SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  919
Télécharger pour lire hors ligne
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 1                    พระสุตตันตปฎก        อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาติ                       เลมที่ ๔ขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาพระองคนน                                                        ั้               อังคุตตรนิกาย สัตตกนิบาต                          ปฐมปณณาสก                          ธนวรรคที่ ๑                            ๑. อัปปยสูตร      [๑] ขาพเจาไดสดับมาแลวอยางนี้.      สมัยหนึ่ง พระผูมีพระภาคเจาประทับอยู ณ พระวิหารเชตวันอารามของทานอนาถบิณฑิกเศรษฐี ใกลกรุงสาวัตถี ณ ที่นนแล     ั้พระผูมีพระภาคเจาตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายวา ดูกอนภิกษุทั้งหลายภิกษุเหลานั้นไดทูลรับพระผูมีพระภาคเจาแลว พระผูมีพระภาคเจาไดตรัสวา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผูประกอบดวยธรรม ๗ ประการ
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 2ยอมไมเปนที่รัก ไมเปนที่พอใจ ไมเปนที่เคารพ และไมเปนที่สรร-เสริญของเพื่อนพรหมจรรยทั้งหลาย ธรรม ๗ ประการเปนไฉนดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เปนผูมุงลาภ ๑ เปนผูมุงสักการะ ๑ เปนผูมุงความมีชื่อเสียง ๑ เปนผูไมมีหิริ ๑ เปนผูไมมีโอตตัปปะ ๑ มีความปรารถนาลามก ๑ มีความเห็นผิด ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผูประกอบดวยธรรม ๗ ประการนี้แล ยอมไมเปนที่รักไมเปนที่ชอบใจ ไมเปนที่เคารพ และไมเปนที่สรรเสริญของเพื่อนพรหมจรรยทั้งหลาย.      ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผูประกอบดวยธรรม ๗ ประการยอมเปนที่รัก เปนที่ชอบใจ เปนที่เคารพ และเปนที่สรรเสริญของเพื่อนพรหมจรรยทั้งหลาย ธรรม ๗ ประการเปนไฉน ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ไมเปนผูมุงลาภ ๑ ไมเปนผูมุงสักการะ๑ ไมเปนผูมุงความมีชื่อเสียง ๑ มีหริ ๑ มีโอตตัปปะ ๑ มีความ                                     ิปรารถนานอย ๑ มีความเห็นชอบ ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผูประกอบดวยธรรม ๗ ประการนี้แล ยอมเปนที่รัก เปนที่ชอบใจเปนที่เคารพและเปนที่สรรเสริญของเพื่อนพรหมจรรยทั้งหลาย.                       จบ อัปปยสูตรที่ ๑
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 3                  มโนรถปูรณี    อรรถกถาอังคุตตรนิกาย สัตตกนิบาต                ปฐมปณณาสก                   ธนวรรคที่ ๑                  อรรถกถาอัปปยสุตรที่ ๑สัตตกนิบาต ปยสูตรที่ ๑ มีวินิจฉัยดังตอไปนี้.บทวา อนวฺตฺติกาโม แปลวา ผูประสงคเพื่อเปนผูมีชื่อเสียง.               จบอรรถกถาอัปปยสูตรที่ ๑
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 4                      ๒. อัปปยสูตร      [๒] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุประกอบดวยธรรม ๗ ประการยอมไมเปนที่รัก ไมเปนที่ชอบใจ ไมเปนที่เคารพ และไมเปนที่สรรเสริญของเพื่อนพรหมจรรยทั้งหลาย ธรรม ๗ ประการเปนไฉนดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เปนผูมุงลาภ ๑ เปนผูมุงสักการะ ๑ เปนผูมุงความมีชื่อเสียง ๑ ไมมีหิริ ๑ ไมมีโอตตัปปะ ๑มีความริษยา ๑ มีความตระหนี่ ๑. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผูประกอบดวยธรรม ๗ ประการนี้แล ยอมไมเปนที่รัก ไมเปนที่ชอบใจ ไมเปนที่เคารพ และไมเปนที่สรรเสริญของเพื่อนพรหมจรรยทั้งหลาย.      ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุประกอบดวยธรรม ๗ ประการยอมเปนที่รัก เปนที่ชอบใจ เปนที่เคารพ และเปนที่สรรเสริญของเพื่อนพรหมจรรยทั้งหลาย ธรรม ๗ ประการเปนไฉน ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ไมเปนผูมุงลาภ ๑ ไมเปนผูมุงสักการะ๑ ไมเปนผูมุงความมีชื่อเสียง ๑ มีหริ ๑ มีโอตตัปปะ ๑ ไมมความ                                     ิ                           ีริษยา ๑ ไมตระหนี่ ๑. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผูประกอบดวยธรรม๗ ประการนีแล ยอมเปนที่รัก เปนที่ชอบใจ เปนที่เคารพและเปนที่              ้สรรเสริญของเพื่อนพรหมจรรยทั้งหลาย.                      จบ อัปปยสูตรที่ ๒
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 5                  ๓. ปฐมพลสูตร    [๓] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย พละ ๗ ประการนี้ ๗ ประการเปนไฉน คือ ศรัทธาพละ วิริยพละ หิรพละ โอตตัปปพละ สติพละ                                   ิสมาธิพละ ปญญาพละ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย พละ ๗ ประการนี้แล.                 ศรัทธาพละ วิริยพละ หิริพละ โอตตัปป-       พละ สติพละ สมาธิพละ ปญญาพละเปนที่ ๗       ภิกษุผูมีพละดวยพละ ประการนี้ เปนบัณฑิต       ยอมอยูเปนสุข พึงเลือกเฟนธรรมโดยแยบคาย       ยอมเห็นอรรถแหงธรรมชัดดวยปญญา ความ       หลุดพนแหจิต (จริมกจิต) คือ ความดับของ       ภิกษุนั้นยอมมีได เหมือนความดับแหงประทีป       ฉะนั้น.                  จบ ปฐมพลสูตรที่ ๓           อรรถกถาปฐมพลสูตรที่ ๓     ปฐมพลสูตรที่ ๓ มีวินิจฉัยดังตอไปนี้.     บทวา ยนิโส วิจิเน ธมฺม ความวา ยอมเลือกเฟนธรรมคือสัจจะ ๔ โดยอุบาย. บทวา ปฺตฺถ วิปสฺสติ ความวา ยอมเห็นสัจจธรรม ดวยปญญาอันสัมปยุตดวยมรรคพรอมวิปสสนา. บทวา
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 6ปชฺโชตสฺเสว ความวา ประหนึ่งความดับแหงประทีปฉะนั้น. บทวาวิโมกฺโข โหติ เจตโส ความวา จริมกจิต จิตดวงสุดทายของพระ-ขีณาสพ ผูประกอบดวยพละเหลานี้นั้น ยอมหลุดพันจากวัตถุและอารมณ เหมือนความดับไปแหงดวงประทีปฉะนั้น คือ ยอมไมปรากฏสถานที่ไป.              จบ อรรถกถาปฐมพลสูตรที่ ๓
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 7                       ๔. ทุติยพลสูตร       [๔]ดูกอนภิกษุทั้งหลาย พละ ๗ ประการนี้ ๗ ประการ              เปนไฉน คือ ศรัทธาพละ วิริยพละ หิริพละ โอตตัปปพละ สติพละสมาธิพละ ปญญาพละ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็ศรัทธาพละเปนไฉนดูกอนภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เปนผูมีศรัทธา คือเชื่อพระปญญาตรัสรูของพระตถาคตวา แมเพราะเหตุนี้ ๆ พระผูมี-พระภาคเจาพระองคนั้น เปนพระอรหันต ตรัสรูเ องโดยชอบ ฯลฯเปนผูตื่นแลว เปนจําแนกธรรม นี้เรียกวา ศรัทธาพละ.       ดูกอนภิกษุทั้งหลาย วิริยพละเปนไฉน ดูกอนภิกษุทั้งหลายอริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เปนผูปรารภความเพียรเพื่อละอกุศลธรรมเพื่อความถึงพรอมแหงกุศลธรรม เปนผูมีกําลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไมทอดทิ้งธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย นี้เรียกวา วิริยพละ.       ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็หิริพละเปนไฉน ดูกอนภิกษุทั้งหลายอริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เปนผูมีความละอาย คือ ละอายตอกาย-ทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ละอายตอการจักตองอกุศลธรรมอันลามกทั้งหลายนี้เรียกวา หิริพละ.       ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็โอตตัปปพละเปนไฉน กอนภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เปนผูมีความสะดุงกลัว คือ
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 8สะดุงกลัวตอกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต สะดุงกลัวตอการถูกตองอกุศลธรรมอันลามกทั้งหลาย นี้เรียกวา โอตตัปปพละ.       ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็สติพละเปนไฉน ดูกอนภิกษุทั้งหลายอริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เปนผูมีสติ คือ ประกอบดวยสติเครื่องรักษาตนอยางยิ่ง ยอมระลึกนึกถึงแมสิ่งที่ทําคําที่พูดไวนาน ไดนี้เรียกวา สติพละ.       ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็สมาธิพละเปนไฉน ดูกอนภิกษุทั้งหลายอริยสาวกในธรรมวินัยนี้ สงัดจากกาม ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน นี้เรียกวา สมาธิพละ.       ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็ปญญาพละเปนไฉน ดูกอนภิกษุทั้งหลายอริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เปนผูมีปญญา คือ ประกอบดวยปญญาที่กําหนดความเกิดและความดับ เปนอริยะ ชําแรกกิเลส ใหถึงความสิ้นทุกขโดยชอบ นี้เรียกวา ปญญาพละ ดูกอนภิกษุทั้งหลายพละ ๗ ประการนี้แล.                     ศรัทธาพละ วิริยพละ หิริพละ โอตตัปป-           พละ สติพละ สมาธิพละ ปญญาพละเปนที่ ๗           ภิกษุผูมีพละดวยพละ ๗ ประการนี้ เปนบัณฑิต           ยอมอยูเปนสุข พึงเลือกเฟนธรรมโดยแยบคาย           ยอมเห็นอรรถแตงธรรมชัดดวยปญญา ความ
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 9       หลุดพนแหงจิต (จริมกจิต) คือ ความดับของ       ภิกษุนั้นยอมมีได เหมือนความดับแหงประทีป       ฉะนั้น.                 จบ ทุติยพลสูตรที่ ๔            อรรถกถาทุติยพบสูตรที่ ๔     ทุติยพลสูตรที่ ๔ มีวินิจฉัยดังตอไปนี้.     ทุติยพลสูตรที่ ๔ มีอาทิวา สทฺโธ โหติ ไดพรรณนาไวแลวในปญจกนิบาต นั่นแล.                จบ อรรถกถาทุติยพลสูตรที่ ๔
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 10                ๕. ปฐมธนสูตร     [๕] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ทรัพย ๗ ประการนี้ ๗ ประการเปนไฉน คือ ทรัพยคือศรัทธา ๑ ศีล ๑ หิริ ๑ โอตตัปปะ ๑ สุตะ ๑จาคะ ๑ ปญญา ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ทรัพย ๗ ประการนี้แล.                ทรัพย คือ ศรัทธา ศีล หิริ โอตตัปปะ       สุตะ จาคะ และปญญาเปนที่ ๗ ทรัพยเหลานี้มี       แกผูใด เปนหญิงหรือชายก็ตาม บัณฑิตเรียก       ผูนนวา เปนผูไมยากจน ชีวตของผูนั้นไมเปลา           ั้       ระลึกถึงคําสอนของพระพุทธเจา พึงประกอบ       ศรัทธา ศีล ความเลื่อมใส และการเห็นธรรม.                จบ ปฐมธนสูตรที่ ๕             อรรถกถาปฐมธนสูตรที่ ๕       ปฐมธนสูตรที่ ๕ มีวินิจฉัยดังตอไปนี้.       บทวา ธนานิ ไดแกชื่อวาทรัพยเพราะอรรถวา เพราะบุคคลผูไมยากจนทําได.                   จบ อรรถกถาปฐมธนสูตรที่ ๕
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 11                            ๖. ทุติยธนสูตร       [๖] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ทรัพย ๗ ประการนี้ ๗ ประการเปนไฉน คือ ทรัพยคือ ศรัทธา ๑ ศีล ๑ หิริ ๑ โอตตัปปะ ๑ สุตะ ๑จาคะ ๑ ปญญา ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็ทรัพยคือศรัทธาเปนไฉนดูกอนภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เปนผูมีศรัทธา คือเชื่อพระปญญาตรัสรูของพระตถาคตวา แมเพราะเหตุนี้ ๆ พระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น เปนพระอรหันต ตรัสรูเองโดยชอบ ฯลฯเปนผูตื่นแลว เปนผูจําแนกธรรม นี้เรียกวา ทรัพยคือศรัทธา.       ดูกอนภิกษุทั้ง. หลาย ก็ทรัพยคือศีลเปนไฉน ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เปนผูเวนจากการฆาสัตว ฯลฯจากการดื่มน้ําเมาคือสุราและเมรัย อันเปนที่ตั้งแหงความประมาทนี้เรียกวา ทรัพยคือศีล.       ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็ทรัพยคือหิริเปนไฉน กอนภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เปนผูมีความละอาย คือ ละอายตอกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ละอายตอการถูกตองอกุศลธรรมอันลามก นี้เรียกวา ทรัพยคือหิริ.       ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็ทรัพยคือโอตตัปปะเปนไฉน ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เปนผูมีความสะดุงกลัว คือสะดุงกลัวตอกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต สะดุงกลัวตอการถูกตองอกุศลธรรมอันลามก นี้เรียกวา ทรัพยคือโอตตัปปะ.
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 12       ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็ทรัพยคือสุตะเปนไฉน กอนภิกษุทั้งหลาย อริยะสาวกในธรรมวินัยนี้ เปนพหูสูต ทรงสุตะ สั่งสมสุตะเปนผูไดสดับมามาก ทรงไวคลองปาก ขึ้นใจ แทงตลอดดวยดีดวยทิฏฐิ. ซึ่งธรรมทั้งหลาย อันงามในเบื้องตน งามในทามกลางงามในที่สุด ประกาศพรหมจรรยพรอมทั้งอรรถทั้งพยัญชนะบริสุทธิ์บริบรณสิ้นเชิง นี้เรียกวา ทรัพยคือสุตะ.               ู       ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็ทรัพยคือจาคะเปนไฉน ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เปนผูมีใจอันปราศจากมลทินคือ ความตระหนี่ อยูครองเรือน มีจาคะอันปลอยแลว มีฝามืออันชุมยินดีในการสละ. ควรแกการขอ ยินดีในทานและการจําแนกทานนี้เรียกวา ทรัพยคือจาคะ.       ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็ทรัพยคอปญญาเปนไฉน ดูกอนภิกษุ                                      ืทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เปนปญญา คือ ประกอบดวยปญญาที่กําหนดความเกิดและความดับ เปนอริยะ ชําแรกกิเลสใหถึงความสิ้นทุกขโดยชอบ นี้เรียกวา ทรัพยคือปญญา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ทรัพย ๗ ประการนี้แล.                     ทรัพย คือ ศรัทธา ศีล หิริ โอตตัปปะ           สุตะ จาคะ และปญญาเปนที่ ๗ ทรัพยเหลานี้มี           แกผูใด เปนหญิงหรือชายก็ตาม บัณฑิตเรียกผู           นั้นวา เปนผูไมยากจน ชีวตของผูนั้นไมเปลา                                        ิ
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 13ประโยชน เพราะฉะนั้น ทานผูมีปญญา เมื่อระลึกถึงคําสอนของพระพุทธเจาทั้งหลาย พึงประกอบศรัทธา ศีล ความเลื่อมใส และการเห็นธรรม.          จบ ทุติยธนสูตรที่ ๖
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 14                         ๗. อุคคสูตร        [๗] ครังนั้นแล มหาอํามาตยของพระราชาชื่อวาอุคคะ ได                ้เขาไปเฝาพระผูมีพระภาคเจาถึงที่ประทับ ถวายบังคมพระผูมีพระ-ภาคเจาแลว นั่ง ณ ที่ควรสวนขางหนึ่ง ครั้นแลวไดกราบทูลพระผูมีพระภาคเจาวา ขาแตพระองคผูเจริญ นาอัศจรรย ขาแตพระองคผูเจริญ ไมเคยมีมา โดยเหตุที่มิคารเศรษฐีผูเปนหลานโรหณเศรษฐี.เปนผูมั่งคั่ง มีทรัพยมาก มีโภคสมบัติมากถึงเพียงนี้ พระผูมพระ-                                                              ีภาคเจาตรัสถามวา ดูกอนอุคคะ ก็มิคารเศรษฐีหลานโรหณเศรษฐี                            มั่งคั่ง มีทรัพยมาก มีโภคสมบัติมากสักเทาไร.        อุ. ขาแตพระองคผูเจริญ มีทองแสนลิ่ม จะกลาวไปไยถึงเงิน.        พ. ดูกอนอุคคะ ทรัพยนั้นมีอยูแล เรามิไดกลาววาไมมี แต                  ทรัพยนั้นแลเปนของทั่วไปแกไฟ น้ํา พระราชา โจร ทายาทผูไมเปนที่รัก ดูกอนอุคคะ ทรัพย ๗ ประการนี้แล ไมทั่วไปแกไฟ น้า พระ-                                                            ํราชา โจร ทายาทผูไมเปนที่รัก ๗ ประการเปนไฉน คือ ทรัพยคือศรัทธา ๑ ศีล ๑ หิริ ๑ โอตตัปปะ ๑ สุตะ ๑ จาคะ ๑ ปญญา ๑ดูกอนอุคคะ ทรัพย ๗ ประการนี้แล ไมทั่วไปแกไฟ น้ํา พระราชาโจร ทายาทผูไมเปนที่รัก.                      ทรัพย คือ ศรัทธา ศีล หิริ โอตตัปปะ            สุตะ จาคะ และปญญาเปนที่ ๗ ทรัพยเหลานี้            มีแกผูใด เปนหญิงหรือชายก็ตาม เปนผูมีทรัพย            มากในโลก อันอะไร ๆ พึงผจญไมไดในเทวดา
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 15        และมนุษย เพราะฉะนั้น ทานผูมีปญญา เมื่อ        ระลึกถึงคําสอนของพระพุทธเจาทั้งหลาย พึง        ประกอบศรัทธา ศีล ความเลื่อมใส และการ        เห็นธรรม.                      จบสูตรที่ ๗              อรรถกถาอุคคสูตรที่ ๗      อคคสูตรที่ ๗ มีวนิจฉัยดังตอไปนี้.                         ิ      บทวา อุคฺโค ราชมหามตฺโต ไดแก มหาอํามาตย ของพระเจาปเสนทิโกศล. บทวา อุปสงฺกมิ ความวา เปนผูบริโภคอาหารเชาเสร็จแลว จึงเขาไปเฝา.      บทวา อทฺโธ ความวา เปนผูมั่งคั่งเพราะทรัพยที่เก็บไว.ดวยบทวา มิคาโร โรหเณยฺโย นี้ พระผูมีพระภาคเจาตรัสหมายเอามิคารเศรษฐีเปนหลานแหงโรหณเศรษฐี. บทวา มหทฺธโน ไดแกเปนมีทรัพยมากโดยทรัพยสําหรับใชสอย. บทวา มหาโภโคไดแก เปนผูมีโภคะมาก เพราะมีสิ่งอุปโภคและปริโภคมาก บทวาหิรฺสฺส ไดแกทองคํานั้นเอง. จริงอยู เฉพาะทองคําของเศรษฐีนั้นนับไดจํานวนเปนโกฏิ. บทวา รูปยสฺส ความวา กลาวเฉพาะเครื่องจับจายใชสอย เชนที่นอน เสื่อออน ขัน เครื่องลาด และเครื่องนุงหมเปนตน จะประมาณไมไดเลย.                     จบ อรรถกถาอุคคสูตรที่ ๗
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 16                 ๘. สังโยชนสูตร      [๘] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย สังโยชน ๗ ประการนี้ ๗ ประการเปนไฉน คือ สังโยชน คือ ความยินดี ๑ ความยินราย ๑ ความเห็นผิด๑ ความสงสัย ๑ มานะ ๑ ความกําหนัดในภพ ๑ อวิชชา ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย สังโยชน ๗ ประการนี้แล.                       จบ สังยชนสูตรที่ ๘                   อรรถกถาสังโยชนสูตรที่ ๘      สังโยชนสูตรที่ ๘ มีวินิจฉัยดังตอไปนี้.      บทวา อนุนยสฺโชน ไดแก กามราคสังโยชน. ความจริงสังโยชนทั้งหมดนี้นั่นแหละ พึงทราบวา สังโยชน เพราะอรรถวาเปนเครื่องผูก. ในสูตรนี้ พระผูมพระภาคเจาตรัสเฉพาะวัฏฏอยาง                                   ีเดียว. คําที่เหลือในบททั้งปวง งายทั้งนั้นแล.                   จบ อรรถกถาสังโยชนสูตรที่ ๘
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 17                         ๙. ปหาสูตร       [๙] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุยอมประพฤติพรหมจรรย              เพื่อละ เพื่อตัดสังโยชน ๗ ประการ ๗ ประการเปนไฉน คือ สังโยชนคือ ความยินดี ๑ ความยินราย ๑ ความเห็นผิด ๑ ความสงสัย ๑มานะ ๑ ความกําหนัดในภพ ๑ อวิชชา ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุยอมอยูประพฤติพรหมจรรยเพื่อละ เพื่อตัดสังโยชน ๗ ประการนี้แลดูกอนภิกษุทั้งหลาย เมื่อใดแล ภิกษุละสังโยชน คือ ความยินดีเสียไดตัดรากขาดแลว ทําใหเปนเหมือนตาลยอดดวน ไมใหมี ไมใหเกิดขึ้นตอไปเปนธรรมดา ละสังโยชน คือความยินราย ฯลฯ สังโยชนคือ ความเห็นผิด ฯลฯ สังโยชนคือความสงสัย ฯลฯ สังโยชนคือมานะ ฯลฯ สังโยชนคือความกําหนัดในภพ ฯล สังโยชนคืออวิชชาเสียได ตัดรากขาดแลว ทําใหเปนเหมือนตาลยอดดวน ไมใหมี ไมใหเกิดขึ้นอีกตอไปเปนธรรมดา เมื่อนั้น ภิกษุนี้ เรากลาววา ตัดตัณหาไดขาดแลว เพิกถอนสังโยชนไดแลว กระทําทีสุดแหงทุกขไดแลว                                                 ่เพราะตรัสรูคือละมานะเสียไดโดยชอบ.                         จบสูตรที่ ๙
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 18                     ๑๐. มัจฉริยสูตร      [๑๐] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย สังโยชน ๗ ประการนี้ ๗ ประการเปนไฉน คือ สังโยชนคือ ความยินดี ๑ ความยินราย ๑ ความเห็นผิด๑ ความสงสัย ๑ มานะ ๑ ความริษยา ๑ ความตระหนี่ ๑ กอนภิกษุทั้งหลาย สังโยชน ๗ ประการนี้แล.                      จบสูตรที่ ๑๐         รวมพระสูตรที่มีในวรรคนี้ คือ      ๑. ปฐมอัปปยสูตร ๒. ทุติยอัปปยสูตร ๓. ปฐมพลสูตร๔. ทุติยพลสูตร ๕. ปฐมธนสูตร ๖. ทุติยธนสูตร ๗. อุคคสูตร๘. สังโยชนสูตร ๙. ปหานสูตร ๑๐. มัจฉริยสูตร                     จบ ธนวรรคที่ ๑
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 19                    อนุสยวรรคที่ ๒                  ๑. ปฐมอนุสยสูตร      [๑๑] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อนุสัย ๗ ประการนี้ ๗ ประการเปนไฉน คือ อนุสัย คือ กามราคะ ๑ อนุสัย คือ ปฏิฆะ ๑ อนุสัย คือทิฏฐิ ๑ อนุสัย คือ วิจิกิจฉา ๑ อนุสัย คือ มานะ ๑ อนุสย คือ ภวราคะ                                                     ั๑ อนุสัย คือ อวิชชา ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อนุสัย ๗ ประการนี้แล.                      จบ ปฐมอนุสยสูตรที่ ๑
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 20                      ๒. ทติยอนุสยสูตร       [๑๒] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุยอมอยูประพฤติพรหมจรรยเพื่อละ เพื่อตัดอนุสัย ๗ ประการ ๗ ประการเปนไฉน คือ อนุสัย คือกามราคะ ๑ อนุสัย คือ ปฏิฆะ ๑ อนุสัย คือ ทิฏฐิ ๑ อนุสัย คือวิจิกิจฉา ๑ อนุสัย คือ มานะ ๑ อนุสัย คือ ภวราคะ ๑ อนุสัย คืออวิชชา ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุยอมอยูประพฤติพรหมจรรยเพื่อละ เพื่อตัดอนุสัย ๗ ประการนี้แล ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เมื่อใดแลภิกษุละอนุสัยคือกามราคะเสียได ตัดรากขาดแลว ทําใหเปนเหมือนตาลยอดดวน ไมใหมี ไมใหเกิดขึ้นอีกตอไปเปนธรรมดา ละอนุสัยคือ ปฏิฆะ... อนุสัย คือ ทิฏฐิ... อนุสัย คือ วิจิกิจฉา... อนุสัย คือมานะ... อนุสัย คือ ภวราคะ... อนุสัย คือ อวิชชาเสียได ตัดรากขาดแลว ทําใหเปนเหมือนตาลยอดดวน ไมใหมี ไมใหเกิดขึ้นอีกตอไป เปนธรรมดา เมื่อนั้น ภิกษุนี้เรากลาววา ตัณหาไดแลวเพิกถอนสังโยชนไดแลว กระทําที่สุดทุกขไดแลว เพราะตรัสรูคือละมานะเสียไดโดยชอบ.                    จบ ทุติอนุสยสูตรที่ ๒
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 21                           ๓. กุลสูตร       [๑๓] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย สกุลซึ่งประกอบดวยองค ๗ประการ ภิกษุยังไมเคยเขาไป ไมควรเขาไป หรือเขาไปแลวไมควรนั่ง องค ๗ ประการเปนไฉน คือ ตอนรับดวยไมเต็มใจ ๑ไหวดวยไมเต็ม ๑ ใหอาสนะดวยไมเต็มใจ ๑ ซอนของที่มีอยู ๑เมื่อมีของมากใหนอย ๑ เมื่อมีของประณีตใหของเศราหมอง ๑ ใหโดยไมเคารพ ไมใหโดยเคารพ ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย สกุลซึ่งประกอบดวยองค ๗ ประการนี้แล ภิกษุยังไมเคยเขาไป ไมควรเขาไป หรือเขาไปแลวไมควรนั่ง ดูกอนภิกษุทั้งหลาย สกุลซึ่งประกอบดวยองค ๗ ประการ ภิกษุยังไมเคยเขาไป ควรเขาไปหรือเขาไปแลว ควรนั่ง องค ๗ ประการเปนไฉน คือ ตอนรับดวยเต็มใจ ๑ ไหวดวยเต็มใจ ๑ ใหอาสนะดวยเต็มใจ ๑ ไมซอนของที่มีอยู ๑ เมื่อมีของมากใหมาก ๑ เมื่อมีของประณีตใหของประณีต ๑ใหโดยเคารพ ไมใหโดยไมเคารพ ๑ กอนภิกษุทั้งหลาย สกุลซึ่งประกอบดวยองค ๗ ประการนี้แล ภิกษุยังไมเคยเขาไป ควรเขาไปหรือเขาไปแลวควรนั่ง.                       จบ กุลสูตรที่ ๓
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 22                อนุสยวรรคที่ ๒               อรรถกถากุลสูตรที่ ๓     วรรคที่ ๒ กุลสูตรที่ ๓ มีวินิจฉัยดังตอไปนี้.     บทวา นาล แปลวา ไมควร คือไมเหมาะสม. บทวา น มนาเปนความวา ลุกจากอาสนะที่ตนนั่ง โดยอาการไมคอยเต็มใจ คือแสดงอาการไมพอใจนั่นเอง. สองบทวา สนฺตมสฺส ปริคูหนฺติ ความวายอมซอน คือยอมปกปด - ไทยธรรมแมที่มีอยูแกภิกษุนั้น. บทวาอสกฺกจฺจ เทนฺติ โน สกฺกจฺจ ความวา ไมวาจะเปนสิ่งเศราหมองหรือประณีตก็ตาม ให ไมใชดวยมือของตน คือโดยอาการไมยําเกรงยอมไมใหโดยอาการยําเกรง.                  จบ อรรถกถากุลสูตรที่ ๓
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 23                      ๔. ปุคคสูตร       [๑๔] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๗ จําพวกนี้ เปนผูควรของคํานับ เปนผูควรของตอนรับ เปนผูควรของทําบุญ เปนผูควรกระทําอัญชลี เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา ๗ จําพวกเปนไฉน คือ อุภโตภาควิมุต ๑ ปญญาวิมุติ ๑ กายสักยี ๑ ทิฏฐิปปตตะ๑ สัทธาวิมุติ ๑ ธัมมานุสารี ๑ สัทธานุสารี ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลายบุคคล ๗ จําพวกนี้แล เปนผูควรของคํานับ เปนผูควรของตอนรับเปนผูควรของทําบุญ เปนผูควรกระทําอัญชลี เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา.                        จบ ปุคคลสูตรที่ ๔                 อรรถกถาปุคคลสูตรที่ ๔     ปุคคลสูตรที่ ๔ มีวินิจฉัยดังตอไปนี้.     บทวา อุภโตภาควิมุตฺโต ความวา หลุดพนแลวโดยสวนทั้ง ๒.อธิบายวา หลุดพนแลวจากรูปกาย ดวยอรูปสมาบัติ และหลุดพนแลวจากนามกายดวยมรรค. บุคคลนั้นมี ๕ จําพวก คือ บุคคลผูออกจากอรูปสมาบัติ ๔ แตละสมาบัติ แลวพิจารณาสังขารแลวบรรลุพระอรหัต ๔ จําพวก, และพระอนาคามีผูออกจากนิโรธแลว
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 24บรรลุพระอรหัต ๑ จําพวก. แตบาลีในพระสูตร มาแลวดวยอํานาจผูไดวิโมกข ๘ อยางนี้วา ก็บุคคลผูหลุดพันโดยสวน ๒ เปนไฉน ?บุคคลบางคนในพระศาสนานี้ ถูกตองวิโมกข ดวยนามกายแลวอยูอาสวะของผูนั้นยอมสิ้นไป เพราะเห็นแมดวยปญญา.        บุคคลผูชื่อวา ปญญาวิมุตตะ เพราะหลุดพนดวยปญญา.ปญญาวิมุตตะนั้นมี ๕ จําพวก ไดแกบุคคลเหลานี้คือ พระ-อรหันตสุกขวิปสสกะจําพวก ๑ ทานออกจากฌาน ๔ แลวบรรลุพระอรหัต ๔ จําพวก. แตบาลีในสูตรนี้มาแลว โดยปฏิเสธวิโมกข ๘ดังพระธรรมสังคาหกาจารยกลาวไววา ความจริง บุคคลไมไดถูกตองวิโมกข ๘ ดวยนามกายอยู อาสวะทั้งหลายของเขายอมสิ้นไปเพราะเห็นแมดวยปญญา บุคคลนี้ทานเรียกวา ปญญาวิมุตติ หลุดพนแลวดวยปญญา.       บุคคลชื่อวา กายสักขี เพราะทําใหวิโมกขนั้น อันตนทําใหแจงแลวดวยนามกาย. กายสักขีปุคคลนั้นยอมถูกตองฌานสัมผัสกอน ยอมทําใหแจงซึ่งนิโร คือพระนิพพานในภายหลัง. กายสักขี-บุคคลนั้น นับตั้งแตพระอริยบุคคลผูตั้งอยูในโสดาปตติผล จนถึงพระอริยบุคคล ผูตั้งอยูในอรหัตตมรรค รวมเปน ๖ จําพวกเพราะเหตุนั้น ทานจึงกลาวไววา บุคคลบางคนในพระศาสนาถูกตองวิโมกข ๘ ดวยนามกายอยู อาสวะ บางเหลาของผูนั้นยอมสิ้นไป เพราะเห็นแมดวยปญญา บุคคลนี้ทานเรียกวา กายสักขีดวยเห็นวิโมกขดวยนามกาย.
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 25       บุคคลผูชื่อวา ทิฏฐิปปตตะ เพราะถึงอริยสัจจธรรมที่ตนเห็นแลว. ในทิฏฐิปปตตบุคคลนั้น มีสักษณะสังเขปดังตอไปนี้ บุคคลชื่อวา ทิฏฐิปปตตะ เพราะรู เห็น รูแจง ทําใหแจง ถูกตองดวยปญญาวา สังขารทั้งหลายเปนทุกข ความดับสังขารเปนสุขดังนี้. แตเมื่อวาโดยพิศดาร บุคคลแมนั้น ยอมมี ๖ จําพวก ดุจกายสักขีบุคคลฉะนั้น. ดวยเหตุนั้นนั่นแล ทานจึงกลาววา บุคคลบางตนในพระ-ศาสนานี้ ยอมรูชัดตามความเปนจริงวา นี้ทุกข ฯลฯ ยอมรูชัดตามความเปนจริงวา นี้ปฏิปทา เปนเครื่องยังสัตวใหถึงความดับทุกขดังนี้ และเปนผูมีธรรมทั้งหลายที่พระตถาคตประกาศแลว ซึ่งตนเห็นแลวดวยปญญา อันตนประพฤติแลวปญญา บุคคลนี้ ทานเรียกวา ทิฏฐิปปตตะ ผูถึงอริยสัจจ ที่ตนเห็นแลว.       บุคคล ชื่อวา สัทธาวิมุตตะ เพราะหลุดพนดวยศรัทธาสัทธาวิมุตตบุคคลแมนั้น ก็มี ๖ จําพวก โดยนัยดังกลาวแลวนั่นแล.ดวยเหตุนั้น ทานจึงกลาววา บุคคลบางคนในพระศาสนานี้ ยอมรูชัดตามความเปนจริงวา นี้ทุกข ฯลฯ ยอมรูชัดตามความเปนจริงวา                                               นี้ปฏิปทาเปนเครื่องใหถึงความดับทุกข และยอมเปนผูมีธรรมที่พระตถาคตประกาศแลว ซึ่งตนเห็นแลวดวยปญญา อันตนประพฤติแลวดวยปญญา ฯลฯ บุคคลนี้ ทานเรียกวา สัทธาวิมุตตะ หลุดพนดวยศรัทธา แตวาไมเปนเหมือนความหลุดพนของทิฏฐิปปตตะบุคคล.เพราะความสิ้นกิเลสของสัทธาวิมุตตะบุคคลนี้ เหมือนความสิ้นกิเลสของบุคคลผูเชื่ออยู ปกใจเชื่ออยู เเละนอมใจเชื่ออยู ในมัคคขณะอันเปนสวนเบื้องตนฉะนั้น ญาณอันเปนเครื่องดับกิเลสในมัคคขณะ
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 26อันเปนสวนเบื้อตน ของทิฏฐิปปตตะบุคคล เปนญาณไมชักชากลาแข็ง แหลมคม ตัดกิเลสผานไปไมได เพราะเหตุนั้น เหมือนอยางวา บุคคลใชดาบที่ไมคม ตัดตนกลวย รอยขาดของตนกลวยยอมเกลี้ยงเกลา ดาบก็ไมนํา (ตัด) ไปไดโดยฉับพลัน ยังไดยินเสียงใชความพยายามอยางแรงกลา ฉันใด มรรคภาวนา อันเปนสวนเบื้องตน ของสัทธาวิมุตตบุคคลนั้น พึงทราบเหมือนฉันนั้นแตยุคคล เอาดาบที่ลับดีแลวตัดตนกลวย รอยขาดของตนกลวยยอมเกลี้ยงเกลา ดาบยอมนํา (ตัด) ไดฉับพลัน ไมไดยินเสียง ไมตองใชความพยายามอยางแรง ฉันใด มรรคภาวนา อันเปนสวนเบื้องตนของปญญาวิมุตตบุคคลก็พึงทราบฉันนั้นเหมือนกัน.       บุคคล ชื่อวา ธัมมานุสารี เพราะตามระลึกถึงธรรม. พรอมชื่อวา ธรรม. อธิบายวา บุคคลยอมเจริญมรรคอันมีปญญาเปนตัวนําแมในบุคคลผูสัทธานุสารีก็นัยนี้เหมือนกัน. บุคคลทั้ง ๒ นัน ก็ตอ                                                           ้บุคคลผูตั้งอยูในโสดาปตติมรรคนั่นแล. สมจริงดังคําที่ธรรมสังคห-กาจารย กลาวไววา บุคคลใด ปฏิบัติเพื่อทําใหแจงโสดาปตติผลปญญินทรียยอมมีจํานวนมาก บุคคลนั้นชื่อวา ยอมเจริญอริยมรรค             อันมีปญญาเปนตัวนํา บุคคลนี้ทานเรียกวา ธัมมานุสารี. ในธัมมา-นุสารีนั้น มีความสังเขปเพียงเทานี้. แตเมื่อวาโดยพิสดาร กถาวาดวยอุภโตภาควิมุตตะปุคคลเปนตนนี้ ก็กลาวไวแลวในอธิการวาดวยปญญาภาวนาในวิสุทธิมรรค เพราะเหตุนั้น บัณฑิตพึงทราบโดยที่กลาวแลวในปกรณนั้นเถิด ดังนี.้                 จบ อรรถกถาปุคคลสูตรที่ ๔
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 27                   ๕. อุทกูปมสูตร      [๑๕] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลมีเปรียบดวยน้ํา ๗ จําพวกนี้มีปรากฏอยูในโลก ๗ จําพวกเปนไฉน บุคคลบางคนในโลกนี้จมลงแลวคราวเดียว ก็เปนอันจมอยูนั่นเอง ๑ บางคนโผลขึ้นมาแลวกลับจมลงไป ๑ บางคนโผลพนแลวทรงตัวอยู ๑ บางคนโผลขึ้นแลวเหลียวไปมา ๑ บางคนโผลขึ้นแลวเตรียมตัวจะขาม ๑ บางคนโผลขึ้นแลวไดที่พึ่ง ๑ บางคนโผลขึ้นมาไดแลวเปนพราหมณขามถึงฝงอยูบนบก ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็บุคคลที่จมลงแลวคราวเดียวก็เปนอันจมอยูนั่นเองอยางไร บุคคลบางคนในโลกนี้ เปนผูประกอบดวยอกุศลธรรมฝายดําโดยสวนเดียว ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลที่จมลงแลวคราวเดียวก็เปนอันจมอยูนั่นเองอยางนี้แล.      ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็บคคลที่โผลขึ้นมาไดกลับจมลงไป                               ุอยางไร บุคคลบางคนในโลกนี้ โผลขึ้นมาได คือเขามีธรรม คือศรัทธา หิริ โอตตัปปะ วิริยะ ปญญาชั้นดี ๆ ในกุศลธรรมทังหลาย ้แตศรัทธาของเขานั้นไมคงที่ ไมเจริญขึ้น เสื่อมไปฝายเดียว หิริโอตตัปปะ วิริยะ ปญญาของเขานั้น ไมคงที่ ไมเจริญขึ้น เสื่อมไปฝายเดียว ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลที่โผลขึ้นมาแลวกลับจมลงอยางนี้แล.      ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็บุคคลทีโผลขึ้นมาแลวทรงตัวอยูอยางไร                                   ่บุคคลบางคนในโลกนี้ โผลขึ้นมาได คือ เขามีธรรมเหลานี้ คือ ศรัทธาหิริ โอตตัปปะ วิริยะ ปญญาชั้นดี ๆ ในกุศลธรรมทั้งหลาย แต
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 28ศรัทธาของเขานั้นไมเสื่อมลง ไมเจริญขึ้น คงทีอยู หิริ โอตตัปปะ                                                   ่วิริยะ และปญญาของเขานั้นไมเสื่อมลง ไมเจริญขึ้น คงที่อยู ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลที่โผลขึ้นมาไดแลวทรงตัวอยูอยางนี้แล.      กอนภิกษุทั้งหลาย ก็บุคคลทีโผลขึ้นมาไดแลวเหลียวไปมา                                       ่อยางไร บุคคลบางตนในโลกนี้ โผลขึ้นมาได คือ เขามีธรรมเหลานี้คือ ศรัทธา หิริ โอตตัปปะ วิริยะ ปญญาชั้นดี ๆ ในกุศลธรรมทั้งหลาย เพราะสังโยชน ๓ สิ้นไป เขาเปนพระโสดาบัน มีอันไมตกต่ําเปนธรรมดา เปนผูเที่ยงที่จะตรัสรูในเบื้องหนา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลที่โผลขึ้นมาไดแลวเหลียวไปมาอยางนี้แล.      ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็บุคคลที่โผลขึ้นมาไดแลวเตรียมตัวจะขามอยางไร บุคคลบางคนในโลกนี้ โผลขึ้นมาได คือ เขามีธรรมเหลานี้ คือ ศรัทธา หิริ โอตตัปปะ วิริยะ ปญญาชันดี ๆ ในกุศลธรรม                                                 ้ทั้งหลาย เพราะสังโยชน ๓ สิ้นไป เพราะทําราคะ โทสะ โมหะใหเบาบางลง เขาเปนพระสกทาคามี มาสูโลกนีอีกครั้งเดียวเทานั้น                                                     ้แลวทําที่สุดทุกขได บุคคลที่โผลขึ้นมาไดแลว เตรียมตัวจะขามอยางนี้แล.      ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็บุคคลที่โผลขึ้นมาแลวไดที่พึ่งอยางไรบุคคลบางตนในโลกนี้ โผลขึ้นมาได คือ เขามีธรรมเหลานี้ คือศรัทธา หิริ โอตตัปปะ วิริยะ ปญญา ชั้นดี ๆ ในกุศลธรรมทังหลาย ้เพราะโอรัมภาคิยสังโยชน ๕ สิ้นไป เขาเปนพระอนาคามี จักปรินิพพานในภพนั้น มีอันไมกลับจากโลกนั้นเปนธรรมดา บุคคลที่โผลขึ้นมาแลวไดที่พึ่งอยางนี้แล.
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 29       ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็บุคคลที่โผลขึ้นมาไดแลวเปนพราหมณขามถึงฝงอยูบนบกอยางไร บุคคลบางคนในโลกนี้ โผลขึ้นมาไดคือ เขามีธรรมเหลานี้ คือ ศรัทธา หิริ โอตตัปปะ วิริยะ ปญญาชั้นดี ๆ ในกุศลธรรมทั้งหลาย เขากระทําใหแจงซึ่งเจโตวิมุติ ปญญา-วิมุติ อันหาอาสวะมิได เพราะอาสวะทั้งหลายสิ้นไป ดวยปญญาอันยิ่งเอง ในปจจุบัน เขาถึงอยู บุคคลที่โผลขึ้นมาไดแลวเปนพราหมณขามถึงฝงอยูบนบกอยางนี้แลว กอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลเปรียบดวยน้ํา ๗ จําพวกนี้แล มีปรากฏอยูในโลก.                       จบ อุทกูปมสูตรที่ ๕            อรรถกถาอุทกูปมสูตรที่ ๕       อุทกูปมสูตรที่ ๕ มีวินิจฉัยดังตอไปนี้.       บทวา อุทกูปมา ความวา บุคคล ทานเปรียบดวยน้ํา เพราะถือเอาอาการมีการดําลงเปนตน. สองบทวา สกึ นิมุคฺโค ไดแกดําลงคราวเดียว บทวา เอกนฺตกาฬเกหิ พระองคตรัสหมายถึงนิยตมิจฉาทิฏฐิ. บทวา อุมฺมุชฺชติ แปลวาผุดขึ้น. บทวา สาธุ ความวางาม คือ ดี. บทวา หายติเยว ความวา ยอมเสื่อมไปหมดทีเดียวเหมือนน้ําที่บุคคลรดลงในเครื่องกรองน้ํา ฉะนั้น. หลายบทวาอุมฺมุชฺชิตฺวา วิปสฺสติ วิโลเกติ ความวา บุคคลที่โผลขึ้นไดแลวพิจารณาเหลียวแลดูทิศที่ควรจะไป. บทวา ปตรติ ความวา ชื่อวาเปนผูบายหนาตอทิศที่ควรไปขามไปอยู. สองบทวา ปติคาธปฺปตฺโต
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 30โหติ บุคคลโผลขึ้นมาแลวเหลียวดูขามไป ชื่อวายอมประสมที่พึงคือ ยอมยืนอยูในที่แหงหนึ่ง ไมหวนกลับมาอีก. บทวา ติณฺโณปารคโต ถเล ติฏติ ความวา บุคคลขามหวัง คือ กิเลสทั้งปวงถึงฝงโนนแลว ชื่อวา ยอมเปนผูยืนอยูบนบก คือ พระนิพพาน.วัฏฏะและวิวัฏฏะ พระผูมีพระภาคเจาตรัสไวในพระสูตรนี้.               จบ อรรถกถาอุทกูปมสูตรที่ ๕
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 31                       ๖. อนิจจสูตร       [๑๖] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๗ จําพวกนี้ เปนผูควรของคํานับ เปนผูควรของตอนรับ เปนผูควรของทําบุญ เปนผูควรกระทําอัญชลี เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา ๗ จําพวกเปนไฉน ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ พิจารณาเห็นความไมเที่ยง มีความสําคัญวาไมเที่ยง ทั้งรูวาเปนของไมเที่ยง                                                 ในสังขารทั้งปวง ตั้งใจมั่นติดตอกันไปไมขาดสาย มีปญญาหยั่งทราบยอมกระทําใหแจงซึ่งเจโตวิมุติ ปญญาวิมุติ อันหาอาสวะมิไดเพราะอาสวะทั้งหลายสิ้นไป ดวยปญญาอันยิ่งเอง ในปจจุบันเขาถึงอยู นี้เปนบุคคลที่ ๑ เปนผูควรของคํานับ ฯลฯ เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา.       ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลบางตนในโลกนี้พิจารณาเห็นความไมเที่ยง... มีปญญาหยั่งทราบ ความสิ้นอาสวะและความสิ้นชีวิตของเขา ไมกอนไมหลังกัน นี้เปนบุคคลที่ ๒เปนผูควรของคํานับ ฯลฯ เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา.       ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลบางคนในโลกนี้พิจารณาเห็นความไมเที่ยง... มีปญญาหยั่งทราบ เพราะโอรัมภาคิย-สังโยชน ๕ สิ้นไป เขาจักปรินิพพานในระหวาง นี้เปนบุคคลที่ ๓เปนผูควรของคํานับ ฯลฯ เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา.
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 32       ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลบางคนในโลกนี้พิจารณาเห็นความไมเที่ยง... มีปญญาหยั่งทราบ เพราะโอรัมภาคิย-สังโยชน ๕ สิ้นไป เขาจักปรินิพพานในเมืออายุเลยกึ่ง นี้เปนบุคคลที่ ๔ เปนผูควรของคํานับ ฯลฯ เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา.       ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลบางคนในโลกนี้พิจารณาเห็นความไมเที่ยง... มีปญญาหยั่งทราบ เพราะโอรัมภาคิย-สังโยชน ๕ สิ้นไป เขาจักปรินิพพานโดยไมตองใชความเพียรนักนี้เปนบุคคลที่ ๕ เปนผูควรของคํานับ ฯลฯ เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา.       ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลบางคนในโลกนี้พิจารณาเห็นความไมเที่ยง... มีปญญาหยั่งทราบ. เพราะโอรัมภาคิย-สังโยชน ๕ สิ้นไป เขาจักปรินิพพานโดยตองใชความเพียรเรี่ยวแรงนี้เปนบุคคลที่ ๖ เปนผูควรของคํานับ... เปนนาบุญของโลกไมมี                         นาบุญอื่นยิ่งกวา.       ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลบางคนในโลกนี้พิจารณาเห็นความไมเที่ยง มีความสําคัญวาไมเที่ยง ทั้งรูวาเปนของไมเที่ยง ในสังขารทั้งปวง ตังใจมั่น ติดตอกันไปไมขาดสาย                                   ้มีปญญาหยั่งทราบ เพราะโอรัมภาคิยสังโยชน ๕ สิ้นไป เขาเปนผูมีกระแสในเบื้องบน ไปสูอกนิฏฐภพ นี้เปนบุคคลที่ ๗ เปนผูควร
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 33ของคํานับ ฯลฯ เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๗ จําพวกนี้แล เปนผูควรของคํานับ เปนผูควรของตอนรับ เปนควรของทําบุญ เปนผูควรกระทําอัญชลี เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา.                       จบ อนิจจสูตรที่ ๖               อรรถกถาอนิจจสูตรที่ ๖      อนิจจสูตรที่ ๖ มีวินิจฉัยดังตอไปนี้.      บุคคลชื่อวา อนิจานุปสสี เพราะตามเห็นขยายไปดวยปญญาอยางนี้วา สังขารทั้งหลายไมเที่ยง. บุคคลชื่อวา อนิจจสัญญีเพราะมีความสําคัญอยางนี้วา สังขารทั้งหลายไมเที่ยง. บุคคลชื่อวาอนิจจปฏิสังเวที เพราะรูชัดดวยญาณ (ปญญา) อยางนี้วา สังขารทั้งหลายไมเที่ยง. บทวา สตต ไดแก ทุกกาล. บทวา สมิต ความวาจิตดวงหลัง ถึงแลวคือเขาถึงแลว สืบตอกับจิตดวงกอนอยางใดจิตดวงกอนก็สืบตอกับจิตดวงหลังอยางนั้น. บทวา อพฺโพกิณฺณความวา ตอกันไมขาดสาย คือไมเจือปนดวยจิตดวงอื่น. บทวาเจตสา อธิมุจฺจมาโน ไดแก นอมในไป. บทวา ปฺาย ปริโยคาหมาโนไดแก ตามเขาไปดวยวิปสสนาญาณ.
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 34      บทวา อปุพฺพ อจริม ไดแก ไมกอนไมหลัง คือในขณะเดียวกันนั้นเอง. พระผูมีพระภาคเจาตรัสสมสีสีบุคคล ไวในพระสูตรนี้.      สมสีสบุคคลนั้น มี ๔ จําพวก คือ โรคสมสีสี เวทนาสมสีสี             ีอิริยาปถสมสีสี และชีวิตสมสีสี. บรรดาบุคคล ๔ จําพวกนั้นบุคคลใดถูกโรคอยางใดอยางหนึ่งกระทบแลว โรคสงบระงับ และอาสวะสิ้นไป โดยคราวเดียวกันนั่นเอง บุคคลนี้ ชื่อวาโรคสมสีสี.สวนบุคคลใด เสวยเวทนาอยางใดอยางหนึ่ง เวทนาสงบระงับไปและอาสวะสิ้นไป ในคราวเดียวกันนั่นเองบุคคลนี้ ชื่อเวทนาสมสีสี.สวนบุคคลใด พรั่งพรอมดวยอิริยาบถอยางใดอยางหนึ่ง มีการยืนเปนตน เห็นแจงอยู อริยาบถสิ้นสุด และอาสวะสิ้นไป โดยขณะเดียวกันนั่นเอง บุคคลนี้ ชื่อวา อิริยาปถสมสีสี. สวนบุคคลใดพยายามฆาตัวตายหรือทําสมณธรรมอยู ชีวิตสิ้นไป และอาสวะก็สิ้นไป โดยขณะเดียวนี้นั่นเอง บุคคลนี้ ชื่อวา ชีวิตสมสีสี. ชีวิต-สมสีสีบุคคลนี้ ทานประสงคเอาในพระสูตรนี้. ในชีวิตสมสีสีบุคคลนั้น มีอธิบายวา ความสิ้นไปแหงอาสวะ ยอมมีไดดวยมรรคจิตความสิ้นสุดแหงชีวิตยอมมีไดดวยจุติจิตก็จริง ถึงกระนั้น ชื่อวาความเกิดพรอมแหงธรรมเปนที่สิ้นอาสวะ และการสิ้นสุดแหงชีวิตทั้ง ๒ อยาง ยอมมีในขณะเดียวกันไมได. ก็เพราะเหตุที่พออาสวะของชีวิตสมสีสีบุคคลนั้นสิ้นไป ความสิ้นสุดแหงชีวิตก็มาถึง ในลําดับวาระแหงปจจเวกขณะทีเดียว ไมปรากฏชองวาง ฉะนั้น ทานจึงกลาวอยางนี้.
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 35       บทวา อนฺตราปรินิพฺพายี นี้ เปนชื่อของพระอนาคามีบุคคลผูเกิดในภูมิใดภูมิหนึ่ง บรรดาสุทธาวาสภูมิทั้ง ๕ หรือเลยไปหนอยหนึ่ง หรือยังตั้งอยูตรงกลาง. ในขณะที่บังเกิดแลวบรรลุพระอรหัต.บทวา อุปหจฺจปรินิพฺพายี ไดแก พระอนาคามีบุคคล. ลวงเลยกลางอายุขัยแลว จึงบรรลุพระอรหัต ในสุทธาวาสภูมินั่นเอง.บทวา อสงฺขารปรินิพฺพายี ไดแก พระอนาคามีบุคคล ผูทํากิเลสทั้งหลายใหสิ้นไป โดยไมตองกระตุนเตือน ไมตองกระทําความพากเพียร ของบุคคลเหลานั้นทั้งนั้น. บทวา อสงฺขารปรินิพฺพายีไดแก พระอนาคามีบุคคล ผูทํากิเลสทั้งหลายใหสิ้นไป โดยตองกระตุนเตือน ตองมีความพยายาม. บทวา อุทธโสโตอกนิฏฐคามี                                               ฺไดแกพระอนาคามีบุคคล ผูบังเกิดในสุทธาวาสภูมิชั้นต่ํา ๔ ชั้นชั้นใดชั้นหนึง จุติจากภูมินั้นแลว เกิดในอกนิฏฐภูมิ โดยลําดับ              ่แลวบรรลุพระอรหัต.                   จบ อรรถกถาอนิจจสุตรที่ ๖
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 36                   ๗. ทุกขสูตร      [๗] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๗ จําพวกนี้ เปนผูควรของคํานับ ฯลฯ เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา ๗ จําพวกเปนไฉน บุคคลบางคนในโลกนี้ พิจารณาเห็นความทุกข มีความสําคัญวาเปนทุกข ทั้งรูวาเปนทุกข ในสังขารทั้งปวง ฯลฯ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๗ จําพวกนี้แล เปนผูควรของคํานับ เปนผูควรขอตอนรับ เปนผูควรของทําบุญ เปนควรกระทําอัญชลี เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา.                       จบ ทุกขสูตรที่ ๗                  อรรถกถาทุกขสูตรที่ ๗      ทุกขสูตรที่ ๗ มีวนิจฉัยดังตอไปนี้.                       ิ      บทวา ทุกฺขานุปสฺสี ไดแก บุคคลผูตามเห็นอาการคือ ความไมบีบคั้น โดยความเปนทุกข.                  จบ อรรถกถาทุกขสูตรที่ ๗
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 37                     ๘. อนัตตสูตร      ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๗ จําพวกนี้ เปนผูควรของคํานับ ฯลฯ เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา ๗ จําพวกเปนไฉน บุคคลบางคนในโลกนี้ พิจารณาเห็นวาเปนอนัตตา มีความสําคัญวาเปนอนัตตา ทั้งรูวาเปนอนัตตา ในธรรมทั้งปวง ฯลฯดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๗ จําพวกนี้แล เปนผูควรของคํานับ ฯลฯเปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา.                     จบ อนัตตา สูตรที่ ๘             อรรถกถาอนัตตาสูตรที่ ๘    อนัตตสูตรที่ ๘ มีวินิจฉัยดังตอไปนี้.    บทวา อนตฺตานุปสฺสี ไดแกบุคคลผูตามเห็นอาการ คือความไมเปนไปในอํานาจ วาธรรมทั้งหลายเปนอนัตตา ดังนี้.                   อรรถกถาอนัตตสูตรที่ ๘
พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 38                          ๙. นิพพานสูตร         ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๗ จําพวกนี้ เปนผูควรของคํานับเปนผูควรของตอนรับ เปนผูควรของทําบุญ เปนผูควรกระทําอัญชลี เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา ๗ จําพวกเปนไฉนบุคคลบางคนในโลกนี้ พิจารณาเห็นความเปนสุข สําคัญวาสุขทั้งรูวาเปนสุข ในนิพพาน ตั้งใจมั่น ติดตอกันไปไมขาดสาย มีปญญาหยั่งทราบ กระทําใหแจงซึ่งเจโตวิมุติ ปญญาวิมุติ อันหาอาสวะมิได เพราะอาสวะทั้งหลายสิ้นไป ดวยปญญาอันยิ่งเองในปจจุบันเขาถึงอยู นี้เปนบุคคลที่ ๑ เปนผูควรของคํานับ ฯลฯเปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา.         ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลบางคนในโลกนี้พิจารณาเห็นวาเปนสุข... มีปญญาหยั่งทราบ เพราะความสิ้นอาสวะสูความสิ้นชีวิตของทานนั้น ไมกอนไมหลังกัน นี้เปนบุคคลที่ ๒ เปนผูควรของคํานับ ฯลฯ เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา.         ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลบางคนในโลกนี้พิจารณาเห็นวาเปนสุข... มีปญญาหยั่งทราบ เพราะโอรัมภาคิย-สังโยชน ๕ สิ้นไป จักปรินิพพานในระหวาง นี้เปนบุคคลที่ ๓เปนผูควรของคํานับ ฯลฯ เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา.
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔

Contenu connexe

Tendances

Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑Tongsamut vorasan
 
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สายคู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สายPanda Jing
 
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tongsamut vorasan
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒Tongsamut vorasan
 
Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑Tongsamut vorasan
 
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรมพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรมTongsamut vorasan
 
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓Tongsamut vorasan
 
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์Sarod Paichayonrittha
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒Tongsamut vorasan
 
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑Tongsamut vorasan
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑Tongsamut vorasan
 
Tri91 26+สังยุตตนิกาย+นิทานวรรค+เล่ม+๒
Tri91 26+สังยุตตนิกาย+นิทานวรรค+เล่ม+๒Tri91 26+สังยุตตนิกาย+นิทานวรรค+เล่ม+๒
Tri91 26+สังยุตตนิกาย+นิทานวรรค+เล่ม+๒Tongsamut vorasan
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) Chor Chang
 
Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tongsamut vorasan
 
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัยมังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัยTongsamut vorasan
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑Tongsamut vorasan
 
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tongsamut vorasan
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑Tongsamut vorasan
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์Tongsamut vorasan
 

Tendances (20)

Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 39+ขุททกนิกาย+ขุททกปาฐะ+เล่ม+๑+ภาค+๑
 
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สายคู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
 
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 18+มัชฌิมนิกาย+มูลปัณณาสก์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
 
Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑
Tri91 32+อังคุตรนิกาย+เอกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๑
 
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรมพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
 
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
 
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
 
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๔ วินัยปิฎกที่ ๐๔ มหาวรรค ภาค ๑
 
Tri91 26+สังยุตตนิกาย+นิทานวรรค+เล่ม+๒
Tri91 26+สังยุตตนิกาย+นิทานวรรค+เล่ม+๒Tri91 26+สังยุตตนิกาย+นิทานวรรค+เล่ม+๒
Tri91 26+สังยุตตนิกาย+นิทานวรรค+เล่ม+๒
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
 
Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 01+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
 
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัยมังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
 
ติวOne tsocial
ติวOne tsocialติวOne tsocial
ติวOne tsocial
 
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
 

En vedette

3 33+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๗
3 33+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๗3 33+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๗
3 33+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๗Tongsamut vorasan
 
คำบวชภาษาอังกฤษ
คำบวชภาษาอังกฤษคำบวชภาษาอังกฤษ
คำบวชภาษาอังกฤษTongsamut vorasan
 
ประวัติวัดพุทธนานาชาติ ออสติน
ประวัติวัดพุทธนานาชาติ ออสตินประวัติวัดพุทธนานาชาติ ออสติน
ประวัติวัดพุทธนานาชาติ ออสตินTongsamut vorasan
 
จุลสารสงฆ์ไทย Aug.2008
จุลสารสงฆ์ไทย Aug.2008จุลสารสงฆ์ไทย Aug.2008
จุลสารสงฆ์ไทย Aug.2008Tongsamut vorasan
 
เขากู้แผ่นดินกันอย่างไร
เขากู้แผ่นดินกันอย่างไรเขากู้แผ่นดินกันอย่างไร
เขากู้แผ่นดินกันอย่างไรTongsamut vorasan
 
คำบวชภาษาอังกฤษ
คำบวชภาษาอังกฤษคำบวชภาษาอังกฤษ
คำบวชภาษาอังกฤษTongsamut vorasan
 
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์Tongsamut vorasan
 
แผนพัฒนางานพระธรรมทูตต่างประเทศ
แผนพัฒนางานพระธรรมทูตต่างประเทศแผนพัฒนางานพระธรรมทูตต่างประเทศ
แผนพัฒนางานพระธรรมทูตต่างประเทศTongsamut vorasan
 
3 28+ธมฺมปทฏฐกถา+(ฉฏโฐ+ภาโค)
3 28+ธมฺมปทฏฐกถา+(ฉฏโฐ+ภาโค)3 28+ธมฺมปทฏฐกถา+(ฉฏโฐ+ภาโค)
3 28+ธมฺมปทฏฐกถา+(ฉฏโฐ+ภาโค)Tongsamut vorasan
 
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑Tongsamut vorasan
 
คาถาธรรมบท ไทย อังกฤษ
คาถาธรรมบท ไทย อังกฤษคาถาธรรมบท ไทย อังกฤษ
คาถาธรรมบท ไทย อังกฤษTongsamut vorasan
 
1 06+อุภัยพากยปริวัตน์+ภาค+1 2
1 06+อุภัยพากยปริวัตน์+ภาค+1 21 06+อุภัยพากยปริวัตน์+ภาค+1 2
1 06+อุภัยพากยปริวัตน์+ภาค+1 2Tongsamut vorasan
 

En vedette (14)

เบญจศีล
เบญจศีลเบญจศีล
เบญจศีล
 
3 33+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๗
3 33+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๗3 33+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๗
3 33+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๗
 
คำบวชภาษาอังกฤษ
คำบวชภาษาอังกฤษคำบวชภาษาอังกฤษ
คำบวชภาษาอังกฤษ
 
ประวัติวัดพุทธนานาชาติ ออสติน
ประวัติวัดพุทธนานาชาติ ออสตินประวัติวัดพุทธนานาชาติ ออสติน
ประวัติวัดพุทธนานาชาติ ออสติน
 
จุลสารสงฆ์ไทย Aug.2008
จุลสารสงฆ์ไทย Aug.2008จุลสารสงฆ์ไทย Aug.2008
จุลสารสงฆ์ไทย Aug.2008
 
เขากู้แผ่นดินกันอย่างไร
เขากู้แผ่นดินกันอย่างไรเขากู้แผ่นดินกันอย่างไร
เขากู้แผ่นดินกันอย่างไร
 
คำบวชภาษาอังกฤษ
คำบวชภาษาอังกฤษคำบวชภาษาอังกฤษ
คำบวชภาษาอังกฤษ
 
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
1 05+บาลีไวยกรณ์+วากยสัมพันธ์
 
ภาค 1
ภาค 1ภาค 1
ภาค 1
 
แผนพัฒนางานพระธรรมทูตต่างประเทศ
แผนพัฒนางานพระธรรมทูตต่างประเทศแผนพัฒนางานพระธรรมทูตต่างประเทศ
แผนพัฒนางานพระธรรมทูตต่างประเทศ
 
3 28+ธมฺมปทฏฐกถา+(ฉฏโฐ+ภาโค)
3 28+ธมฺมปทฏฐกถา+(ฉฏโฐ+ภาโค)3 28+ธมฺมปทฏฐกถา+(ฉฏโฐ+ภาโค)
3 28+ธมฺมปทฏฐกถา+(ฉฏโฐ+ภาโค)
 
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
 
คาถาธรรมบท ไทย อังกฤษ
คาถาธรรมบท ไทย อังกฤษคาถาธรรมบท ไทย อังกฤษ
คาถาธรรมบท ไทย อังกฤษ
 
1 06+อุภัยพากยปริวัตน์+ภาค+1 2
1 06+อุภัยพากยปริวัตน์+ภาค+1 21 06+อุภัยพากยปริวัตน์+ภาค+1 2
1 06+อุภัยพากยปริวัตน์+ภาค+1 2
 

Plus de Tongsamut vorasan

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒Tongsamut vorasan
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษTongsamut vorasan
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์Tongsamut vorasan
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์Tongsamut vorasan
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติTongsamut vorasan
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตTongsamut vorasan
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมTongsamut vorasan
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔Tongsamut vorasan
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)Tongsamut vorasan
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯTongsamut vorasan
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018Tongsamut vorasan
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖Tongsamut vorasan
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจTongsamut vorasan
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นTongsamut vorasan
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทTongsamut vorasan
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2Tongsamut vorasan
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษTongsamut vorasan
 

Plus de Tongsamut vorasan (20)

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
 

Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔

  • 1. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 1 พระสุตตันตปฎก อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาติ เลมที่ ๔ขอนอบนอมแดพระผูมีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจาพระองคนน ั้ อังคุตตรนิกาย สัตตกนิบาต ปฐมปณณาสก ธนวรรคที่ ๑ ๑. อัปปยสูตร [๑] ขาพเจาไดสดับมาแลวอยางนี้. สมัยหนึ่ง พระผูมีพระภาคเจาประทับอยู ณ พระวิหารเชตวันอารามของทานอนาถบิณฑิกเศรษฐี ใกลกรุงสาวัตถี ณ ที่นนแล ั้พระผูมีพระภาคเจาตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายวา ดูกอนภิกษุทั้งหลายภิกษุเหลานั้นไดทูลรับพระผูมีพระภาคเจาแลว พระผูมีพระภาคเจาไดตรัสวา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผูประกอบดวยธรรม ๗ ประการ
  • 2. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 2ยอมไมเปนที่รัก ไมเปนที่พอใจ ไมเปนที่เคารพ และไมเปนที่สรร-เสริญของเพื่อนพรหมจรรยทั้งหลาย ธรรม ๗ ประการเปนไฉนดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เปนผูมุงลาภ ๑ เปนผูมุงสักการะ ๑ เปนผูมุงความมีชื่อเสียง ๑ เปนผูไมมีหิริ ๑ เปนผูไมมีโอตตัปปะ ๑ มีความปรารถนาลามก ๑ มีความเห็นผิด ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผูประกอบดวยธรรม ๗ ประการนี้แล ยอมไมเปนที่รักไมเปนที่ชอบใจ ไมเปนที่เคารพ และไมเปนที่สรรเสริญของเพื่อนพรหมจรรยทั้งหลาย. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผูประกอบดวยธรรม ๗ ประการยอมเปนที่รัก เปนที่ชอบใจ เปนที่เคารพ และเปนที่สรรเสริญของเพื่อนพรหมจรรยทั้งหลาย ธรรม ๗ ประการเปนไฉน ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ไมเปนผูมุงลาภ ๑ ไมเปนผูมุงสักการะ๑ ไมเปนผูมุงความมีชื่อเสียง ๑ มีหริ ๑ มีโอตตัปปะ ๑ มีความ ิปรารถนานอย ๑ มีความเห็นชอบ ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผูประกอบดวยธรรม ๗ ประการนี้แล ยอมเปนที่รัก เปนที่ชอบใจเปนที่เคารพและเปนที่สรรเสริญของเพื่อนพรหมจรรยทั้งหลาย. จบ อัปปยสูตรที่ ๑
  • 3. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 3 มโนรถปูรณี อรรถกถาอังคุตตรนิกาย สัตตกนิบาต ปฐมปณณาสก ธนวรรคที่ ๑ อรรถกถาอัปปยสุตรที่ ๑สัตตกนิบาต ปยสูตรที่ ๑ มีวินิจฉัยดังตอไปนี้.บทวา อนวฺตฺติกาโม แปลวา ผูประสงคเพื่อเปนผูมีชื่อเสียง. จบอรรถกถาอัปปยสูตรที่ ๑
  • 4. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 4 ๒. อัปปยสูตร [๒] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุประกอบดวยธรรม ๗ ประการยอมไมเปนที่รัก ไมเปนที่ชอบใจ ไมเปนที่เคารพ และไมเปนที่สรรเสริญของเพื่อนพรหมจรรยทั้งหลาย ธรรม ๗ ประการเปนไฉนดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เปนผูมุงลาภ ๑ เปนผูมุงสักการะ ๑ เปนผูมุงความมีชื่อเสียง ๑ ไมมีหิริ ๑ ไมมีโอตตัปปะ ๑มีความริษยา ๑ มีความตระหนี่ ๑. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผูประกอบดวยธรรม ๗ ประการนี้แล ยอมไมเปนที่รัก ไมเปนที่ชอบใจ ไมเปนที่เคารพ และไมเปนที่สรรเสริญของเพื่อนพรหมจรรยทั้งหลาย. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุประกอบดวยธรรม ๗ ประการยอมเปนที่รัก เปนที่ชอบใจ เปนที่เคารพ และเปนที่สรรเสริญของเพื่อนพรหมจรรยทั้งหลาย ธรรม ๗ ประการเปนไฉน ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ไมเปนผูมุงลาภ ๑ ไมเปนผูมุงสักการะ๑ ไมเปนผูมุงความมีชื่อเสียง ๑ มีหริ ๑ มีโอตตัปปะ ๑ ไมมความ ิ ีริษยา ๑ ไมตระหนี่ ๑. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผูประกอบดวยธรรม๗ ประการนีแล ยอมเปนที่รัก เปนที่ชอบใจ เปนที่เคารพและเปนที่ ้สรรเสริญของเพื่อนพรหมจรรยทั้งหลาย. จบ อัปปยสูตรที่ ๒
  • 5. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 5 ๓. ปฐมพลสูตร [๓] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย พละ ๗ ประการนี้ ๗ ประการเปนไฉน คือ ศรัทธาพละ วิริยพละ หิรพละ โอตตัปปพละ สติพละ ิสมาธิพละ ปญญาพละ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย พละ ๗ ประการนี้แล. ศรัทธาพละ วิริยพละ หิริพละ โอตตัปป- พละ สติพละ สมาธิพละ ปญญาพละเปนที่ ๗ ภิกษุผูมีพละดวยพละ ประการนี้ เปนบัณฑิต ยอมอยูเปนสุข พึงเลือกเฟนธรรมโดยแยบคาย ยอมเห็นอรรถแหงธรรมชัดดวยปญญา ความ หลุดพนแหจิต (จริมกจิต) คือ ความดับของ ภิกษุนั้นยอมมีได เหมือนความดับแหงประทีป ฉะนั้น. จบ ปฐมพลสูตรที่ ๓ อรรถกถาปฐมพลสูตรที่ ๓ ปฐมพลสูตรที่ ๓ มีวินิจฉัยดังตอไปนี้. บทวา ยนิโส วิจิเน ธมฺม ความวา ยอมเลือกเฟนธรรมคือสัจจะ ๔ โดยอุบาย. บทวา ปฺตฺถ วิปสฺสติ ความวา ยอมเห็นสัจจธรรม ดวยปญญาอันสัมปยุตดวยมรรคพรอมวิปสสนา. บทวา
  • 6. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 6ปชฺโชตสฺเสว ความวา ประหนึ่งความดับแหงประทีปฉะนั้น. บทวาวิโมกฺโข โหติ เจตโส ความวา จริมกจิต จิตดวงสุดทายของพระ-ขีณาสพ ผูประกอบดวยพละเหลานี้นั้น ยอมหลุดพันจากวัตถุและอารมณ เหมือนความดับไปแหงดวงประทีปฉะนั้น คือ ยอมไมปรากฏสถานที่ไป. จบ อรรถกถาปฐมพลสูตรที่ ๓
  • 7. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 7 ๔. ทุติยพลสูตร [๔]ดูกอนภิกษุทั้งหลาย พละ ๗ ประการนี้ ๗ ประการ เปนไฉน คือ ศรัทธาพละ วิริยพละ หิริพละ โอตตัปปพละ สติพละสมาธิพละ ปญญาพละ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็ศรัทธาพละเปนไฉนดูกอนภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เปนผูมีศรัทธา คือเชื่อพระปญญาตรัสรูของพระตถาคตวา แมเพราะเหตุนี้ ๆ พระผูมี-พระภาคเจาพระองคนั้น เปนพระอรหันต ตรัสรูเ องโดยชอบ ฯลฯเปนผูตื่นแลว เปนจําแนกธรรม นี้เรียกวา ศรัทธาพละ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย วิริยพละเปนไฉน ดูกอนภิกษุทั้งหลายอริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เปนผูปรารภความเพียรเพื่อละอกุศลธรรมเพื่อความถึงพรอมแหงกุศลธรรม เปนผูมีกําลัง มีความบากบั่นมั่นคง ไมทอดทิ้งธุระในกุศลธรรมทั้งหลาย นี้เรียกวา วิริยพละ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็หิริพละเปนไฉน ดูกอนภิกษุทั้งหลายอริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เปนผูมีความละอาย คือ ละอายตอกาย-ทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ละอายตอการจักตองอกุศลธรรมอันลามกทั้งหลายนี้เรียกวา หิริพละ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็โอตตัปปพละเปนไฉน กอนภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เปนผูมีความสะดุงกลัว คือ
  • 8. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 8สะดุงกลัวตอกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต สะดุงกลัวตอการถูกตองอกุศลธรรมอันลามกทั้งหลาย นี้เรียกวา โอตตัปปพละ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็สติพละเปนไฉน ดูกอนภิกษุทั้งหลายอริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เปนผูมีสติ คือ ประกอบดวยสติเครื่องรักษาตนอยางยิ่ง ยอมระลึกนึกถึงแมสิ่งที่ทําคําที่พูดไวนาน ไดนี้เรียกวา สติพละ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็สมาธิพละเปนไฉน ดูกอนภิกษุทั้งหลายอริยสาวกในธรรมวินัยนี้ สงัดจากกาม ฯลฯ บรรลุจตุตถฌาน นี้เรียกวา สมาธิพละ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็ปญญาพละเปนไฉน ดูกอนภิกษุทั้งหลายอริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เปนผูมีปญญา คือ ประกอบดวยปญญาที่กําหนดความเกิดและความดับ เปนอริยะ ชําแรกกิเลส ใหถึงความสิ้นทุกขโดยชอบ นี้เรียกวา ปญญาพละ ดูกอนภิกษุทั้งหลายพละ ๗ ประการนี้แล. ศรัทธาพละ วิริยพละ หิริพละ โอตตัปป- พละ สติพละ สมาธิพละ ปญญาพละเปนที่ ๗ ภิกษุผูมีพละดวยพละ ๗ ประการนี้ เปนบัณฑิต ยอมอยูเปนสุข พึงเลือกเฟนธรรมโดยแยบคาย ยอมเห็นอรรถแตงธรรมชัดดวยปญญา ความ
  • 9. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 9 หลุดพนแหงจิต (จริมกจิต) คือ ความดับของ ภิกษุนั้นยอมมีได เหมือนความดับแหงประทีป ฉะนั้น. จบ ทุติยพลสูตรที่ ๔ อรรถกถาทุติยพบสูตรที่ ๔ ทุติยพลสูตรที่ ๔ มีวินิจฉัยดังตอไปนี้. ทุติยพลสูตรที่ ๔ มีอาทิวา สทฺโธ โหติ ไดพรรณนาไวแลวในปญจกนิบาต นั่นแล. จบ อรรถกถาทุติยพลสูตรที่ ๔
  • 10. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 10 ๕. ปฐมธนสูตร [๕] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ทรัพย ๗ ประการนี้ ๗ ประการเปนไฉน คือ ทรัพยคือศรัทธา ๑ ศีล ๑ หิริ ๑ โอตตัปปะ ๑ สุตะ ๑จาคะ ๑ ปญญา ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ทรัพย ๗ ประการนี้แล. ทรัพย คือ ศรัทธา ศีล หิริ โอตตัปปะ สุตะ จาคะ และปญญาเปนที่ ๗ ทรัพยเหลานี้มี แกผูใด เปนหญิงหรือชายก็ตาม บัณฑิตเรียก ผูนนวา เปนผูไมยากจน ชีวตของผูนั้นไมเปลา ั้ ระลึกถึงคําสอนของพระพุทธเจา พึงประกอบ ศรัทธา ศีล ความเลื่อมใส และการเห็นธรรม. จบ ปฐมธนสูตรที่ ๕ อรรถกถาปฐมธนสูตรที่ ๕ ปฐมธนสูตรที่ ๕ มีวินิจฉัยดังตอไปนี้. บทวา ธนานิ ไดแกชื่อวาทรัพยเพราะอรรถวา เพราะบุคคลผูไมยากจนทําได. จบ อรรถกถาปฐมธนสูตรที่ ๕
  • 11. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 11 ๖. ทุติยธนสูตร [๖] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ทรัพย ๗ ประการนี้ ๗ ประการเปนไฉน คือ ทรัพยคือ ศรัทธา ๑ ศีล ๑ หิริ ๑ โอตตัปปะ ๑ สุตะ ๑จาคะ ๑ ปญญา ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็ทรัพยคือศรัทธาเปนไฉนดูกอนภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เปนผูมีศรัทธา คือเชื่อพระปญญาตรัสรูของพระตถาคตวา แมเพราะเหตุนี้ ๆ พระผูมีพระภาคเจาพระองคนั้น เปนพระอรหันต ตรัสรูเองโดยชอบ ฯลฯเปนผูตื่นแลว เปนผูจําแนกธรรม นี้เรียกวา ทรัพยคือศรัทธา. ดูกอนภิกษุทั้ง. หลาย ก็ทรัพยคือศีลเปนไฉน ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เปนผูเวนจากการฆาสัตว ฯลฯจากการดื่มน้ําเมาคือสุราและเมรัย อันเปนที่ตั้งแหงความประมาทนี้เรียกวา ทรัพยคือศีล. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็ทรัพยคือหิริเปนไฉน กอนภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เปนผูมีความละอาย คือ ละอายตอกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต ละอายตอการถูกตองอกุศลธรรมอันลามก นี้เรียกวา ทรัพยคือหิริ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็ทรัพยคือโอตตัปปะเปนไฉน ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เปนผูมีความสะดุงกลัว คือสะดุงกลัวตอกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต สะดุงกลัวตอการถูกตองอกุศลธรรมอันลามก นี้เรียกวา ทรัพยคือโอตตัปปะ.
  • 12. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 12 ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็ทรัพยคือสุตะเปนไฉน กอนภิกษุทั้งหลาย อริยะสาวกในธรรมวินัยนี้ เปนพหูสูต ทรงสุตะ สั่งสมสุตะเปนผูไดสดับมามาก ทรงไวคลองปาก ขึ้นใจ แทงตลอดดวยดีดวยทิฏฐิ. ซึ่งธรรมทั้งหลาย อันงามในเบื้องตน งามในทามกลางงามในที่สุด ประกาศพรหมจรรยพรอมทั้งอรรถทั้งพยัญชนะบริสุทธิ์บริบรณสิ้นเชิง นี้เรียกวา ทรัพยคือสุตะ. ู ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็ทรัพยคือจาคะเปนไฉน ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เปนผูมีใจอันปราศจากมลทินคือ ความตระหนี่ อยูครองเรือน มีจาคะอันปลอยแลว มีฝามืออันชุมยินดีในการสละ. ควรแกการขอ ยินดีในทานและการจําแนกทานนี้เรียกวา ทรัพยคือจาคะ. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็ทรัพยคอปญญาเปนไฉน ดูกอนภิกษุ ืทั้งหลาย อริยสาวกในธรรมวินัยนี้ เปนปญญา คือ ประกอบดวยปญญาที่กําหนดความเกิดและความดับ เปนอริยะ ชําแรกกิเลสใหถึงความสิ้นทุกขโดยชอบ นี้เรียกวา ทรัพยคือปญญา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ทรัพย ๗ ประการนี้แล. ทรัพย คือ ศรัทธา ศีล หิริ โอตตัปปะ สุตะ จาคะ และปญญาเปนที่ ๗ ทรัพยเหลานี้มี แกผูใด เปนหญิงหรือชายก็ตาม บัณฑิตเรียกผู นั้นวา เปนผูไมยากจน ชีวตของผูนั้นไมเปลา ิ
  • 13. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 13ประโยชน เพราะฉะนั้น ทานผูมีปญญา เมื่อระลึกถึงคําสอนของพระพุทธเจาทั้งหลาย พึงประกอบศรัทธา ศีล ความเลื่อมใส และการเห็นธรรม. จบ ทุติยธนสูตรที่ ๖
  • 14. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 14 ๗. อุคคสูตร [๗] ครังนั้นแล มหาอํามาตยของพระราชาชื่อวาอุคคะ ได ้เขาไปเฝาพระผูมีพระภาคเจาถึงที่ประทับ ถวายบังคมพระผูมีพระ-ภาคเจาแลว นั่ง ณ ที่ควรสวนขางหนึ่ง ครั้นแลวไดกราบทูลพระผูมีพระภาคเจาวา ขาแตพระองคผูเจริญ นาอัศจรรย ขาแตพระองคผูเจริญ ไมเคยมีมา โดยเหตุที่มิคารเศรษฐีผูเปนหลานโรหณเศรษฐี.เปนผูมั่งคั่ง มีทรัพยมาก มีโภคสมบัติมากถึงเพียงนี้ พระผูมพระ- ีภาคเจาตรัสถามวา ดูกอนอุคคะ ก็มิคารเศรษฐีหลานโรหณเศรษฐี มั่งคั่ง มีทรัพยมาก มีโภคสมบัติมากสักเทาไร. อุ. ขาแตพระองคผูเจริญ มีทองแสนลิ่ม จะกลาวไปไยถึงเงิน. พ. ดูกอนอุคคะ ทรัพยนั้นมีอยูแล เรามิไดกลาววาไมมี แต ทรัพยนั้นแลเปนของทั่วไปแกไฟ น้ํา พระราชา โจร ทายาทผูไมเปนที่รัก ดูกอนอุคคะ ทรัพย ๗ ประการนี้แล ไมทั่วไปแกไฟ น้า พระ- ํราชา โจร ทายาทผูไมเปนที่รัก ๗ ประการเปนไฉน คือ ทรัพยคือศรัทธา ๑ ศีล ๑ หิริ ๑ โอตตัปปะ ๑ สุตะ ๑ จาคะ ๑ ปญญา ๑ดูกอนอุคคะ ทรัพย ๗ ประการนี้แล ไมทั่วไปแกไฟ น้ํา พระราชาโจร ทายาทผูไมเปนที่รัก. ทรัพย คือ ศรัทธา ศีล หิริ โอตตัปปะ สุตะ จาคะ และปญญาเปนที่ ๗ ทรัพยเหลานี้ มีแกผูใด เปนหญิงหรือชายก็ตาม เปนผูมีทรัพย มากในโลก อันอะไร ๆ พึงผจญไมไดในเทวดา
  • 15. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 15 และมนุษย เพราะฉะนั้น ทานผูมีปญญา เมื่อ ระลึกถึงคําสอนของพระพุทธเจาทั้งหลาย พึง ประกอบศรัทธา ศีล ความเลื่อมใส และการ เห็นธรรม. จบสูตรที่ ๗ อรรถกถาอุคคสูตรที่ ๗ อคคสูตรที่ ๗ มีวนิจฉัยดังตอไปนี้. ิ บทวา อุคฺโค ราชมหามตฺโต ไดแก มหาอํามาตย ของพระเจาปเสนทิโกศล. บทวา อุปสงฺกมิ ความวา เปนผูบริโภคอาหารเชาเสร็จแลว จึงเขาไปเฝา. บทวา อทฺโธ ความวา เปนผูมั่งคั่งเพราะทรัพยที่เก็บไว.ดวยบทวา มิคาโร โรหเณยฺโย นี้ พระผูมีพระภาคเจาตรัสหมายเอามิคารเศรษฐีเปนหลานแหงโรหณเศรษฐี. บทวา มหทฺธโน ไดแกเปนมีทรัพยมากโดยทรัพยสําหรับใชสอย. บทวา มหาโภโคไดแก เปนผูมีโภคะมาก เพราะมีสิ่งอุปโภคและปริโภคมาก บทวาหิรฺสฺส ไดแกทองคํานั้นเอง. จริงอยู เฉพาะทองคําของเศรษฐีนั้นนับไดจํานวนเปนโกฏิ. บทวา รูปยสฺส ความวา กลาวเฉพาะเครื่องจับจายใชสอย เชนที่นอน เสื่อออน ขัน เครื่องลาด และเครื่องนุงหมเปนตน จะประมาณไมไดเลย. จบ อรรถกถาอุคคสูตรที่ ๗
  • 16. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 16 ๘. สังโยชนสูตร [๘] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย สังโยชน ๗ ประการนี้ ๗ ประการเปนไฉน คือ สังโยชน คือ ความยินดี ๑ ความยินราย ๑ ความเห็นผิด๑ ความสงสัย ๑ มานะ ๑ ความกําหนัดในภพ ๑ อวิชชา ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย สังโยชน ๗ ประการนี้แล. จบ สังยชนสูตรที่ ๘ อรรถกถาสังโยชนสูตรที่ ๘ สังโยชนสูตรที่ ๘ มีวินิจฉัยดังตอไปนี้. บทวา อนุนยสฺโชน ไดแก กามราคสังโยชน. ความจริงสังโยชนทั้งหมดนี้นั่นแหละ พึงทราบวา สังโยชน เพราะอรรถวาเปนเครื่องผูก. ในสูตรนี้ พระผูมพระภาคเจาตรัสเฉพาะวัฏฏอยาง ีเดียว. คําที่เหลือในบททั้งปวง งายทั้งนั้นแล. จบ อรรถกถาสังโยชนสูตรที่ ๘
  • 17. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 17 ๙. ปหาสูตร [๙] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุยอมประพฤติพรหมจรรย เพื่อละ เพื่อตัดสังโยชน ๗ ประการ ๗ ประการเปนไฉน คือ สังโยชนคือ ความยินดี ๑ ความยินราย ๑ ความเห็นผิด ๑ ความสงสัย ๑มานะ ๑ ความกําหนัดในภพ ๑ อวิชชา ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุยอมอยูประพฤติพรหมจรรยเพื่อละ เพื่อตัดสังโยชน ๗ ประการนี้แลดูกอนภิกษุทั้งหลาย เมื่อใดแล ภิกษุละสังโยชน คือ ความยินดีเสียไดตัดรากขาดแลว ทําใหเปนเหมือนตาลยอดดวน ไมใหมี ไมใหเกิดขึ้นตอไปเปนธรรมดา ละสังโยชน คือความยินราย ฯลฯ สังโยชนคือ ความเห็นผิด ฯลฯ สังโยชนคือความสงสัย ฯลฯ สังโยชนคือมานะ ฯลฯ สังโยชนคือความกําหนัดในภพ ฯล สังโยชนคืออวิชชาเสียได ตัดรากขาดแลว ทําใหเปนเหมือนตาลยอดดวน ไมใหมี ไมใหเกิดขึ้นอีกตอไปเปนธรรมดา เมื่อนั้น ภิกษุนี้ เรากลาววา ตัดตัณหาไดขาดแลว เพิกถอนสังโยชนไดแลว กระทําทีสุดแหงทุกขไดแลว ่เพราะตรัสรูคือละมานะเสียไดโดยชอบ. จบสูตรที่ ๙
  • 18. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 18 ๑๐. มัจฉริยสูตร [๑๐] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย สังโยชน ๗ ประการนี้ ๗ ประการเปนไฉน คือ สังโยชนคือ ความยินดี ๑ ความยินราย ๑ ความเห็นผิด๑ ความสงสัย ๑ มานะ ๑ ความริษยา ๑ ความตระหนี่ ๑ กอนภิกษุทั้งหลาย สังโยชน ๗ ประการนี้แล. จบสูตรที่ ๑๐ รวมพระสูตรที่มีในวรรคนี้ คือ ๑. ปฐมอัปปยสูตร ๒. ทุติยอัปปยสูตร ๓. ปฐมพลสูตร๔. ทุติยพลสูตร ๕. ปฐมธนสูตร ๖. ทุติยธนสูตร ๗. อุคคสูตร๘. สังโยชนสูตร ๙. ปหานสูตร ๑๐. มัจฉริยสูตร จบ ธนวรรคที่ ๑
  • 19. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 19 อนุสยวรรคที่ ๒ ๑. ปฐมอนุสยสูตร [๑๑] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อนุสัย ๗ ประการนี้ ๗ ประการเปนไฉน คือ อนุสัย คือ กามราคะ ๑ อนุสัย คือ ปฏิฆะ ๑ อนุสัย คือทิฏฐิ ๑ อนุสัย คือ วิจิกิจฉา ๑ อนุสัย คือ มานะ ๑ อนุสย คือ ภวราคะ ั๑ อนุสัย คือ อวิชชา ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อนุสัย ๗ ประการนี้แล. จบ ปฐมอนุสยสูตรที่ ๑
  • 20. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 20 ๒. ทติยอนุสยสูตร [๑๒] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุยอมอยูประพฤติพรหมจรรยเพื่อละ เพื่อตัดอนุสัย ๗ ประการ ๗ ประการเปนไฉน คือ อนุสัย คือกามราคะ ๑ อนุสัย คือ ปฏิฆะ ๑ อนุสัย คือ ทิฏฐิ ๑ อนุสัย คือวิจิกิจฉา ๑ อนุสัย คือ มานะ ๑ อนุสัย คือ ภวราคะ ๑ อนุสัย คืออวิชชา ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุยอมอยูประพฤติพรหมจรรยเพื่อละ เพื่อตัดอนุสัย ๗ ประการนี้แล ดูกอนภิกษุทั้งหลาย เมื่อใดแลภิกษุละอนุสัยคือกามราคะเสียได ตัดรากขาดแลว ทําใหเปนเหมือนตาลยอดดวน ไมใหมี ไมใหเกิดขึ้นอีกตอไปเปนธรรมดา ละอนุสัยคือ ปฏิฆะ... อนุสัย คือ ทิฏฐิ... อนุสัย คือ วิจิกิจฉา... อนุสัย คือมานะ... อนุสัย คือ ภวราคะ... อนุสัย คือ อวิชชาเสียได ตัดรากขาดแลว ทําใหเปนเหมือนตาลยอดดวน ไมใหมี ไมใหเกิดขึ้นอีกตอไป เปนธรรมดา เมื่อนั้น ภิกษุนี้เรากลาววา ตัณหาไดแลวเพิกถอนสังโยชนไดแลว กระทําที่สุดทุกขไดแลว เพราะตรัสรูคือละมานะเสียไดโดยชอบ. จบ ทุติอนุสยสูตรที่ ๒
  • 21. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 21 ๓. กุลสูตร [๑๓] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย สกุลซึ่งประกอบดวยองค ๗ประการ ภิกษุยังไมเคยเขาไป ไมควรเขาไป หรือเขาไปแลวไมควรนั่ง องค ๗ ประการเปนไฉน คือ ตอนรับดวยไมเต็มใจ ๑ไหวดวยไมเต็ม ๑ ใหอาสนะดวยไมเต็มใจ ๑ ซอนของที่มีอยู ๑เมื่อมีของมากใหนอย ๑ เมื่อมีของประณีตใหของเศราหมอง ๑ ใหโดยไมเคารพ ไมใหโดยเคารพ ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย สกุลซึ่งประกอบดวยองค ๗ ประการนี้แล ภิกษุยังไมเคยเขาไป ไมควรเขาไป หรือเขาไปแลวไมควรนั่ง ดูกอนภิกษุทั้งหลาย สกุลซึ่งประกอบดวยองค ๗ ประการ ภิกษุยังไมเคยเขาไป ควรเขาไปหรือเขาไปแลว ควรนั่ง องค ๗ ประการเปนไฉน คือ ตอนรับดวยเต็มใจ ๑ ไหวดวยเต็มใจ ๑ ใหอาสนะดวยเต็มใจ ๑ ไมซอนของที่มีอยู ๑ เมื่อมีของมากใหมาก ๑ เมื่อมีของประณีตใหของประณีต ๑ใหโดยเคารพ ไมใหโดยไมเคารพ ๑ กอนภิกษุทั้งหลาย สกุลซึ่งประกอบดวยองค ๗ ประการนี้แล ภิกษุยังไมเคยเขาไป ควรเขาไปหรือเขาไปแลวควรนั่ง. จบ กุลสูตรที่ ๓
  • 22. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 22 อนุสยวรรคที่ ๒ อรรถกถากุลสูตรที่ ๓ วรรคที่ ๒ กุลสูตรที่ ๓ มีวินิจฉัยดังตอไปนี้. บทวา นาล แปลวา ไมควร คือไมเหมาะสม. บทวา น มนาเปนความวา ลุกจากอาสนะที่ตนนั่ง โดยอาการไมคอยเต็มใจ คือแสดงอาการไมพอใจนั่นเอง. สองบทวา สนฺตมสฺส ปริคูหนฺติ ความวายอมซอน คือยอมปกปด - ไทยธรรมแมที่มีอยูแกภิกษุนั้น. บทวาอสกฺกจฺจ เทนฺติ โน สกฺกจฺจ ความวา ไมวาจะเปนสิ่งเศราหมองหรือประณีตก็ตาม ให ไมใชดวยมือของตน คือโดยอาการไมยําเกรงยอมไมใหโดยอาการยําเกรง. จบ อรรถกถากุลสูตรที่ ๓
  • 23. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 23 ๔. ปุคคสูตร [๑๔] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๗ จําพวกนี้ เปนผูควรของคํานับ เปนผูควรของตอนรับ เปนผูควรของทําบุญ เปนผูควรกระทําอัญชลี เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา ๗ จําพวกเปนไฉน คือ อุภโตภาควิมุต ๑ ปญญาวิมุติ ๑ กายสักยี ๑ ทิฏฐิปปตตะ๑ สัทธาวิมุติ ๑ ธัมมานุสารี ๑ สัทธานุสารี ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลายบุคคล ๗ จําพวกนี้แล เปนผูควรของคํานับ เปนผูควรของตอนรับเปนผูควรของทําบุญ เปนผูควรกระทําอัญชลี เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา. จบ ปุคคลสูตรที่ ๔ อรรถกถาปุคคลสูตรที่ ๔ ปุคคลสูตรที่ ๔ มีวินิจฉัยดังตอไปนี้. บทวา อุภโตภาควิมุตฺโต ความวา หลุดพนแลวโดยสวนทั้ง ๒.อธิบายวา หลุดพนแลวจากรูปกาย ดวยอรูปสมาบัติ และหลุดพนแลวจากนามกายดวยมรรค. บุคคลนั้นมี ๕ จําพวก คือ บุคคลผูออกจากอรูปสมาบัติ ๔ แตละสมาบัติ แลวพิจารณาสังขารแลวบรรลุพระอรหัต ๔ จําพวก, และพระอนาคามีผูออกจากนิโรธแลว
  • 24. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 24บรรลุพระอรหัต ๑ จําพวก. แตบาลีในพระสูตร มาแลวดวยอํานาจผูไดวิโมกข ๘ อยางนี้วา ก็บุคคลผูหลุดพันโดยสวน ๒ เปนไฉน ?บุคคลบางคนในพระศาสนานี้ ถูกตองวิโมกข ดวยนามกายแลวอยูอาสวะของผูนั้นยอมสิ้นไป เพราะเห็นแมดวยปญญา. บุคคลผูชื่อวา ปญญาวิมุตตะ เพราะหลุดพนดวยปญญา.ปญญาวิมุตตะนั้นมี ๕ จําพวก ไดแกบุคคลเหลานี้คือ พระ-อรหันตสุกขวิปสสกะจําพวก ๑ ทานออกจากฌาน ๔ แลวบรรลุพระอรหัต ๔ จําพวก. แตบาลีในสูตรนี้มาแลว โดยปฏิเสธวิโมกข ๘ดังพระธรรมสังคาหกาจารยกลาวไววา ความจริง บุคคลไมไดถูกตองวิโมกข ๘ ดวยนามกายอยู อาสวะทั้งหลายของเขายอมสิ้นไปเพราะเห็นแมดวยปญญา บุคคลนี้ทานเรียกวา ปญญาวิมุตติ หลุดพนแลวดวยปญญา. บุคคลชื่อวา กายสักขี เพราะทําใหวิโมกขนั้น อันตนทําใหแจงแลวดวยนามกาย. กายสักขีปุคคลนั้นยอมถูกตองฌานสัมผัสกอน ยอมทําใหแจงซึ่งนิโร คือพระนิพพานในภายหลัง. กายสักขี-บุคคลนั้น นับตั้งแตพระอริยบุคคลผูตั้งอยูในโสดาปตติผล จนถึงพระอริยบุคคล ผูตั้งอยูในอรหัตตมรรค รวมเปน ๖ จําพวกเพราะเหตุนั้น ทานจึงกลาวไววา บุคคลบางคนในพระศาสนาถูกตองวิโมกข ๘ ดวยนามกายอยู อาสวะ บางเหลาของผูนั้นยอมสิ้นไป เพราะเห็นแมดวยปญญา บุคคลนี้ทานเรียกวา กายสักขีดวยเห็นวิโมกขดวยนามกาย.
  • 25. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 25 บุคคลผูชื่อวา ทิฏฐิปปตตะ เพราะถึงอริยสัจจธรรมที่ตนเห็นแลว. ในทิฏฐิปปตตบุคคลนั้น มีสักษณะสังเขปดังตอไปนี้ บุคคลชื่อวา ทิฏฐิปปตตะ เพราะรู เห็น รูแจง ทําใหแจง ถูกตองดวยปญญาวา สังขารทั้งหลายเปนทุกข ความดับสังขารเปนสุขดังนี้. แตเมื่อวาโดยพิศดาร บุคคลแมนั้น ยอมมี ๖ จําพวก ดุจกายสักขีบุคคลฉะนั้น. ดวยเหตุนั้นนั่นแล ทานจึงกลาววา บุคคลบางตนในพระ-ศาสนานี้ ยอมรูชัดตามความเปนจริงวา นี้ทุกข ฯลฯ ยอมรูชัดตามความเปนจริงวา นี้ปฏิปทา เปนเครื่องยังสัตวใหถึงความดับทุกขดังนี้ และเปนผูมีธรรมทั้งหลายที่พระตถาคตประกาศแลว ซึ่งตนเห็นแลวดวยปญญา อันตนประพฤติแลวปญญา บุคคลนี้ ทานเรียกวา ทิฏฐิปปตตะ ผูถึงอริยสัจจ ที่ตนเห็นแลว. บุคคล ชื่อวา สัทธาวิมุตตะ เพราะหลุดพนดวยศรัทธาสัทธาวิมุตตบุคคลแมนั้น ก็มี ๖ จําพวก โดยนัยดังกลาวแลวนั่นแล.ดวยเหตุนั้น ทานจึงกลาววา บุคคลบางคนในพระศาสนานี้ ยอมรูชัดตามความเปนจริงวา นี้ทุกข ฯลฯ ยอมรูชัดตามความเปนจริงวา นี้ปฏิปทาเปนเครื่องใหถึงความดับทุกข และยอมเปนผูมีธรรมที่พระตถาคตประกาศแลว ซึ่งตนเห็นแลวดวยปญญา อันตนประพฤติแลวดวยปญญา ฯลฯ บุคคลนี้ ทานเรียกวา สัทธาวิมุตตะ หลุดพนดวยศรัทธา แตวาไมเปนเหมือนความหลุดพนของทิฏฐิปปตตะบุคคล.เพราะความสิ้นกิเลสของสัทธาวิมุตตะบุคคลนี้ เหมือนความสิ้นกิเลสของบุคคลผูเชื่ออยู ปกใจเชื่ออยู เเละนอมใจเชื่ออยู ในมัคคขณะอันเปนสวนเบื้องตนฉะนั้น ญาณอันเปนเครื่องดับกิเลสในมัคคขณะ
  • 26. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 26อันเปนสวนเบื้อตน ของทิฏฐิปปตตะบุคคล เปนญาณไมชักชากลาแข็ง แหลมคม ตัดกิเลสผานไปไมได เพราะเหตุนั้น เหมือนอยางวา บุคคลใชดาบที่ไมคม ตัดตนกลวย รอยขาดของตนกลวยยอมเกลี้ยงเกลา ดาบก็ไมนํา (ตัด) ไปไดโดยฉับพลัน ยังไดยินเสียงใชความพยายามอยางแรงกลา ฉันใด มรรคภาวนา อันเปนสวนเบื้องตน ของสัทธาวิมุตตบุคคลนั้น พึงทราบเหมือนฉันนั้นแตยุคคล เอาดาบที่ลับดีแลวตัดตนกลวย รอยขาดของตนกลวยยอมเกลี้ยงเกลา ดาบยอมนํา (ตัด) ไดฉับพลัน ไมไดยินเสียง ไมตองใชความพยายามอยางแรง ฉันใด มรรคภาวนา อันเปนสวนเบื้องตนของปญญาวิมุตตบุคคลก็พึงทราบฉันนั้นเหมือนกัน. บุคคล ชื่อวา ธัมมานุสารี เพราะตามระลึกถึงธรรม. พรอมชื่อวา ธรรม. อธิบายวา บุคคลยอมเจริญมรรคอันมีปญญาเปนตัวนําแมในบุคคลผูสัทธานุสารีก็นัยนี้เหมือนกัน. บุคคลทั้ง ๒ นัน ก็ตอ ้บุคคลผูตั้งอยูในโสดาปตติมรรคนั่นแล. สมจริงดังคําที่ธรรมสังคห-กาจารย กลาวไววา บุคคลใด ปฏิบัติเพื่อทําใหแจงโสดาปตติผลปญญินทรียยอมมีจํานวนมาก บุคคลนั้นชื่อวา ยอมเจริญอริยมรรค อันมีปญญาเปนตัวนํา บุคคลนี้ทานเรียกวา ธัมมานุสารี. ในธัมมา-นุสารีนั้น มีความสังเขปเพียงเทานี้. แตเมื่อวาโดยพิสดาร กถาวาดวยอุภโตภาควิมุตตะปุคคลเปนตนนี้ ก็กลาวไวแลวในอธิการวาดวยปญญาภาวนาในวิสุทธิมรรค เพราะเหตุนั้น บัณฑิตพึงทราบโดยที่กลาวแลวในปกรณนั้นเถิด ดังนี.้ จบ อรรถกถาปุคคลสูตรที่ ๔
  • 27. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 27 ๕. อุทกูปมสูตร [๑๕] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลมีเปรียบดวยน้ํา ๗ จําพวกนี้มีปรากฏอยูในโลก ๗ จําพวกเปนไฉน บุคคลบางคนในโลกนี้จมลงแลวคราวเดียว ก็เปนอันจมอยูนั่นเอง ๑ บางคนโผลขึ้นมาแลวกลับจมลงไป ๑ บางคนโผลพนแลวทรงตัวอยู ๑ บางคนโผลขึ้นแลวเหลียวไปมา ๑ บางคนโผลขึ้นแลวเตรียมตัวจะขาม ๑ บางคนโผลขึ้นแลวไดที่พึ่ง ๑ บางคนโผลขึ้นมาไดแลวเปนพราหมณขามถึงฝงอยูบนบก ๑ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็บุคคลที่จมลงแลวคราวเดียวก็เปนอันจมอยูนั่นเองอยางไร บุคคลบางคนในโลกนี้ เปนผูประกอบดวยอกุศลธรรมฝายดําโดยสวนเดียว ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลที่จมลงแลวคราวเดียวก็เปนอันจมอยูนั่นเองอยางนี้แล. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็บคคลที่โผลขึ้นมาไดกลับจมลงไป ุอยางไร บุคคลบางคนในโลกนี้ โผลขึ้นมาได คือเขามีธรรม คือศรัทธา หิริ โอตตัปปะ วิริยะ ปญญาชั้นดี ๆ ในกุศลธรรมทังหลาย ้แตศรัทธาของเขานั้นไมคงที่ ไมเจริญขึ้น เสื่อมไปฝายเดียว หิริโอตตัปปะ วิริยะ ปญญาของเขานั้น ไมคงที่ ไมเจริญขึ้น เสื่อมไปฝายเดียว ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลที่โผลขึ้นมาแลวกลับจมลงอยางนี้แล. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็บุคคลทีโผลขึ้นมาแลวทรงตัวอยูอยางไร ่บุคคลบางคนในโลกนี้ โผลขึ้นมาได คือ เขามีธรรมเหลานี้ คือ ศรัทธาหิริ โอตตัปปะ วิริยะ ปญญาชั้นดี ๆ ในกุศลธรรมทั้งหลาย แต
  • 28. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 28ศรัทธาของเขานั้นไมเสื่อมลง ไมเจริญขึ้น คงทีอยู หิริ โอตตัปปะ ่วิริยะ และปญญาของเขานั้นไมเสื่อมลง ไมเจริญขึ้น คงที่อยู ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลที่โผลขึ้นมาไดแลวทรงตัวอยูอยางนี้แล. กอนภิกษุทั้งหลาย ก็บุคคลทีโผลขึ้นมาไดแลวเหลียวไปมา ่อยางไร บุคคลบางตนในโลกนี้ โผลขึ้นมาได คือ เขามีธรรมเหลานี้คือ ศรัทธา หิริ โอตตัปปะ วิริยะ ปญญาชั้นดี ๆ ในกุศลธรรมทั้งหลาย เพราะสังโยชน ๓ สิ้นไป เขาเปนพระโสดาบัน มีอันไมตกต่ําเปนธรรมดา เปนผูเที่ยงที่จะตรัสรูในเบื้องหนา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลที่โผลขึ้นมาไดแลวเหลียวไปมาอยางนี้แล. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็บุคคลที่โผลขึ้นมาไดแลวเตรียมตัวจะขามอยางไร บุคคลบางคนในโลกนี้ โผลขึ้นมาได คือ เขามีธรรมเหลานี้ คือ ศรัทธา หิริ โอตตัปปะ วิริยะ ปญญาชันดี ๆ ในกุศลธรรม ้ทั้งหลาย เพราะสังโยชน ๓ สิ้นไป เพราะทําราคะ โทสะ โมหะใหเบาบางลง เขาเปนพระสกทาคามี มาสูโลกนีอีกครั้งเดียวเทานั้น ้แลวทําที่สุดทุกขได บุคคลที่โผลขึ้นมาไดแลว เตรียมตัวจะขามอยางนี้แล. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็บุคคลที่โผลขึ้นมาแลวไดที่พึ่งอยางไรบุคคลบางตนในโลกนี้ โผลขึ้นมาได คือ เขามีธรรมเหลานี้ คือศรัทธา หิริ โอตตัปปะ วิริยะ ปญญา ชั้นดี ๆ ในกุศลธรรมทังหลาย ้เพราะโอรัมภาคิยสังโยชน ๕ สิ้นไป เขาเปนพระอนาคามี จักปรินิพพานในภพนั้น มีอันไมกลับจากโลกนั้นเปนธรรมดา บุคคลที่โผลขึ้นมาแลวไดที่พึ่งอยางนี้แล.
  • 29. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 29 ดูกอนภิกษุทั้งหลาย ก็บุคคลที่โผลขึ้นมาไดแลวเปนพราหมณขามถึงฝงอยูบนบกอยางไร บุคคลบางคนในโลกนี้ โผลขึ้นมาไดคือ เขามีธรรมเหลานี้ คือ ศรัทธา หิริ โอตตัปปะ วิริยะ ปญญาชั้นดี ๆ ในกุศลธรรมทั้งหลาย เขากระทําใหแจงซึ่งเจโตวิมุติ ปญญา-วิมุติ อันหาอาสวะมิได เพราะอาสวะทั้งหลายสิ้นไป ดวยปญญาอันยิ่งเอง ในปจจุบัน เขาถึงอยู บุคคลที่โผลขึ้นมาไดแลวเปนพราหมณขามถึงฝงอยูบนบกอยางนี้แลว กอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลเปรียบดวยน้ํา ๗ จําพวกนี้แล มีปรากฏอยูในโลก. จบ อุทกูปมสูตรที่ ๕ อรรถกถาอุทกูปมสูตรที่ ๕ อุทกูปมสูตรที่ ๕ มีวินิจฉัยดังตอไปนี้. บทวา อุทกูปมา ความวา บุคคล ทานเปรียบดวยน้ํา เพราะถือเอาอาการมีการดําลงเปนตน. สองบทวา สกึ นิมุคฺโค ไดแกดําลงคราวเดียว บทวา เอกนฺตกาฬเกหิ พระองคตรัสหมายถึงนิยตมิจฉาทิฏฐิ. บทวา อุมฺมุชฺชติ แปลวาผุดขึ้น. บทวา สาธุ ความวางาม คือ ดี. บทวา หายติเยว ความวา ยอมเสื่อมไปหมดทีเดียวเหมือนน้ําที่บุคคลรดลงในเครื่องกรองน้ํา ฉะนั้น. หลายบทวาอุมฺมุชฺชิตฺวา วิปสฺสติ วิโลเกติ ความวา บุคคลที่โผลขึ้นไดแลวพิจารณาเหลียวแลดูทิศที่ควรจะไป. บทวา ปตรติ ความวา ชื่อวาเปนผูบายหนาตอทิศที่ควรไปขามไปอยู. สองบทวา ปติคาธปฺปตฺโต
  • 30. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 30โหติ บุคคลโผลขึ้นมาแลวเหลียวดูขามไป ชื่อวายอมประสมที่พึงคือ ยอมยืนอยูในที่แหงหนึ่ง ไมหวนกลับมาอีก. บทวา ติณฺโณปารคโต ถเล ติฏติ ความวา บุคคลขามหวัง คือ กิเลสทั้งปวงถึงฝงโนนแลว ชื่อวา ยอมเปนผูยืนอยูบนบก คือ พระนิพพาน.วัฏฏะและวิวัฏฏะ พระผูมีพระภาคเจาตรัสไวในพระสูตรนี้. จบ อรรถกถาอุทกูปมสูตรที่ ๕
  • 31. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 31 ๖. อนิจจสูตร [๑๖] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๗ จําพวกนี้ เปนผูควรของคํานับ เปนผูควรของตอนรับ เปนผูควรของทําบุญ เปนผูควรกระทําอัญชลี เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา ๗ จําพวกเปนไฉน ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคลบางคนในโลกนี้ พิจารณาเห็นความไมเที่ยง มีความสําคัญวาไมเที่ยง ทั้งรูวาเปนของไมเที่ยง ในสังขารทั้งปวง ตั้งใจมั่นติดตอกันไปไมขาดสาย มีปญญาหยั่งทราบยอมกระทําใหแจงซึ่งเจโตวิมุติ ปญญาวิมุติ อันหาอาสวะมิไดเพราะอาสวะทั้งหลายสิ้นไป ดวยปญญาอันยิ่งเอง ในปจจุบันเขาถึงอยู นี้เปนบุคคลที่ ๑ เปนผูควรของคํานับ ฯลฯ เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลบางตนในโลกนี้พิจารณาเห็นความไมเที่ยง... มีปญญาหยั่งทราบ ความสิ้นอาสวะและความสิ้นชีวิตของเขา ไมกอนไมหลังกัน นี้เปนบุคคลที่ ๒เปนผูควรของคํานับ ฯลฯ เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลบางคนในโลกนี้พิจารณาเห็นความไมเที่ยง... มีปญญาหยั่งทราบ เพราะโอรัมภาคิย-สังโยชน ๕ สิ้นไป เขาจักปรินิพพานในระหวาง นี้เปนบุคคลที่ ๓เปนผูควรของคํานับ ฯลฯ เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา.
  • 32. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 32 ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลบางคนในโลกนี้พิจารณาเห็นความไมเที่ยง... มีปญญาหยั่งทราบ เพราะโอรัมภาคิย-สังโยชน ๕ สิ้นไป เขาจักปรินิพพานในเมืออายุเลยกึ่ง นี้เปนบุคคลที่ ๔ เปนผูควรของคํานับ ฯลฯ เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลบางคนในโลกนี้พิจารณาเห็นความไมเที่ยง... มีปญญาหยั่งทราบ เพราะโอรัมภาคิย-สังโยชน ๕ สิ้นไป เขาจักปรินิพพานโดยไมตองใชความเพียรนักนี้เปนบุคคลที่ ๕ เปนผูควรของคํานับ ฯลฯ เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลบางคนในโลกนี้พิจารณาเห็นความไมเที่ยง... มีปญญาหยั่งทราบ. เพราะโอรัมภาคิย-สังโยชน ๕ สิ้นไป เขาจักปรินิพพานโดยตองใชความเพียรเรี่ยวแรงนี้เปนบุคคลที่ ๖ เปนผูควรของคํานับ... เปนนาบุญของโลกไมมี นาบุญอื่นยิ่งกวา. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลบางคนในโลกนี้พิจารณาเห็นความไมเที่ยง มีความสําคัญวาไมเที่ยง ทั้งรูวาเปนของไมเที่ยง ในสังขารทั้งปวง ตังใจมั่น ติดตอกันไปไมขาดสาย ้มีปญญาหยั่งทราบ เพราะโอรัมภาคิยสังโยชน ๕ สิ้นไป เขาเปนผูมีกระแสในเบื้องบน ไปสูอกนิฏฐภพ นี้เปนบุคคลที่ ๗ เปนผูควร
  • 33. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 33ของคํานับ ฯลฯ เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๗ จําพวกนี้แล เปนผูควรของคํานับ เปนผูควรของตอนรับ เปนควรของทําบุญ เปนผูควรกระทําอัญชลี เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา. จบ อนิจจสูตรที่ ๖ อรรถกถาอนิจจสูตรที่ ๖ อนิจจสูตรที่ ๖ มีวินิจฉัยดังตอไปนี้. บุคคลชื่อวา อนิจานุปสสี เพราะตามเห็นขยายไปดวยปญญาอยางนี้วา สังขารทั้งหลายไมเที่ยง. บุคคลชื่อวา อนิจจสัญญีเพราะมีความสําคัญอยางนี้วา สังขารทั้งหลายไมเที่ยง. บุคคลชื่อวาอนิจจปฏิสังเวที เพราะรูชัดดวยญาณ (ปญญา) อยางนี้วา สังขารทั้งหลายไมเที่ยง. บทวา สตต ไดแก ทุกกาล. บทวา สมิต ความวาจิตดวงหลัง ถึงแลวคือเขาถึงแลว สืบตอกับจิตดวงกอนอยางใดจิตดวงกอนก็สืบตอกับจิตดวงหลังอยางนั้น. บทวา อพฺโพกิณฺณความวา ตอกันไมขาดสาย คือไมเจือปนดวยจิตดวงอื่น. บทวาเจตสา อธิมุจฺจมาโน ไดแก นอมในไป. บทวา ปฺาย ปริโยคาหมาโนไดแก ตามเขาไปดวยวิปสสนาญาณ.
  • 34. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 34 บทวา อปุพฺพ อจริม ไดแก ไมกอนไมหลัง คือในขณะเดียวกันนั้นเอง. พระผูมีพระภาคเจาตรัสสมสีสีบุคคล ไวในพระสูตรนี้. สมสีสบุคคลนั้น มี ๔ จําพวก คือ โรคสมสีสี เวทนาสมสีสี ีอิริยาปถสมสีสี และชีวิตสมสีสี. บรรดาบุคคล ๔ จําพวกนั้นบุคคลใดถูกโรคอยางใดอยางหนึ่งกระทบแลว โรคสงบระงับ และอาสวะสิ้นไป โดยคราวเดียวกันนั่นเอง บุคคลนี้ ชื่อวาโรคสมสีสี.สวนบุคคลใด เสวยเวทนาอยางใดอยางหนึ่ง เวทนาสงบระงับไปและอาสวะสิ้นไป ในคราวเดียวกันนั่นเองบุคคลนี้ ชื่อเวทนาสมสีสี.สวนบุคคลใด พรั่งพรอมดวยอิริยาบถอยางใดอยางหนึ่ง มีการยืนเปนตน เห็นแจงอยู อริยาบถสิ้นสุด และอาสวะสิ้นไป โดยขณะเดียวกันนั่นเอง บุคคลนี้ ชื่อวา อิริยาปถสมสีสี. สวนบุคคลใดพยายามฆาตัวตายหรือทําสมณธรรมอยู ชีวิตสิ้นไป และอาสวะก็สิ้นไป โดยขณะเดียวนี้นั่นเอง บุคคลนี้ ชื่อวา ชีวิตสมสีสี. ชีวิต-สมสีสีบุคคลนี้ ทานประสงคเอาในพระสูตรนี้. ในชีวิตสมสีสีบุคคลนั้น มีอธิบายวา ความสิ้นไปแหงอาสวะ ยอมมีไดดวยมรรคจิตความสิ้นสุดแหงชีวิตยอมมีไดดวยจุติจิตก็จริง ถึงกระนั้น ชื่อวาความเกิดพรอมแหงธรรมเปนที่สิ้นอาสวะ และการสิ้นสุดแหงชีวิตทั้ง ๒ อยาง ยอมมีในขณะเดียวกันไมได. ก็เพราะเหตุที่พออาสวะของชีวิตสมสีสีบุคคลนั้นสิ้นไป ความสิ้นสุดแหงชีวิตก็มาถึง ในลําดับวาระแหงปจจเวกขณะทีเดียว ไมปรากฏชองวาง ฉะนั้น ทานจึงกลาวอยางนี้.
  • 35. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 35 บทวา อนฺตราปรินิพฺพายี นี้ เปนชื่อของพระอนาคามีบุคคลผูเกิดในภูมิใดภูมิหนึ่ง บรรดาสุทธาวาสภูมิทั้ง ๕ หรือเลยไปหนอยหนึ่ง หรือยังตั้งอยูตรงกลาง. ในขณะที่บังเกิดแลวบรรลุพระอรหัต.บทวา อุปหจฺจปรินิพฺพายี ไดแก พระอนาคามีบุคคล. ลวงเลยกลางอายุขัยแลว จึงบรรลุพระอรหัต ในสุทธาวาสภูมินั่นเอง.บทวา อสงฺขารปรินิพฺพายี ไดแก พระอนาคามีบุคคล ผูทํากิเลสทั้งหลายใหสิ้นไป โดยไมตองกระตุนเตือน ไมตองกระทําความพากเพียร ของบุคคลเหลานั้นทั้งนั้น. บทวา อสงฺขารปรินิพฺพายีไดแก พระอนาคามีบุคคล ผูทํากิเลสทั้งหลายใหสิ้นไป โดยตองกระตุนเตือน ตองมีความพยายาม. บทวา อุทธโสโตอกนิฏฐคามี ฺไดแกพระอนาคามีบุคคล ผูบังเกิดในสุทธาวาสภูมิชั้นต่ํา ๔ ชั้นชั้นใดชั้นหนึง จุติจากภูมินั้นแลว เกิดในอกนิฏฐภูมิ โดยลําดับ ่แลวบรรลุพระอรหัต. จบ อรรถกถาอนิจจสุตรที่ ๖
  • 36. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 36 ๗. ทุกขสูตร [๗] ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๗ จําพวกนี้ เปนผูควรของคํานับ ฯลฯ เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา ๗ จําพวกเปนไฉน บุคคลบางคนในโลกนี้ พิจารณาเห็นความทุกข มีความสําคัญวาเปนทุกข ทั้งรูวาเปนทุกข ในสังขารทั้งปวง ฯลฯ ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๗ จําพวกนี้แล เปนผูควรของคํานับ เปนผูควรขอตอนรับ เปนผูควรของทําบุญ เปนควรกระทําอัญชลี เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา. จบ ทุกขสูตรที่ ๗ อรรถกถาทุกขสูตรที่ ๗ ทุกขสูตรที่ ๗ มีวนิจฉัยดังตอไปนี้. ิ บทวา ทุกฺขานุปสฺสี ไดแก บุคคลผูตามเห็นอาการคือ ความไมบีบคั้น โดยความเปนทุกข. จบ อรรถกถาทุกขสูตรที่ ๗
  • 37. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 37 ๘. อนัตตสูตร ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๗ จําพวกนี้ เปนผูควรของคํานับ ฯลฯ เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา ๗ จําพวกเปนไฉน บุคคลบางคนในโลกนี้ พิจารณาเห็นวาเปนอนัตตา มีความสําคัญวาเปนอนัตตา ทั้งรูวาเปนอนัตตา ในธรรมทั้งปวง ฯลฯดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๗ จําพวกนี้แล เปนผูควรของคํานับ ฯลฯเปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา. จบ อนัตตา สูตรที่ ๘ อรรถกถาอนัตตาสูตรที่ ๘ อนัตตสูตรที่ ๘ มีวินิจฉัยดังตอไปนี้. บทวา อนตฺตานุปสฺสี ไดแกบุคคลผูตามเห็นอาการ คือความไมเปนไปในอํานาจ วาธรรมทั้งหลายเปนอนัตตา ดังนี้. อรรถกถาอนัตตสูตรที่ ๘
  • 38. พระสุตตันตปฎก อังคุตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาต เลม ๔ - หนาที่ 38 ๙. นิพพานสูตร ดูกอนภิกษุทั้งหลาย บุคคล ๗ จําพวกนี้ เปนผูควรของคํานับเปนผูควรของตอนรับ เปนผูควรของทําบุญ เปนผูควรกระทําอัญชลี เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา ๗ จําพวกเปนไฉนบุคคลบางคนในโลกนี้ พิจารณาเห็นความเปนสุข สําคัญวาสุขทั้งรูวาเปนสุข ในนิพพาน ตั้งใจมั่น ติดตอกันไปไมขาดสาย มีปญญาหยั่งทราบ กระทําใหแจงซึ่งเจโตวิมุติ ปญญาวิมุติ อันหาอาสวะมิได เพราะอาสวะทั้งหลายสิ้นไป ดวยปญญาอันยิ่งเองในปจจุบันเขาถึงอยู นี้เปนบุคคลที่ ๑ เปนผูควรของคํานับ ฯลฯเปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลบางคนในโลกนี้พิจารณาเห็นวาเปนสุข... มีปญญาหยั่งทราบ เพราะความสิ้นอาสวะสูความสิ้นชีวิตของทานนั้น ไมกอนไมหลังกัน นี้เปนบุคคลที่ ๒ เปนผูควรของคํานับ ฯลฯ เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา. ดูกอนภิกษุทั้งหลาย อีกประการหนึ่ง บุคคลบางคนในโลกนี้พิจารณาเห็นวาเปนสุข... มีปญญาหยั่งทราบ เพราะโอรัมภาคิย-สังโยชน ๕ สิ้นไป จักปรินิพพานในระหวาง นี้เปนบุคคลที่ ๓เปนผูควรของคํานับ ฯลฯ เปนนาบุญของโลกไมมีนาบุญอื่นยิ่งกวา.