัญ
_13-04(001-060)P2.indd 5 3/28/13 9:34 PM
<< 6 	 ภาวะผู้นำ� : ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนา
ทางสถิติ นอกเหนือจากในองค์การทางธุรกิจแล้วยังพบในองค์การอื่น เช่น พบว่าภาวะผู้น�ำเป็น
ปัจจัยที่ส�ำคัญที่สุดต่อบรรยากาศของโรงเรียนและความส�ำเร็จของนักเรียน(Allen,1981cited
in Bass & Bass, 2008) และพบว่าแรงจูงใจของครูขึ้นอยู่กับคุณภาพของความสัมพันธ์กับ
ผู้บังคับบัญชาที่เหนือขึ้นไปของพวกเขา (Sylvia & Hutchison, 1985 cited in Bass & Bass,
2008) และมีการศึกษากับศาสนาจารย์ของพวก Methodist พบว่าประสิทธิผลของศาสนาจารย์
มีผลกระทบกับผลงานที่แตกต่างของพวกเขา เช่น ผู้ที่มาร่วมกิจกรรมที่โบสถ์ ความเป็นสมาชิก
ค่านิยม และการมีส่วนร่วมต่อศาสนจักรหรือโบสถ์นั้น รวมถึงมีการศึกษาในวงการทหาร พบ
ข้อมูลบันทึกไว้ว่าภาวะผู้น�ำเป็นปัจจัยที่ส�ำคัญที่มีอิทธิพลต่อความส�ำเร็จของกองทัพหรือ
กองก�ำลังทหารในหน่วยต่าง ๆ (เช่น การศึกษาของ Gal & Manning, 1984)
ภาพ 1-2  ภาวะผู้น�ำส่งผลต่อทั้งองค์การ กลุ่ม และบุคคล
จากภาพ 1-2 แสดงถึงผลสรุปจากงานวิจัยต่าง ๆ ที่แสดงให้เห็นถึงความส�ำคัญของภาวะ
ผู้น�ำ โดยพบว่า ภาวะผู้น�ำส่งผลหรือมีอิทธิพลทางบวกทั้งต่อองค์การ กลุ่ม และบุคคล ดังในรูป
ซึ่งมีงานวิจัยจ�ำนวนมากทั้งในและต่างประเทศนอกเหนือจากที่ได้กล่าวไปแล้วข้างต้นที่ยืนยันให้เห็น
ว่า ภาวะผู้น�ำของผู้บริหาร ของผู้บังคับบัญชาในทุกระดับ และรวมถึงของตัวพนักงานเอง ส่งผล
ต่อความส�ำเร็จของกลุ่ม ขององค์การ และมีความสัมพันธ์กับตัวแปรในหลายระดับ ดังตัวอย่าง
ต่อไปนี้
_13-04(001-060)P2.indd 6 3/28/13 9:34 PM
1
ความสำ�คัญและธรรมชาติของภาวะผู้นำ�	 7 >>
ตัวแปรระดับบุคคล เช่น ภาวะผู้น�ำของผู้บังคับบัญชาส่งผลต่อภาวะผู้น�ำของผู้ใต้บังคับ
บัญชา (รัตติกรณ์, 2547) ภาวะผู้น�ำมีความสัมพันธ์กับแรงจูงใจในการท�ำงาน (ศิริพร, 2542;
เกียรติคุณ, 2545; สุธรรม, 2549; เอื้อมพร, 2551) ภาวะผู้น�ำส่งผลต่อเชาวน์อารมณ์ (รัตติกรณ์,
2545, 2547; George, 2000) ภาวะผู้น�ำมีความสัมพันธ์หรือส่งผลต่อความพึงพอใจในการท�ำงาน
(ผ่องศรี, 2538; พวงทิพย์, 2538; ธนิตา, 2539; บัณฑิต, 2540; ดวงใจ, 2543; รัตติกรณ์, 2545,
2547, 2553; กุลิสรา และรัตติกรณ์, 2553; Tucker, 1990; Butler, Cantrell, & Flick, 1999;
Arving, 2007) ภาวะผู้น�ำมีความสัมพันธ์หรือส่งผลต่อความยึดมั่นผูกพันของพนักงาน (นิธิพรรณ
และรัตติกรณ์, 2553; รัตติกรณ์, 2553) ภาวะผู้น�ำส่งผลต่อการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การ
ของผู้ใต้บังคับบัญชา (รัตติกรณ์, 2547) ภาวะผู้น�ำมีความสัมพันธ์หรือส่งผลต่อพฤติกรรม
ความเป็นพลเมืองดีในองค์การ (Organizational Citizenship Behavior: OCB) (กันยา,
2546; เกษรา, 2547; รัตติกรณ์, 2547) ภาวะผู้น�ำมีความสัมพันธ์หรือส่งผลต่อผลการปฏิบัติงาน
ของพนักงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชา (เกียรติคุณ, 2545; โครงการ, 2545; จิตราภรณ์, 2545;
พรพรรณ, 2545; รัตติกรณ์, 2545, 2547, 2553; กนกวรรณ, 2546; ชาครียา, 2547; สุธรรม,
2549; จรีภรณ์ และรัตติกรณ์, 2550; ปวริศา, 2551; ณัฐยาพัชญ์ และรัตติกรณ์, 2552; รสสุคนธ์
และรัตติกรณ์, 2553; ศิริชัย และรัตติกรณ์, 2553; Sosik & Megerian, 1999; George, 2000)
และภาวะผู้น�ำมีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลของหัวหน้างาน (อิสระ และรัตติกรณ์, 2547)
ตัวแปรระดับกลุ่มหรือองค์การ เช่น ภาวะผู้น�ำมีความสัมพันธ์หรือส่งผลต่อประสิทธิผล
ของกลุ่มหรือองค์การ (กมลวรรณ, 2536; ประเสริฐ, 2538; ชาญ, 2551; Bass, 1994) ภาวะ
ผู้น�ำมีความสัมพันธ์กับความผูกพันกับกลุ่มหรือองค์การ (ดวงใจ, 2543; เบญจวรรณ, 2545;
พรพรรณ, 2545; กันยา, 2546) มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมองค์การ (Bass & Avolio, 1993; &
Jung, Bass, & Sosik, 1995) และมีอิทธิพลทางบวกต่อจิตวิญญาณในการท�ำงาน (รัตติกรณ์,
2553) การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ (สุรัญชนา, 2551) และส่งผลโดยมีอิทธิพลทางบวก
ต่อทัศนคติต่อธรรมาภิบาลและธรรมาภิบาล (รัตติกรณ์, 2553) ซึ่งตัวแปรต่าง ๆ เหล่านี้
จะเป็นส่วนส�ำคัญที่จะช่วยให้บุคลากรในองค์การและบุคคลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในงาน
สามารถท�ำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล น�ำไปสู่การบรรลุเป้าหมาย
ตามที่ทุกฝ่ายรวมถึงองค์การต้องการ
ช่วงเวลากว่า 10 ปีที่ผ่านมา พบว่าภาวะผู้น�ำเป็นประเด็นที่มีการศึกษาและวิจัยจ�ำนวน
มาก ภาวะผู้น�ำได้รับความสนใจ มีการกล่าวถึง และถกเถียงกันอย่างกว้างขวาง เห็นได้จากมี
_13-04(001-060)P3.indd 7 4/11/13 10:26 PM
<< 8 	 ภาวะผู้นำ� : ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนา
สิ่งพิมพ์ หนังสือ ต�ำรา บทความ ผลงานวิจัยเกี่ยวกับภาวะผู้น�ำที่มีตีพิมพ์จ�ำนวนมาก และ
มีหลักสูตรการฝึกอบรมพัฒนาภาวะผู้น�ำจ�ำนวนเพิ่มมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ตัวอย่างเช่น เมื่อ
ค้นหาค�ำว่า leadership ใน google แล้ว พบผลการค้นหาประมาณ 434,000,000 รายการ
และเมื่อค้นใน google scholar ซึ่งเป็นการค้นหาเอกสารทางวิชาการพบถึง 2,120,000 รายการ
ส่วนการค้นหาเอกสาร ต�ำรา และบทความที่มีจากเว็บไซต์ซื้อขายหนังสือออนไลน์ขนาดใหญ่
เช่น amazon.com พบว่ามีเอกสารหนังสือหรือต�ำราถึง 82,832 รายการ (ค้นหา ณ วันที่
21 พฤศจิกายน 2554) นอกจากนั้นในประเทศที่พัฒนาแล้ว และในกลุ่มผู้ที่มีความรู้หรือ
นักวิชาการ มีความพยายามอย่างมากที่จะศึกษาค้นคว้าหาแนวคิดทฤษฎีและข้อมูลเกี่ยวกับ
ภาวะผู้น�ำ ว่าท�ำอย่างไรจึงจะมีภาวะผู้น�ำที่มีประสิทธิผล ซึ่งคนจ�ำนวนมากตระหนักว่าภาวะ
ผู้น�ำจะเป็นหนทางน�ำพาพวกเขาไปสู่ความส�ำเร็จ
องค์การจ�ำนวนมากมีความต้องการพัฒนาผู้บริหารและพนักงานให้มีภาวะผู้น�ำ เพราะ
เห็นความส�ำคัญว่าภาวะผู้น�ำของบุคคลในองค์การจะท�ำให้องค์การมีประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น
นักบริหาร นักธุรกิจ นักวิชาการ และนักวิจัยในหลายสาขาที่ศึกษาเรื่องภาวะผู้น�ำ ต่างยอมรับว่า
ภาวะผู้น�ำของผู้น�ำ ผู้บริหาร ผู้บังคับบัญชาทุก ๆ ระดับ และรวมถึงภาวะผู้น�ำของพนักงานหรือ
ผู้ตาม มีความส�ำคัญต่อความส�ำเร็จของกลุ่ม ขององค์การ และการท�ำงานหรือท�ำกิจกรรมต่าง ๆ
ของกลุ่มให้บรรลุเป้าหมาย ซึ่งข้อเท็จจริงและองค์ความรู้เรื่องภาวะผู้น�ำนี้ ก็ยังเป็นเรื่องที่เถียง
กันอยู่ ยังต้องมีศึกษาค้นคว้าเสนอแนะแนวคิดใหม่ ๆ รวมถึงวิจัยเพื่อให้ได้ผลการศึกษาและพัฒนา
องค์ความรู้ เพื่อการน�ำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อไป
	ในสถาบันครอบครัวกล่าวกันว่า ภาวะผู้น�ำของพ่อหรือแม่ ส่งผลต่อความส�ำเร็จและ
การพัฒนาการด้านต่าง ๆ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม อารมณ์ จิตวิญญาณ สติปัญญา คุณธรรม
ความดีงาม รวมถึงความสุขของลูก ๆ ด้วย และในสถาบันการศึกษาตั้งแต่ระดับโรงเรียนไปจน
ถึงมหาวิทยาลัย ภาวะผู้น�ำของครูอาจารย์ก็ยังส่งผลต่อความส�ำเร็จของนักเรียนนิสิตนักศึกษา
ก่อให้เกิดการพัฒนาความรู้ ความสามารถ ศักยภาพ ความฉลาดทางสติปัญญา (intelligence)
การพัฒนาปัญญา (wisdom) รวมถึงการพัฒนาคุณธรรม และที่ส�ำคัญรวมถึงการพัฒนาภาวะผู้น�ำ
ของพวกเขาด้วย นอกจากนั้นแล้วภาวะผู้น�ำของผู้บริหารโรงเรียน หรือผู้บริหารมหาวิทยาลัย
ก็ยังส่งผลต่อการพัฒนาความสามารถ การใช้ศักยภาพ และแรงจูงใจในการท�ำงานของครู อาจารย์
บุคลากร รวมถึงการพัฒนาความส�ำเร็จของสถาบันการศึกษาเหล่านั้นด้วย
_13-04(001-060)P2.indd 8 3/28/13 9:34 PM
1
ความสำ�คัญและธรรมชาติของภาวะผู้นำ�	 9 >>
ในองค์การธุรกิจอุตสาหกรรม หากผู้บริหารหรือพนักงาน มีภาวะผู้น�ำที่ดี จะสามารถ
กระตุ้นจูงใจให้บุคคลอื่นเชื่อถือ ยอมรับ ท�ำให้เกิดความพยายามและความสามารถที่สูงขึ้น ใน
การที่จะท�ำงานบรรลุเป้าหมายร่วมกัน การท�ำให้บุคคลอื่นหรือฝ่ายต่าง ๆ เห็นความส�ำคัญของงาน
เห็นคุณค่าของงานและเห็นคุณค่าของตนเอง มีความสุขในการท�ำงานและมีความสุขในชีวิตของ
พวกเขา รวมถึงท�ำให้เกิดความร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจ กล้าคิดริเริ่ม กล้าตัดสินใจ มีการท�ำงาน
เป็นทีมที่มีประสิทธิผล มีการท�ำงานร่วมกันอย่างเต็มก�ำลังความสามารถ ช่วยกันป้องกันปัญหา
รวมถึงแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น ผลลัพธ์ที่ได้จาก
การท�ำงานนั้นจะเป็นผลที่แตกต่างและเป็นผลการปฏิบัติงานที่เหนือความคาดหมาย (beyond
expectations) ได้ และท�ำให้องค์การเป็นองค์การที่ยอดเยี่ยมและยิ่งใหญ่ได้
ในชุมชนท้องถิ่น ภาวะผู้น�ำของผู้น�ำชุมชนทั้งที่เป็นทางการ เช่น ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน นายก
อบต. (องค์การบริหารส่วนต�ำบล) หรือ อบจ. (องค์การบริหารส่วนจังหวัด) นายกเทศมนตรี หรือ
ผู้น�ำที่ไม่เป็นทางการ เช่น ผู้น�ำชาวบ้านหรือปราชญ์ชาวบ้านในหมู่บ้านต่าง ๆ ส่งผลต่อความส�ำเร็จ
ในการพัฒนากลุ่ม พัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน ช่วยในการป้องกันปัญหาหรือการแก้ปัญหาต่าง ๆ ใน
ชุมชนโดยเฉพาะในยามภาวะวิกฤติหรือมีภัยพิบัติและยังพบความส�ำคัญของภาวะผู้น�ำในองค์การ
ที่เกี่ยวข้องกับศาสนา เช่น ภาวะผู้น�ำของเจ้าอาวาสวัด พระภิกษุสงฆ์ พระหรือศาสนาจารย์
หรือบาทหลวง ก็ส่งผลต่อการเข้าถึงแก่นที่แท้จริงของหลักศาสนา การพัฒนาจิตวิญญาณ และ
การน�ำคุณธรรมของศาสนานั้นมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงของชาวบ้าน หรือผู้นับถือศาสนานั้น ๆ
หรือแม้แต่การช่วยแก้ไขหรือป้องกันปัญหาในชุมชนต่าง ๆ ที่วัดหรือโบสถ์นั้น ๆ ตั้งอยู่ รวมถึง
การช่วยพัฒนาคนในชุมชนเหล่านั้นให้มีสติและมีปัญญาที่แท้จริงด้วย
ในองค์การของรัฐหรือในวงการการเมือง ทั้งในระดับชาติ นานาชาติ ภาวะผู้น�ำของผู้น�ำ
หรือผู้บริหาร เช่น นายอ�ำเภอ ปลัดกระทรวง ผู้ว่าราชการจังหวัด สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือ
ส.ส. รัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี ประธานาธิบดี จนถึงพระมหากษัตริย์ ส่งผลต่อผลลัพธ์ในทางบวก
เช่น ความผาสุก (well being) และความสงบสุขของประชาชน การพัฒนาอย่างยั่งยืน ความส�ำเร็จ
ของชาติและส่วนรวมในด้านต่าง ๆ รวมถึงการแก้ไขปัญหาวิกฤติการณ์ทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ
การเมืองและสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ
ตัวอย่างข้อมูล ผลงาน ผลการศึกษาหรือผลการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความส�ำคัญของภาวะ
ผู้น�ำมีอยู่จ�ำนวนมาก ผู้สนใจสามารถติดตามอ่านได้จากแหล่งต่าง ๆ ทั้งหนังสือ ต�ำรา งานวิจัย
วารสาร เอกสาร เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องผู้น�ำหรือภาวะผู้น�ำ และที่จะกล่าวต่อไปในเนื้อหา
_13-04(001-060)P2.indd 9 3/28/13 9:34 PM
<< 10 	 ภาวะผู้นำ� : ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนา
ของหนังสือเล่มนี้ จะท�ำให้เราเห็นว่าท�ำไมภาวะผู้น�ำจึงเป็นปัจจัยที่ส�ำคัญ หรือเป็น “ประเด็นร้อน
(hot topic)” และมีความส�ำคัญอย่างยิ่งที่เราควรศึกษา พัฒนาให้มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์
ที่เกี่ยวกับภาวะผู้น�ำ เพื่อให้สามารถน�ำความรู้นี้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง กลุ่ม
องค์การ และสังคมโดยรวมต่อไป
ภาวะผู้น�ำคืออะไร
การศึกษาเรื่องผู้น�ำและภาวะผู้น�ำ เป็นที่ยอมรับกันว่ามีความส�ำคัญและมีการเริ่มต้น
ศึกษาตั้งแต่ในอดีตมาเป็นระยะเวลายาวนานมาก นักวิชาการด้านภาวะผู้น�ำได้ศึกษาและพบว่า
ภาวะผู้น�ำได้ถูกสร้างขึ้นในบริบทของความเป็นมนุษย์ (human psyche) เนื่องจากตั้งแต่มนุษย์
แรกเกิดมา เราต้องได้รับการเลี้ยงดูจากพ่อแม่หรือผู้ปกครอง ซึ่งเปรียบได้กับผู้น�ำของเราในวัยเด็ก
เมื่อเราเติบโตขึ้น ครู อาจารย์ เพื่อน พี่ และคนอื่น ๆ เริ่มเข้ามาเป็นผู้น�ำแทนที่ จนกระทั่งเราเป็น
ผู้ใหญ่ก็ยังคงได้รับอิทธิพลจากผู้น�ำคนอื่น ๆ ดังนั้นจึงไม่แปลกที่พบว่า ภาวะผู้น�ำเป็นปรากฏการณ์
สากล และมีความส�ำคัญต่อการพัฒนามนุษย์และการอยู่รอด จึงท�ำให้ค�ำว่าภาวะผู้น�ำเป็นค�ำที่
เก่าแก่ที่สุดค�ำหนึ่งในอารยธรรมของโลก นับตั้งแต่ในยุคของการล่าสัตว์ ยุคของการเกษตรกรรม
ยุคอุตสาหกรรม จนกระทั่งถึงยุคของความรู้หรือเทคโนโลยี ซึ่งจะพบว่าความส�ำเร็จของกลุ่ม
ของสังคมหรือของประเทศหรือของอารยธรรมต่าง ๆ นั้นขึ้นอยู่กับภาวะผู้น�ำของหัวหน้าหรือผู้น�ำ
ผู้ปกครอง ผู้บริหาร หรือของสมาชิกในกลุ่มเหล่านั้น
มีค�ำ 2 ค�ำ ที่มักจะถูกกล่าวถึง คือ ค�ำว่า ผู้น�ำ ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่า Leader และ
ค�ำว่า ภาวะผู้น�ำหรือความเป็นผู้น�ำ ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่า Leadership ทั้งสองค�ำนี้มี
การกล่าวถึงความหมายจ�ำนวนมากทั้งนักวิชาการและผู้ทรงคุณวุฒิในประเทศและต่างประเทศ
ดังตัวอย่างตัวไปนี้
ผู้ทรงคุณวุฒิในสังคมไทยได้มีการให้นิยามหรืออธิบายความหมายค�ำว่า “ผู้น�ำ” ไว้อย่างน่า
สนใจ เช่น พระพรหมคุณาภรณ์หรือพระธรรมปิฎก (2541) ให้ความหมายผู้น�ำว่า คือ บุคคลที่จะมา
ประสานช่วยให้คนทั้งหลายรวมกันโดยทั้งที่เป็นการอยู่รวมกันหรือท�ำการร่วมกันเพื่อไปสู่จุดหมาย
ที่ดีงาม ส่วน อานันท์ ปันยารชุน (2541) มีแนวคิดเพิ่มเติมเกี่ยวกับความหมายของผู้น�ำและ
กล่าวถึงภาวะผู้น�ำที่ดีว่า ผู้น�ำไม่ใช่ผู้ที่น�ำคนอื่น แต่ผู้น�ำที่ดี คือ ผู้ที่ผู้อื่นอยากเดินตาม และผู้น�ำต้อง
เป็นผู้ที่สามารถท�ำให้คนอื่นคล้อยตามเพราะมีศรัทธาต่อคน ๆ นั้น และประเวศ วะสี (2541) ให้
ความหมายผู้น�ำในเชิงขอบเขตที่กว้างขึ้นว่า ผู้น�ำคือ ผู้ที่สามารถก่อให้สังคมมีจุดมุ่งหมายร่วมกัน
_13-04(001-060)P2.indd 10 3/28/13 9:34 PM

Contenu connexe

Tendances

5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
Sarawut Tikummul
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
issareening
 
รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์
Thida Noodaeng
 
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
Thida Noodaeng
 
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
DuangdenSandee
 
การลักขโมย
การลักขโมยการลักขโมย
การลักขโมย
ChalantornSatayachiti
 

Tendances (20)

Instructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal EducationInstructional Design for Next Normal Education
Instructional Design for Next Normal Education
 
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
5.1จิตวิทยาการเรียนการสอน
 
ภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำภาวะผู้นำ
ภาวะผู้นำ
 
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการภาวะผู้นำทางวิชาการ
ภาวะผู้นำทางวิชาการ
 
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
ปรัชญาความเป็นผู้นำ1
 
รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์รัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์
 
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำบทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
บทที่ 7 อำนาจและภาวะผู้นำ
 
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
 
กรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICS
กรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICSกรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICS
กรณีศึกษา ไทยเบฟ สู่ BRICS
 
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษาแผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
แผนพัฒนาตนเองตำแหน่งรองผู้อำนวยการสถานศึกษา
 
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthreeผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
ผู้นำแห่งศตวรรษที่21 partthree
 
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรองลักษณะของการเจรจาต่อรอง
ลักษณะของการเจรจาต่อรอง
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนาบทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารการพัฒนา
 
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
 
คุณลักษณะนักบริหารมืออาชีพ [Professional manager]
คุณลักษณะนักบริหารมืออาชีพ [Professional manager]คุณลักษณะนักบริหารมืออาชีพ [Professional manager]
คุณลักษณะนักบริหารมืออาชีพ [Professional manager]
 
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศ
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศ
ความรู้ทั่วไปทางธุรกิจระหว่างประเทศ
 
Stem workshop summary
Stem workshop summaryStem workshop summary
Stem workshop summary
 
ผู้ประกอบการหน้าใหม่ : สตาร์ทอัพ (Startup)
ผู้ประกอบการหน้าใหม่ : สตาร์ทอัพ (Startup)ผู้ประกอบการหน้าใหม่ : สตาร์ทอัพ (Startup)
ผู้ประกอบการหน้าใหม่ : สตาร์ทอัพ (Startup)
 
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด cเนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
 
การลักขโมย
การลักขโมยการลักขโมย
การลักขโมย
 

Similaire à ภาวะผู้นำ ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนา

พัฒนาตนเอง Managing oneself
พัฒนาตนเอง Managing oneself พัฒนาตนเอง Managing oneself
พัฒนาตนเอง Managing oneself
maruay songtanin
 
โครงการสัมมนาใช้จริง
โครงการสัมมนาใช้จริงโครงการสัมมนาใช้จริง
โครงการสัมมนาใช้จริง
thawiwat dasdsadas
 
ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคแรก Strategic leadership system 1
ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคแรก Strategic leadership system 1 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคแรก Strategic leadership system 1
ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคแรก Strategic leadership system 1
maruay songtanin
 
Presentation Km1
Presentation Km1Presentation Km1
Presentation Km1
guest91dee6
 
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
guest817d3d
 
การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ High performance culture
การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ High performance culture การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ High performance culture
การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ High performance culture
maruay songtanin
 
ทัศนคติกับความสำเร็จ
ทัศนคติกับความสำเร็จทัศนคติกับความสำเร็จ
ทัศนคติกับความสำเร็จ
pyopyo
 

Similaire à ภาวะผู้นำ ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนา (20)

พัฒนาตนเอง Managing oneself
พัฒนาตนเอง Managing oneself พัฒนาตนเอง Managing oneself
พัฒนาตนเอง Managing oneself
 
โครงการสัมมนาใช้จริง
โครงการสัมมนาใช้จริงโครงการสัมมนาใช้จริง
โครงการสัมมนาใช้จริง
 
ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคแรก Strategic leadership system 1
ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคแรก Strategic leadership system 1 ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคแรก Strategic leadership system 1
ระบบการนำอย่างมีกลยุทธ์ ภาคแรก Strategic leadership system 1
 
Cw059 01 บทบาทของนักบริหารการศึกษา
Cw059 01 บทบาทของนักบริหารการศึกษาCw059 01 บทบาทของนักบริหารการศึกษา
Cw059 01 บทบาทของนักบริหารการศึกษา
 
หลักการบริหาร
หลักการบริหารหลักการบริหาร
หลักการบริหาร
 
Introducing Leadermaker
Introducing LeadermakerIntroducing Leadermaker
Introducing Leadermaker
 
Introducing Leadermaker app (iOS and Android) - THAI VERSION
Introducing Leadermaker app (iOS and Android) - THAI VERSIONIntroducing Leadermaker app (iOS and Android) - THAI VERSION
Introducing Leadermaker app (iOS and Android) - THAI VERSION
 
Introducing Leadermaker app (iOS and Android) - THAI VERSION
Introducing Leadermaker app (iOS and Android) - THAI VERSIONIntroducing Leadermaker app (iOS and Android) - THAI VERSION
Introducing Leadermaker app (iOS and Android) - THAI VERSION
 
ภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษาภาวะผู้นำทางการศึกษา
ภาวะผู้นำทางการศึกษา
 
Presentation Km1
Presentation Km1Presentation Km1
Presentation Km1
 
Leadership
LeadershipLeadership
Leadership
 
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ[บทที่10]ภาวะผู้นำ
[บทที่10]ภาวะผู้นำ
 
การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ High performance culture
การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ High performance culture การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ High performance culture
การสร้างวัฒนธรรมสู่ความเป็นเลิศ High performance culture
 
เกณฑ์ Baldrige criteria 2015 2016
เกณฑ์ Baldrige criteria 2015 2016 เกณฑ์ Baldrige criteria 2015 2016
เกณฑ์ Baldrige criteria 2015 2016
 
ทัศนคติกับความสำเร็จ
ทัศนคติกับความสำเร็จทัศนคติกับความสำเร็จ
ทัศนคติกับความสำเร็จ
 
Change for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management toolsChange for the future : New concept and New management tools
Change for the future : New concept and New management tools
 
9789740335832
97897403358329789740335832
9789740335832
 
Document
DocumentDocument
Document
 
Document
DocumentDocument
Document
 
Document
DocumentDocument
Document
 

Plus de CUPress (20)

9789740337737
97897403377379789740337737
9789740337737
 
9789740337560
97897403375609789740337560
9789740337560
 
9789740337478
97897403374789789740337478
9789740337478
 
9789740337270
97897403372709789740337270
9789740337270
 
9789740337102
97897403371029789740337102
9789740337102
 
9789740337096
97897403370969789740337096
9789740337096
 
9789740337072
97897403370729789740337072
9789740337072
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
9789740336914
97897403369149789740336914
9789740336914
 
9789740336907
97897403369079789740336907
9789740336907
 
9789740336686
97897403366869789740336686
9789740336686
 
9789740336457
97897403364579789740336457
9789740336457
 
9789740336440
97897403364409789740336440
9789740336440
 
9789740336389
97897403363899789740336389
9789740336389
 
9789740336280
97897403362809789740336280
9789740336280
 
9789740336365
97897403363659789740336365
9789740336365
 
9789740336303
97897403363039789740336303
9789740336303
 
9789740336242
97897403362429789740336242
9789740336242
 
9789740336235
97897403362359789740336235
9789740336235
 
9789740336099
97897403360999789740336099
9789740336099
 

ภาวะผู้นำ ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนา

  • 1. เป้าหมายการเรียนรู้ ž เข้าใจถึงความส�ำคัญของภาวะผู้น�ำ ž เข้าใจความหมายของภาวะผู้น�ำ ž เข้าใจความแตกต่างระหว่างผู้น�ำกับผู้บริหาร ž เข้าใจตัวอย่างภาวะผู้น�ำที่ประสบความส�ำเร็จ Chapter Outline กิจกรรม : ผู้น�ำในทัศนะของฉัน ˜ ความส�ำคัญของภาวะผู้น�ำ ˜ ภาวะผู้น�ำคืออะไร ˜ ผู้น�ำกับผู้บริหารแตกต่างกันอย่างไร กิจกรรม : ผู้น�ำในดวงใจ ˜ ภาวะผู้น�ำกับความส�ำเร็จในภาคธุรกิจ ˜ ภาวะผู้น�ำกับความส�ำเร็จในระดับชุมชนและสังคม ความส�ำคัญและ ธรรมชาติของภาวะผู้น�ำ Chapter 1 Importance and Nature of Leadership 1 _13-04(001-060)P2.indd 1 3/28/13 9:34 PM
  • 2. << 2 ภาวะผู้นำ� : ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนา กิจกรรม 1-1 ผู้น�ำในทัศนะของฉัน ขอให้ท่านแสดงความคิดเห็นต่อค�ำถามดังต่อไปนี้ 1. “ฝูงสุนัขที่มีสิงโตน�ำ ดีกว่าฝูงสิงโตที่มีสุนัขน�ำ” ท่านเห็นด้วยกับค�ำกล่าวนี้หรือไม่อย่างไร ? 2. จากประสบการณ์ของท่านผู้น�ำส�ำคัญอย่างไร?ผู้น�ำส�ำคัญต่อครอบครัว หน่วยงานองค์การ สังคม ประเทศ นานาชาติ โลกอย่างไร ? 3. ผู้น�ำ น�ำใคร ? ความส�ำคัญของภาวะผู้น�ำ มีค�ำกล่าวโบราณที่ว่า “ฝูงสุนัขที่มีสิงโตน�ำ ดีกว่าฝูงสิงโตที่มีสุนัขน�ำ” ความหมาย โดยนัยหรือความแฝงของค�ำกล่าวนี้สะท้อนให้เห็นถึงความส�ำคัญของผู้น�ำในกลุ่ม ซึ่งหาก กลุ่มมีผู้น�ำที่มีภาวะผู้น�ำสูงมีศักยภาพมีความสามารถเปรียบเทียบได้กับสิงโตที่เป็นสัตว์ที่มีความ เป็นผู้น�ำ เป็นเจ้าป่า ฯลฯ แม้ว่าผู้ตามดูเหมือนภายนอกจะด้อยศักยภาพหรือความสามารถ ผู้น�ำก็ จะสามารถพัฒนาหรือดึงศักยภาพความสามารถ ของผู้ตามออกมาได้ ท�ำให้กลุ่มนี้มีประสิทธิผล มากกว่ากลุ่มที่ผู้น�ำมีภาวะผู้น�ำต�่ำแต่อาจได้มา อยู่ในต�ำแหน่งผู้น�ำเนื่องจากเหตุผลต่าง ๆ (เช่น การเมือง ผลประโยชน์ ความเป็นญาติพี่น้อง พรรคพวกเดียวกันอาวุโสเส้นใหญ่เงินถึงฯลฯ) แม้ว่าผู้ตามจะมีศักยภาพหรือความสามารถสูง เพียงใดแต่ก็อาจจะไม่ได้ใช้ออกมาหรือสูญเปล่า ไปได้หรือก็ไม่ได้รู้ตัวเองว่าตนมีศักยภาพหรือมี ความเป็นผู้น�ำอยู่ในตัวด้วย เป็นเหมือนสิงโตที่ถูกล่ามโซ่อยู่ในกรง (หรือเหมือนในนิทานที่ลูกสิงโต ก�ำพร้าหลงไปอยู่ฝูงแกะและถูกแม่แกะเลี้ยง จนมันคิดว่าตัวเองเป็นแกะ และด�ำเนินชีวิตเหมือนกับ ว่าตัวมันเป็นแกะ โดยไม่รู้ตัวว่าตัวเองเป็นสิงโต จึงเป็นสิงโตที่ไม่ได้ใช้ศักยภาพของตนเองออกมา) ซึ่งในสังคมปัจจุบันเราจะพบหรือได้ยินค�ำกล่าวบ่อยมากว่า ผู้น�ำที่ไม่ดี หรือผู้บริหารที่ไม่มีภาวะ ผู้น�ำ จะส่งผลกระทบทางลบ เช่น ท�ำให้ครอบครัวแตกแยก ชุมชนล่มสลาย องค์การหรือบริษัท ล้มละลายหรือขาดทุน หน่วยงานไม่เจริญก้าวหน้าหรือไม่มีผลงาน ไม่สามารถแข่งขันได้ ผู้ตาม แตกแยกทะเลาะเบาะแว้ง อิจฉาริษยากัน หมดก�ำลังใจ หมดแรงหมดไฟท�ำงาน ไม่ได้ใช้ความ  ข้อคิด บุคคลที่มีความส�ำคัญในทุก ๆ ระดับของ สังคม คือ บุคคลที่เป็นผู้น�ำ ผู้น�ำเป็นผู้ที่ มีความส�ำคัญต่อการอยู่รอด สวัสดิภาพ ของสังคมและประเทศชาติ (พระธรรม ปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต), 2545) _13-04(001-060)P2.indd 2 3/28/13 9:34 PM
  • 3. 1 ความสำ�คัญและธรรมชาติของภาวะผู้นำ� 3 >> สามารถหรือศักยภาพ หรือหากอยู่ในระดับประเทศ ผู้น�ำที่ไม่ดีก็อาจจะส่งผลกระทบทางลบต่อ ประเทศ เช่น ท�ำให้ประเทศล่มสลาย เกิดสงคราม ประชาชนอดอยาก ล�ำบากยากจน เป็นหนี้สิน ไม่มีความสุข เกิดความขัดแย้งแตกแยก เกิดสงครามกลางเมือง ทรัพยากรธรรมชาติถูกท�ำลาย เกิดการคอร์รัปชันในทุกระดับ ไม่สามารถแก้ไขปัญหาวิกฤติการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในประเทศนั้น ๆ ได้ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาสังคม เศรษฐกิจ การเมือง สิ่งแวดล้อม หรือภัยพิบัติทางธรรมชาติ ดังนั้น ความส�ำคัญของผู้น�ำสรุปได้ดังแนวคิดของท่านพระพรหมคุณาภรณ์ (พระธรรมปิฎก, 2545) ที่ กล่าวว่า บุคคลที่มีความส�ำคัญต่อความส�ำเร็จในทุกระดับของสังคมคือบุคคลที่เป็นผู้น�ำ และ ผู้น�ำเป็นผู้ที่มีความส�ำคัญของการอยู่รอดต่อสวัสดิภาพของสังคม ประเทศชาติ รวมถึงโลกด้วย ในอดีตตั้งแต่โบราณกาล มีการกล่าวถึงภาวะผู้น�ำของผู้น�ำหรือผู้ปกครอง เช่น ในยุค อารยธรรมของการล่าสัตว์ ผู้ปกครองที่มีภาวะผู้น�ำที่ดีจะท�ำให้กลุ่มหรือเผ่าของพวกเขาอยู่รอด มีอาหารการกินมีความสุขและมีความสะดวกสบาย ต่อมาในยุคของการเกษตรกรรม มีการ เพาะปลูกเก็บเกี่ยว ผู้น�ำกลุ่มต้องมีความเป็นตัวของตัวเอง พึ่งพาตนเองได้มีความเข้มแข็งสามารถ ปกป้องกลุ่มตนเองได้จากอันตรายต่าง ๆ ทั้งจากพวกโจรและภัยธรรมชาติรูปแบบต่าง ๆ ของ พฤติกรรมผู้น�ำที่มีการกล่าวถึงอาจจะมีความแตกต่างกันไปตามระยะเวลา และตามวัฒนธรรม ต่าง ๆ แต่ก็พบว่ามีความเหมือนกันอย่างน่าประหลาดใจด้วยเช่นกัน ตัวอย่างเช่น การศึกษา ทางมนุษยวิทยาในกลุ่มแรก ๆ ที่เกี่ยวกับภาวะผู้น�ำพบว่า ภาวะผู้น�ำเกิดขึ้นได้ในทุกที่ที่มีคนอยู่ ร่วมกัน ไม่ว่าจะเป็นวัฒนธรรมแบบใด ตั้งแต่ชาวบ้านที่อาศัยอยู่ในหมู่บ้านที่โดดเดี่ยว ชนเผ่า เร่ร่อนในทุ่งกว้าง หรือชาวประมงที่อาศัยตามหมู่เกาะต่าง ๆ หรือแม้แต่ในสังคมที่ยังไม่ปรากฏ ว่ามีผู้น�ำที่เป็นผู้ปกครองหรือผู้น�ำที่ได้รับเลือกอย่างเป็นทางการ ก็พบว่ามีผู้น�ำที่เป็นผู้ริเริ่ม การกระท�ำและการแสดงบทบาทที่ส�ำคัญในการตัดสินใจของกลุ่มเสมอ ๆ และพบว่าชีวิตในเชิง สังคมของทุก ๆ สังคมไม่มีสังคมใดที่ไม่มีผู้น�ำ แม้ว่าบางสังคมจะไม่พบผู้น�ำเพียงคนเดียวหรือ ภาวะผู้น�ำเดี่ยว แต่จะพบลักษณะภาวะผู้น�ำร่วมหรือพบว่ามีบุคคลที่มีภาวะผู้น�ำได้หลายคน (ซึ่ง ในปัจจุบันภาวะผู้น�ำร่วมเป็นที่สนใจขององค์การในศตวรรษที่ 21 เป็นอย่างมาก เนื่องจาก องค์การในยุคนี้ไม่มีสมาชิกคนใดคนหนึ่งในกลุ่มเพียงคนเดียวที่จะมีความเชี่ยวชาญและ ประสบการณ์เพียงพอที่จะช่วยให้กลุ่มบรรลุเป้าหมายได้ ดังนั้นสมาชิกในกลุ่มต้องมีภาวะผู้น�ำ เพื่อจะได้สามารถผลัดกันเป็นผู้น�ำได้) (Bass & Bass, 2008) ในยุคอุตสาหกรรม ซึ่งมีการเกิดขึ้นขององค์การโดยเฉพาะการเกิดโรงงานอุตสาหกรรม การผลิต การค้าขาย การตลาด การจัดจ�ำหน่าย และการด�ำเนินการทางธุรกิจในรูปแบบต่าง ๆ _13-04(001-060)P3.indd 3 4/11/13 10:25 PM
  • 4. << 4 ภาวะผู้นำ� : ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนา ก็พบเช่นเดียวกันว่าองค์การใดมีผู้น�ำ ผู้บริหาร หรือแม้แต่พนักงาน ที่มีภาวะผู้น�ำก็ส่งผลให้ องค์การ ธุรกิจนั้น ๆ ประสบความส�ำเร็จ หรือเป็นองค์การที่ยอดเยี่ยมได้ พนักงานในองค์การนั้น ๆ ก็ได้รับการจ่ายค่าจ้างและการปฏิบัติอย่างยุติธรรม มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีความสุข ได้รับการพัฒนา ศักยภาพและความสามารถอย่างเต็มที่ และในยุคปัจจุบันซึ่งอาจจะเรียกว่าเป็นยุคของข้อมูล ข่าวสาร เราก็ยังพบเช่นเดียวกันว่าภาวะผู้น�ำยังเป็นเรื่องส�ำคัญ เห็นได้จากข้อมูลเชิงประจักษ์จาก องค์การที่ได้รับการยอมรับว่าประสบความส�ำเร็จอย่างสูงโดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยี หรือข้อมูลข่าวสาร ตัวอย่างบริษัทผู้ผลิตสินค้าหรือบริการ เช่น Apple, Google, Microsoft, Facebook ฯลฯ เป็นที่ยอมรับกันว่าผู้น�ำมีผลต่อความส�ำเร็จขององค์การนั้น ๆ เช่น Steve Job มีอิทธิพลอย่างสูงสุดกับความส�ำเร็จของ Apple หรือ Sergey Brin และ Larry Page กับการ เกิดและความส�ำเร็จของ Google และ Bill Gates กับความส�ำเร็จของ Microsoft นอกจากนี้ ผู้น�ำที่มีอิทธิพลตั้งแต่วัยหนุ่ม คือ Mark Zuckerberg กับความส�ำเร็จของ Facebook ส่วน ในประเทศไทยผู้น�ำหรือผู้บริหาร เช่น ธนินทร์ เจียรวนนท์ มีอิทธิพลสูงสุดกับความส�ำเร็จของ บริษัทในเครือของซีพี หรือ เฉลียว อยู่วิทยา กับความส�ำเร็จของกระทิงแดงและบริษัทต่าง ๆ ใน ธุรกิจที่เขาเป็นเจ้าของ หรือ อิทธิพัทธ์ กุลพงษ์วณิชย์ กับความส�ำเร็จของบริษัทเถ้าแก่น้อย ภาพ 1-1 (ซ้าย) องค์การที่ประสบการณ์ความส�ำเร็จระดับโลก (ขวา) Mark Zuckerberg ผู้น�ำรุ่นใหม่ที่น�ำพาองค์การสู่ความส�ำเร็จ (ที่มา : 2010 The World’s most admired companies โดยนิตยสารฟอร์จูน; Person of the year 2010 โดยนิตยสารไทม์) การศึกษาเกี่ยวกับภาวะผู้น�ำตั้งแต่ในอดีตเคยมีข้อถกเถียงกันว่า ภาวะผู้น�ำเป็นเพียง เรื่องราวที่สร้างขึ้นในจินตนาการหรือเปล่า เหมือนเรื่องราวที่เขียนกันอยู่ในนวนิยายโรแมนติก _13-04(001-060)P3.indd 4 4/11/13 10:25 PM
  • 5. 1 ความสำ�คัญและธรรมชาติของภาวะผู้นำ� 5 >> ทั่วไปหรือเปล่า มีประโยชน์จริงหรือเปล่าที่จะไปเสียเวลาศึกษาเรื่องภาวะผู้น�ำนี้ หรือนักวิจารณ์ บางคนอ้างว่า ความส�ำเร็จขององค์การที่ระบุว่าเป็นผลจากความพยายามของผู้น�ำนั้น ความ เป็นจริงแล้วเป็นผลมาจากปัจจัยทางสิ่งแวดล้อมและปัจจัยอื่น ๆ ขององค์การมากกว่า อย่างไร ก็ตาม ภายหลังพบผลการศึกษาวิจัยเชิงประจักษ์จ�ำนวนมากที่แสดงให้เห็นว่า ภาวะผู้น�ำมีอิทธิพล ต่อประสิทธิผลขององค์การ ความส�ำเร็จขององค์การ บุคลากร หรือพนักงานขององค์การ และ บ่อยครั้งพบว่าภาวะผู้น�ำเป็นปัจจัยที่ส�ำคัญที่สุดในการก�ำหนดความส�ำเร็จและความล้มเหลว ขององค์การ Bass และ Bass (2008) ได้สรุปตัวอย่างผลการศึกษาวิจัยที่สนับสนุนความส�ำคัญของ ภาวะผู้น�ำในกลุ่มต่าง ๆ ดังนี้ เช่น ผลการศึกษาความพึงพอใจที่ศึกษาในช่วงทศวรรษที่ 1920 แสดงให้เห็นความส�ำคัญของภาวะผู้น�ำ ผลการศึกษารายงานตรงกันว่า ทัศนคติที่ดีของพนักงาน ต่อผู้บังคับบัญชาของพวกเขาท�ำให้เกิดความพึงพอใจของพนักงาน และในอีกด้านหนึ่งพบว่า ทัศนคติที่ดีต่อผู้บังคับบัญชามีความสัมพันธ์กับผลผลิตในกลุ่มท�ำงาน (ตัวอย่างเช่น การศึกษา ของ Lawshe & Nagle, 1953 cited in Bass & Bass, 2008) และนับตั้งแต่นั้นมาพบ ผลการศึกษาจ�ำนวนมากสนับสนุนว่า ผู้น�ำสามารถสร้างความแตกต่างในความพึงพอใจและ ผลการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา ตัวอย่างเช่น การศึกษาเปรียบเทียบความผูกพัน ของพนักงานต่อองค์การกับความผูกพันของพนักงานต่อผู้บังคับบัญชาของพวกเขาและต่อ ผู้บริหารระดับสูง พบว่าความผูกพันของพนักงานต่อผู้บังคับบัญชา มีความสัมพันธ์สูงกับ ความพึงพอใจในการท�ำงาน ความตั้งใจไม่ลาออกจากงาน และพฤติกรรมเอื้อประโยชน์ต่อ สังคม (prosocial) ของพนักงาน (Becker, 1992 cited in Bass & Bass, 2008) และมี ความสัมพันธ์สูงกับผลการปฏิบัติงานของพนักงาน (Becker, Billings et al., 1996 cited in Bass & Bass, 2008) นอกเหนือจากนั้น ผู้น�ำยังสามารถสร้างความแตกต่างในด้านความส�ำเร็จหรือล้มเหลว ขององค์การได้อีกด้วย โดยพบทั้งในองค์การภาครัฐและผู้บริหารในคณะรัฐบาลท้องถิ่น (Abels, 1996 cited in Bass & Bass, 2008) ตัวอย่างเช่น การศึกษาวิวัฒนาการของธุรกิจค้าปลีก พบว่าผู้บริหารอาวุโสสามารถปรับปรุงองค์การให้ประสบความส�ำเร็จได้ โดยการเปลี่ยนแปลง โครงสร้างและยุทธศาสตร์ขององค์การ (Mintberg & Water, 1982 cited in Bass & Bass, 2008) และยังมีการศึกษาความส�ำเร็จของผู้บริหารระดับสูง พบว่าความแตกต่างของผู้บริหาร ระดับสูงสามารถอธิบายผลการปฏิบัติงานขององค์การได้ถึง 45 เปอร์เซ็นต์อย่างมีนัยส�ำคัญ _13-04(001-060)P2.indd 5 3/28/13 9:34 PM
  • 6. << 6 ภาวะผู้นำ� : ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนา ทางสถิติ นอกเหนือจากในองค์การทางธุรกิจแล้วยังพบในองค์การอื่น เช่น พบว่าภาวะผู้น�ำเป็น ปัจจัยที่ส�ำคัญที่สุดต่อบรรยากาศของโรงเรียนและความส�ำเร็จของนักเรียน(Allen,1981cited in Bass & Bass, 2008) และพบว่าแรงจูงใจของครูขึ้นอยู่กับคุณภาพของความสัมพันธ์กับ ผู้บังคับบัญชาที่เหนือขึ้นไปของพวกเขา (Sylvia & Hutchison, 1985 cited in Bass & Bass, 2008) และมีการศึกษากับศาสนาจารย์ของพวก Methodist พบว่าประสิทธิผลของศาสนาจารย์ มีผลกระทบกับผลงานที่แตกต่างของพวกเขา เช่น ผู้ที่มาร่วมกิจกรรมที่โบสถ์ ความเป็นสมาชิก ค่านิยม และการมีส่วนร่วมต่อศาสนจักรหรือโบสถ์นั้น รวมถึงมีการศึกษาในวงการทหาร พบ ข้อมูลบันทึกไว้ว่าภาวะผู้น�ำเป็นปัจจัยที่ส�ำคัญที่มีอิทธิพลต่อความส�ำเร็จของกองทัพหรือ กองก�ำลังทหารในหน่วยต่าง ๆ (เช่น การศึกษาของ Gal & Manning, 1984) ภาพ 1-2 ภาวะผู้น�ำส่งผลต่อทั้งองค์การ กลุ่ม และบุคคล จากภาพ 1-2 แสดงถึงผลสรุปจากงานวิจัยต่าง ๆ ที่แสดงให้เห็นถึงความส�ำคัญของภาวะ ผู้น�ำ โดยพบว่า ภาวะผู้น�ำส่งผลหรือมีอิทธิพลทางบวกทั้งต่อองค์การ กลุ่ม และบุคคล ดังในรูป ซึ่งมีงานวิจัยจ�ำนวนมากทั้งในและต่างประเทศนอกเหนือจากที่ได้กล่าวไปแล้วข้างต้นที่ยืนยันให้เห็น ว่า ภาวะผู้น�ำของผู้บริหาร ของผู้บังคับบัญชาในทุกระดับ และรวมถึงของตัวพนักงานเอง ส่งผล ต่อความส�ำเร็จของกลุ่ม ขององค์การ และมีความสัมพันธ์กับตัวแปรในหลายระดับ ดังตัวอย่าง ต่อไปนี้ _13-04(001-060)P2.indd 6 3/28/13 9:34 PM
  • 7. 1 ความสำ�คัญและธรรมชาติของภาวะผู้นำ� 7 >> ตัวแปรระดับบุคคล เช่น ภาวะผู้น�ำของผู้บังคับบัญชาส่งผลต่อภาวะผู้น�ำของผู้ใต้บังคับ บัญชา (รัตติกรณ์, 2547) ภาวะผู้น�ำมีความสัมพันธ์กับแรงจูงใจในการท�ำงาน (ศิริพร, 2542; เกียรติคุณ, 2545; สุธรรม, 2549; เอื้อมพร, 2551) ภาวะผู้น�ำส่งผลต่อเชาวน์อารมณ์ (รัตติกรณ์, 2545, 2547; George, 2000) ภาวะผู้น�ำมีความสัมพันธ์หรือส่งผลต่อความพึงพอใจในการท�ำงาน (ผ่องศรี, 2538; พวงทิพย์, 2538; ธนิตา, 2539; บัณฑิต, 2540; ดวงใจ, 2543; รัตติกรณ์, 2545, 2547, 2553; กุลิสรา และรัตติกรณ์, 2553; Tucker, 1990; Butler, Cantrell, & Flick, 1999; Arving, 2007) ภาวะผู้น�ำมีความสัมพันธ์หรือส่งผลต่อความยึดมั่นผูกพันของพนักงาน (นิธิพรรณ และรัตติกรณ์, 2553; รัตติกรณ์, 2553) ภาวะผู้น�ำส่งผลต่อการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การ ของผู้ใต้บังคับบัญชา (รัตติกรณ์, 2547) ภาวะผู้น�ำมีความสัมพันธ์หรือส่งผลต่อพฤติกรรม ความเป็นพลเมืองดีในองค์การ (Organizational Citizenship Behavior: OCB) (กันยา, 2546; เกษรา, 2547; รัตติกรณ์, 2547) ภาวะผู้น�ำมีความสัมพันธ์หรือส่งผลต่อผลการปฏิบัติงาน ของพนักงานหรือผู้ใต้บังคับบัญชา (เกียรติคุณ, 2545; โครงการ, 2545; จิตราภรณ์, 2545; พรพรรณ, 2545; รัตติกรณ์, 2545, 2547, 2553; กนกวรรณ, 2546; ชาครียา, 2547; สุธรรม, 2549; จรีภรณ์ และรัตติกรณ์, 2550; ปวริศา, 2551; ณัฐยาพัชญ์ และรัตติกรณ์, 2552; รสสุคนธ์ และรัตติกรณ์, 2553; ศิริชัย และรัตติกรณ์, 2553; Sosik & Megerian, 1999; George, 2000) และภาวะผู้น�ำมีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลของหัวหน้างาน (อิสระ และรัตติกรณ์, 2547) ตัวแปรระดับกลุ่มหรือองค์การ เช่น ภาวะผู้น�ำมีความสัมพันธ์หรือส่งผลต่อประสิทธิผล ของกลุ่มหรือองค์การ (กมลวรรณ, 2536; ประเสริฐ, 2538; ชาญ, 2551; Bass, 1994) ภาวะ ผู้น�ำมีความสัมพันธ์กับความผูกพันกับกลุ่มหรือองค์การ (ดวงใจ, 2543; เบญจวรรณ, 2545; พรพรรณ, 2545; กันยา, 2546) มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมองค์การ (Bass & Avolio, 1993; & Jung, Bass, & Sosik, 1995) และมีอิทธิพลทางบวกต่อจิตวิญญาณในการท�ำงาน (รัตติกรณ์, 2553) การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ (สุรัญชนา, 2551) และส่งผลโดยมีอิทธิพลทางบวก ต่อทัศนคติต่อธรรมาภิบาลและธรรมาภิบาล (รัตติกรณ์, 2553) ซึ่งตัวแปรต่าง ๆ เหล่านี้ จะเป็นส่วนส�ำคัญที่จะช่วยให้บุคลากรในองค์การและบุคคลอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในงาน สามารถท�ำงานร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล น�ำไปสู่การบรรลุเป้าหมาย ตามที่ทุกฝ่ายรวมถึงองค์การต้องการ ช่วงเวลากว่า 10 ปีที่ผ่านมา พบว่าภาวะผู้น�ำเป็นประเด็นที่มีการศึกษาและวิจัยจ�ำนวน มาก ภาวะผู้น�ำได้รับความสนใจ มีการกล่าวถึง และถกเถียงกันอย่างกว้างขวาง เห็นได้จากมี _13-04(001-060)P3.indd 7 4/11/13 10:26 PM
  • 8. << 8 ภาวะผู้นำ� : ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนา สิ่งพิมพ์ หนังสือ ต�ำรา บทความ ผลงานวิจัยเกี่ยวกับภาวะผู้น�ำที่มีตีพิมพ์จ�ำนวนมาก และ มีหลักสูตรการฝึกอบรมพัฒนาภาวะผู้น�ำจ�ำนวนเพิ่มมากขึ้นอย่างเห็นได้ชัด ตัวอย่างเช่น เมื่อ ค้นหาค�ำว่า leadership ใน google แล้ว พบผลการค้นหาประมาณ 434,000,000 รายการ และเมื่อค้นใน google scholar ซึ่งเป็นการค้นหาเอกสารทางวิชาการพบถึง 2,120,000 รายการ ส่วนการค้นหาเอกสาร ต�ำรา และบทความที่มีจากเว็บไซต์ซื้อขายหนังสือออนไลน์ขนาดใหญ่ เช่น amazon.com พบว่ามีเอกสารหนังสือหรือต�ำราถึง 82,832 รายการ (ค้นหา ณ วันที่ 21 พฤศจิกายน 2554) นอกจากนั้นในประเทศที่พัฒนาแล้ว และในกลุ่มผู้ที่มีความรู้หรือ นักวิชาการ มีความพยายามอย่างมากที่จะศึกษาค้นคว้าหาแนวคิดทฤษฎีและข้อมูลเกี่ยวกับ ภาวะผู้น�ำ ว่าท�ำอย่างไรจึงจะมีภาวะผู้น�ำที่มีประสิทธิผล ซึ่งคนจ�ำนวนมากตระหนักว่าภาวะ ผู้น�ำจะเป็นหนทางน�ำพาพวกเขาไปสู่ความส�ำเร็จ องค์การจ�ำนวนมากมีความต้องการพัฒนาผู้บริหารและพนักงานให้มีภาวะผู้น�ำ เพราะ เห็นความส�ำคัญว่าภาวะผู้น�ำของบุคคลในองค์การจะท�ำให้องค์การมีประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น นักบริหาร นักธุรกิจ นักวิชาการ และนักวิจัยในหลายสาขาที่ศึกษาเรื่องภาวะผู้น�ำ ต่างยอมรับว่า ภาวะผู้น�ำของผู้น�ำ ผู้บริหาร ผู้บังคับบัญชาทุก ๆ ระดับ และรวมถึงภาวะผู้น�ำของพนักงานหรือ ผู้ตาม มีความส�ำคัญต่อความส�ำเร็จของกลุ่ม ขององค์การ และการท�ำงานหรือท�ำกิจกรรมต่าง ๆ ของกลุ่มให้บรรลุเป้าหมาย ซึ่งข้อเท็จจริงและองค์ความรู้เรื่องภาวะผู้น�ำนี้ ก็ยังเป็นเรื่องที่เถียง กันอยู่ ยังต้องมีศึกษาค้นคว้าเสนอแนะแนวคิดใหม่ ๆ รวมถึงวิจัยเพื่อให้ได้ผลการศึกษาและพัฒนา องค์ความรู้ เพื่อการน�ำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อไป ในสถาบันครอบครัวกล่าวกันว่า ภาวะผู้น�ำของพ่อหรือแม่ ส่งผลต่อความส�ำเร็จและ การพัฒนาการด้านต่าง ๆ ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สังคม อารมณ์ จิตวิญญาณ สติปัญญา คุณธรรม ความดีงาม รวมถึงความสุขของลูก ๆ ด้วย และในสถาบันการศึกษาตั้งแต่ระดับโรงเรียนไปจน ถึงมหาวิทยาลัย ภาวะผู้น�ำของครูอาจารย์ก็ยังส่งผลต่อความส�ำเร็จของนักเรียนนิสิตนักศึกษา ก่อให้เกิดการพัฒนาความรู้ ความสามารถ ศักยภาพ ความฉลาดทางสติปัญญา (intelligence) การพัฒนาปัญญา (wisdom) รวมถึงการพัฒนาคุณธรรม และที่ส�ำคัญรวมถึงการพัฒนาภาวะผู้น�ำ ของพวกเขาด้วย นอกจากนั้นแล้วภาวะผู้น�ำของผู้บริหารโรงเรียน หรือผู้บริหารมหาวิทยาลัย ก็ยังส่งผลต่อการพัฒนาความสามารถ การใช้ศักยภาพ และแรงจูงใจในการท�ำงานของครู อาจารย์ บุคลากร รวมถึงการพัฒนาความส�ำเร็จของสถาบันการศึกษาเหล่านั้นด้วย _13-04(001-060)P2.indd 8 3/28/13 9:34 PM
  • 9. 1 ความสำ�คัญและธรรมชาติของภาวะผู้นำ� 9 >> ในองค์การธุรกิจอุตสาหกรรม หากผู้บริหารหรือพนักงาน มีภาวะผู้น�ำที่ดี จะสามารถ กระตุ้นจูงใจให้บุคคลอื่นเชื่อถือ ยอมรับ ท�ำให้เกิดความพยายามและความสามารถที่สูงขึ้น ใน การที่จะท�ำงานบรรลุเป้าหมายร่วมกัน การท�ำให้บุคคลอื่นหรือฝ่ายต่าง ๆ เห็นความส�ำคัญของงาน เห็นคุณค่าของงานและเห็นคุณค่าของตนเอง มีความสุขในการท�ำงานและมีความสุขในชีวิตของ พวกเขา รวมถึงท�ำให้เกิดความร่วมมือ ร่วมแรง ร่วมใจ กล้าคิดริเริ่ม กล้าตัดสินใจ มีการท�ำงาน เป็นทีมที่มีประสิทธิผล มีการท�ำงานร่วมกันอย่างเต็มก�ำลังความสามารถ ช่วยกันป้องกันปัญหา รวมถึงแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น ผลลัพธ์ที่ได้จาก การท�ำงานนั้นจะเป็นผลที่แตกต่างและเป็นผลการปฏิบัติงานที่เหนือความคาดหมาย (beyond expectations) ได้ และท�ำให้องค์การเป็นองค์การที่ยอดเยี่ยมและยิ่งใหญ่ได้ ในชุมชนท้องถิ่น ภาวะผู้น�ำของผู้น�ำชุมชนทั้งที่เป็นทางการ เช่น ก�ำนัน ผู้ใหญ่บ้าน นายก อบต. (องค์การบริหารส่วนต�ำบล) หรือ อบจ. (องค์การบริหารส่วนจังหวัด) นายกเทศมนตรี หรือ ผู้น�ำที่ไม่เป็นทางการ เช่น ผู้น�ำชาวบ้านหรือปราชญ์ชาวบ้านในหมู่บ้านต่าง ๆ ส่งผลต่อความส�ำเร็จ ในการพัฒนากลุ่ม พัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน ช่วยในการป้องกันปัญหาหรือการแก้ปัญหาต่าง ๆ ใน ชุมชนโดยเฉพาะในยามภาวะวิกฤติหรือมีภัยพิบัติและยังพบความส�ำคัญของภาวะผู้น�ำในองค์การ ที่เกี่ยวข้องกับศาสนา เช่น ภาวะผู้น�ำของเจ้าอาวาสวัด พระภิกษุสงฆ์ พระหรือศาสนาจารย์ หรือบาทหลวง ก็ส่งผลต่อการเข้าถึงแก่นที่แท้จริงของหลักศาสนา การพัฒนาจิตวิญญาณ และ การน�ำคุณธรรมของศาสนานั้นมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงของชาวบ้าน หรือผู้นับถือศาสนานั้น ๆ หรือแม้แต่การช่วยแก้ไขหรือป้องกันปัญหาในชุมชนต่าง ๆ ที่วัดหรือโบสถ์นั้น ๆ ตั้งอยู่ รวมถึง การช่วยพัฒนาคนในชุมชนเหล่านั้นให้มีสติและมีปัญญาที่แท้จริงด้วย ในองค์การของรัฐหรือในวงการการเมือง ทั้งในระดับชาติ นานาชาติ ภาวะผู้น�ำของผู้น�ำ หรือผู้บริหาร เช่น นายอ�ำเภอ ปลัดกระทรวง ผู้ว่าราชการจังหวัด สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือ ส.ส. รัฐมนตรี นายกรัฐมนตรี ประธานาธิบดี จนถึงพระมหากษัตริย์ ส่งผลต่อผลลัพธ์ในทางบวก เช่น ความผาสุก (well being) และความสงบสุขของประชาชน การพัฒนาอย่างยั่งยืน ความส�ำเร็จ ของชาติและส่วนรวมในด้านต่าง ๆ รวมถึงการแก้ไขปัญหาวิกฤติการณ์ทั้งด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมืองและสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ตัวอย่างข้อมูล ผลงาน ผลการศึกษาหรือผลการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับความส�ำคัญของภาวะ ผู้น�ำมีอยู่จ�ำนวนมาก ผู้สนใจสามารถติดตามอ่านได้จากแหล่งต่าง ๆ ทั้งหนังสือ ต�ำรา งานวิจัย วารสาร เอกสาร เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องผู้น�ำหรือภาวะผู้น�ำ และที่จะกล่าวต่อไปในเนื้อหา _13-04(001-060)P2.indd 9 3/28/13 9:34 PM
  • 10. << 10 ภาวะผู้นำ� : ทฤษฎี การวิจัย และแนวทางสู่การพัฒนา ของหนังสือเล่มนี้ จะท�ำให้เราเห็นว่าท�ำไมภาวะผู้น�ำจึงเป็นปัจจัยที่ส�ำคัญ หรือเป็น “ประเด็นร้อน (hot topic)” และมีความส�ำคัญอย่างยิ่งที่เราควรศึกษา พัฒนาให้มีความรู้ความเข้าใจในศาสตร์ ที่เกี่ยวกับภาวะผู้น�ำ เพื่อให้สามารถน�ำความรู้นี้ไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง กลุ่ม องค์การ และสังคมโดยรวมต่อไป ภาวะผู้น�ำคืออะไร การศึกษาเรื่องผู้น�ำและภาวะผู้น�ำ เป็นที่ยอมรับกันว่ามีความส�ำคัญและมีการเริ่มต้น ศึกษาตั้งแต่ในอดีตมาเป็นระยะเวลายาวนานมาก นักวิชาการด้านภาวะผู้น�ำได้ศึกษาและพบว่า ภาวะผู้น�ำได้ถูกสร้างขึ้นในบริบทของความเป็นมนุษย์ (human psyche) เนื่องจากตั้งแต่มนุษย์ แรกเกิดมา เราต้องได้รับการเลี้ยงดูจากพ่อแม่หรือผู้ปกครอง ซึ่งเปรียบได้กับผู้น�ำของเราในวัยเด็ก เมื่อเราเติบโตขึ้น ครู อาจารย์ เพื่อน พี่ และคนอื่น ๆ เริ่มเข้ามาเป็นผู้น�ำแทนที่ จนกระทั่งเราเป็น ผู้ใหญ่ก็ยังคงได้รับอิทธิพลจากผู้น�ำคนอื่น ๆ ดังนั้นจึงไม่แปลกที่พบว่า ภาวะผู้น�ำเป็นปรากฏการณ์ สากล และมีความส�ำคัญต่อการพัฒนามนุษย์และการอยู่รอด จึงท�ำให้ค�ำว่าภาวะผู้น�ำเป็นค�ำที่ เก่าแก่ที่สุดค�ำหนึ่งในอารยธรรมของโลก นับตั้งแต่ในยุคของการล่าสัตว์ ยุคของการเกษตรกรรม ยุคอุตสาหกรรม จนกระทั่งถึงยุคของความรู้หรือเทคโนโลยี ซึ่งจะพบว่าความส�ำเร็จของกลุ่ม ของสังคมหรือของประเทศหรือของอารยธรรมต่าง ๆ นั้นขึ้นอยู่กับภาวะผู้น�ำของหัวหน้าหรือผู้น�ำ ผู้ปกครอง ผู้บริหาร หรือของสมาชิกในกลุ่มเหล่านั้น มีค�ำ 2 ค�ำ ที่มักจะถูกกล่าวถึง คือ ค�ำว่า ผู้น�ำ ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่า Leader และ ค�ำว่า ภาวะผู้น�ำหรือความเป็นผู้น�ำ ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่า Leadership ทั้งสองค�ำนี้มี การกล่าวถึงความหมายจ�ำนวนมากทั้งนักวิชาการและผู้ทรงคุณวุฒิในประเทศและต่างประเทศ ดังตัวอย่างตัวไปนี้ ผู้ทรงคุณวุฒิในสังคมไทยได้มีการให้นิยามหรืออธิบายความหมายค�ำว่า “ผู้น�ำ” ไว้อย่างน่า สนใจ เช่น พระพรหมคุณาภรณ์หรือพระธรรมปิฎก (2541) ให้ความหมายผู้น�ำว่า คือ บุคคลที่จะมา ประสานช่วยให้คนทั้งหลายรวมกันโดยทั้งที่เป็นการอยู่รวมกันหรือท�ำการร่วมกันเพื่อไปสู่จุดหมาย ที่ดีงาม ส่วน อานันท์ ปันยารชุน (2541) มีแนวคิดเพิ่มเติมเกี่ยวกับความหมายของผู้น�ำและ กล่าวถึงภาวะผู้น�ำที่ดีว่า ผู้น�ำไม่ใช่ผู้ที่น�ำคนอื่น แต่ผู้น�ำที่ดี คือ ผู้ที่ผู้อื่นอยากเดินตาม และผู้น�ำต้อง เป็นผู้ที่สามารถท�ำให้คนอื่นคล้อยตามเพราะมีศรัทธาต่อคน ๆ นั้น และประเวศ วะสี (2541) ให้ ความหมายผู้น�ำในเชิงขอบเขตที่กว้างขึ้นว่า ผู้น�ำคือ ผู้ที่สามารถก่อให้สังคมมีจุดมุ่งหมายร่วมกัน _13-04(001-060)P2.indd 10 3/28/13 9:34 PM