SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  16
Télécharger pour lire hors ligne
2


มหาวิทยาลัยทั่วประเทศร่วมปิดทองฯ
ใช้ปัญญาแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน
    สถาบันอุดมศึกษาภาครัฐและเอกชนทั้งประเทศขยายบทบาทช่วยเหลือสังคม เข้าร่วมสถาบันปิดทองฯ เพื่อนำองค์ความรู้ตามแนว
พระราชดำริ เป็นแกนขับเคลื่อนนิสิต นักศึกษาให้เรียนรู้การพัฒนาชนบทอย่างจริงจัง
    หลังจากสร้างต้นแบบการพัฒนาตามแนวพระราชดำริแบบบูรณาการในจังหวัดน่านมาแล้วกว่าสองปี ควบคูกบการส่งเสริมการมีสวนร่วม
                                                                                            ่ั                ่
จากทุกภาคส่วนทั้งในและนอกพื้นที่ โดยเฉพาะสถาบันอุดมศึกษา ตามนโยบายกระตุ้นให้คนรุ่นใหม่เข้ามามีบทบาทพัฒนาสังคม ของ
ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์เกษม วัฒนชัย ประธานมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางของสถาบันอุดมศึกษา

 ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา
 ประธานคณะอนุกรรมการธุรกิจเพื่อสังคม
 มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ
     “ผมเชื่ อ ว่ า ทุ ก คนเริ่ ม ต้ น ด้ ว ยความใฝ่ ดี
 อยากจะให้ ง านที่ ท ำนั้ น ประสบความสำเร็ จ
 เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม พร้อม ๆ กับที่ตัวเอง
                           ในฐานะส่วนตัว ก็ต้อง
                           ได้ความดีด้วย มีความ
                           ก้าวหน้า มีความพอใจ
                           ได้ ค วามปี ติ ด้ ว ย นั่ น
                           เป็ น การดี ที่ สุ ด ซึ่ ง ทุ ก
                           วันนี้ปิดทองฯ ได้ทำให้ หลายแห่ง และนำมาซึ่งการปรึกษาหารือกันหลายวาระ ทั้งที่จังหวัดน่าน อุดรธานี และ
                           เป็นเช่นนั้นแล้ว”               กรุงเทพมหานคร และได้ข้อสรุปในการทำงานร่วมกันว่าจะนำกลุ่มปัญญาชนของประเทศ
                                                           กลับไปสู่ปรัชญาเริ่มต้นคือ การนำความรู้ในห้องเรียนหรือประสบการณ์จากการฝึกงาน
                                   อ่านทั้งหมดที่หน้า 6
                                                           มาแก้ไขปัญหาและพัฒนาพื้นที่                                      อ่านต่อหน้า 15


                                                                      คลังลงพืนทีอดรธานีดงานพัฒนา
                                                                               ้ ุ่      ู
                                                                      เก็บข้อมูลปิดทองฯวางงบน้ำ 5 ปี
                                                                           ม.ร.ว.ดิ ศ นั ด ดา ดิ ศ กุ ล เลขาธิ ก ารมู ล นิ ธิ ปิ ด ทองหลังพระ
                                                                     สืบสานแนวพระราชดำริ นำนายจักรกฤศฎิ์ พาราพันธกุล ผูอำนวยการ            ้
                                                                     สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง
                                                                     และคณะ เดินทางลงพื้นที่ดำเนินงานโครงการบริหารจัดการน้ำ
                                                                     อย่ า งยั่ ง ยื น อ่ า งเก็ บ น้ ำ ห้ ว ยคล้ า ยอั น เนื่ อ งมาจากพระราชดำริ
                                                                     บ้านโคกล่าม ต.กุดหมากไฟ อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี เมื่อวันที่
                                                                     3 สิงหาคม 2554                                                    อ่านต่อหน้า 16
บทความ



           “พระ” คู่ “พระบารมี”
     หนึ่งในองค์ความรู้ที่ “ปิ ด ทองหลั ง พระฯ” นำมาใช้เพื่อการ
พั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น คื อ องค์ ค วามรู้ จ าก “ฟาร์ ม ตั ว อย่ า งในสมเด็ จ

พระนางเจ้าฯ
พระบรมราชินีนาถ”


                                                 การจัดเป็นชุดอาหารพร้อมปรุง เช่น ชุดต้มยำ ลาบ แกงส้ม ผัดเผ็ด
     โครงการฟาร์มตัวอย่างฯ เกิดขึ้นโดยพระราชประสงค์ให้เป็น                      ส่งไปขายในห้างสรรพสินค้า เช่น แม็คโคร และโรงแรมชันนำหลายแห่ง   ้
แหล่งจ้างงานราษฎรที่ยากจนไม่มีงานทำ อีกทั้งเพื่อให้พื้นที่ชนบท                  ส่ ว นหนึ่ ง ขายในท้ อ งถิ่ น เป็ น สิ น ค้ า โอทอป ร้ า นของฟาร์ ม เอง
ได้รับการพลิกฟื้นให้เป็นแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดภัยจากสารเคมี                      และจัดใส่รถตู้ออกไปขายตามตลาดนัดในพื้นที่ วัตถุดิบของอาหาร
ยาฆ่าแมลงและสารพิษต่าง ๆ และเป็นแหล่งอบรม สาธิตความรู้                          ทีเ่ หลือนำมาปรุงเป็นผลิตภัณฑ์ทมคณภาพรองลงมา รวมทังเศษวัตถุดบ
                                                                                                                         ี่ ี ุ                  ้     ิ
ด้านเกษตรกรรมที่ถูกต้องได้ผล ช่วยให้ราษฎรทำกินเป็นหลักแหล่ง                     ก็นำมาเป็นอาหารสัตว์ หรือทำปุ๋ยชีวภาพ ก๊าซชีวภาพต่อไปให้เกิด
ไม่ย้ายถิ่นฐานบุกรุกทำลายป่า คืนความอุดมสมบูรณ์และใช้ผืนดิน                     ประโยชน์สูงสุด
ให้เกิดประโยชน์สูงสุด                                                                   ความสำเร็จของแปลงเกษตรทดลอง 2 แปลง ที่บ้านโคกล่าม
                                                                                และบ้ า นแสงอร่ า ม ต.กุ ด หมากไฟ อ.หนองวั ว ซอ จ.อุ ด รธานี ซึ่ ง
                                                                                “ปิ ด ทองหลั ง พระ” น้ อ มนำองค์ ค วามรู้ จ ากฟาร์ ม ตั ว อย่ า งตาม
                                                                                พระราชดำริบ้านหนองหมากเฒ่า ต.ห้วยยาง อ.เมือง จ.สกลนคร
                                                                                มาเป็นแบบอย่างการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน คือ
                                                                                บทพิ สู จ น์ ถึ ง พระวิ สั ย ทั ศ น์ อั น กว้ า งไกล และน้ ำ พระราชหฤทั ย
                                                                                อันพิสุทธิ์ด้วยพระเมตตาที่หลั่งรินมาชโลมใจราษฎรผู้มีทุกข์ทั้งมวล
     ในพื้นที่ของฟาร์มตัวอย่าง ราษฎรจะได้รับมอบพื้นที่คนละแปลง ให้สามารถดำรงชีวิตอย่างผาสุกสืบไป
สำหรั บ ปลู ก พื ช ผั ก สวนผสม ซึ่ ง ล้ ว นพึ่ ง พาอาศั ย ซึ่ ง กั น และกั น มี
                                                                                          “...อย่ามาพูดเรื่องกำไรขาดทุนกับฉันนะ ฉันต้องการให้
การปลู ก พื ช ที่ ใ ห้ ผ ลผลิ ต ในระยะเวลาที่ ต่ า งกั น เพื่ อ ให้ เ กษตรกร
                                                                                     คนจนมีงานทำมาก ๆ ขาดทุนของฉัน คือ กำไรของแผ่นดิน...”
ขายผลผลิตได้ทุกวัน มีการแสดงขั้นตอนและวิธีการนำเทคโนโลยี
                                                                                     ทรงอธิบายเพิมเติมอีกว่า “...การทีทำให้คนยากจนในชุมชนนัน ๆ
                                                                                                    ่                             ่                ้
การเกษตรที่ทันสมัยมาปรับใช้ให้เหมาะสม ซึ่งเกษตรกรสามารถ
                                                                                     มีงานทำ พวกเขามีรายได้ มีเงินเลียงครอบครัว ไม่ตองไปเป็นโจร
                                                                                                                                ้            ้
ปฏิบัติได้จริง
                                                                                     ไม่ต้องไปเป็นขโมย ไม่ต้องไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ไม่ตัดไม้
     ผลิตภัณฑ์จากฟาร์มตัวอย่างที่ได้จาก “หน่วยการผลิต” มีทั้ง
                                                                                     ทำลายป่า ไม่ไปเผาป่า ตำบลนั้น อำเภอนั้น จังหวัดนั้นก็มี
ผักปลอดสารพิษ พืชผักปรุงอาหารทั้งพืชล้มลุก ผักอายุยาว และ
                                                                                     ความสุข มีความสงบสุข ประเทศชาติก็มีความสุข มีความสงบ
ไม้ผล เช่น มะละกอ มังคุด ลองกอง มะพร้าวน้ำหอม ขนุน ฯลฯ จาก
                                                                                     นี่แหละคือกำไรของแผ่นดิน...”
“หน่วยปศุสัตว์” มี ไก่ เป็ดอี้เหลียน หมูจินหัว วัว ควาย “หน่วย
                                                                                          พระราชดำรัสความตอนหนึ่งพระราชทานแก่ พล.อ.ณพล
ประมง” ส่วนใหญ่จะเลี้ยงปลากินพืชตามธรรมชาติ เช่น ปลานิล
                                                                                     บุญทับ รองสมุหราชองครักษ์ในสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม
แปลงเพศ ปลาไน ปลายี่สก มี “หน่วยเพาะเห็ด”
 “หน่วยไม้ดอก
                      

                                                                                     ราชิ นี น าถ และนายสหั ส บุ ญ ญาวิ วั ฒ น์ ผู้ ช่ ว ยเลขาธิ ก าร
ไม้ ป ระดั บ ” เช่ น ขิ ง แดง หมากเหลื อ ง ฟิ โ ลเดนดรอน นางกวั ก
                                                                                     พระราชวัง ถึงวัตถุประสงค์หลักในการจัดทำโครงการฟาร์ม
หูปลาช่อน เทียนทอง โกสน ซุ้มกระต่าย และมี “หน่วยเพิ่มมูลค่า
                                                                                     ตัวอย่างฯ ทั่วประเทศ
ผลผลิต” ที่นำผลผลิตที่ปลูกและเลี้ยงได้มาเพิ่มมูลค่าให้มากขึ้นด้วย
                                            เจ้าของ
 
 : มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ
                                                           สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ทำเนียบรัฐบาล เลขที่ 1 ถนนนครปฐม เขตดุสต กรุงเทพมหานคร 10300
                                                                                                                                ิ
  www.pidthong.org                                       : สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ
                                                           อาคารสยามทาวเวอร์ ชั้น 26 เลขที่ 989 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330
  www.twitter.com/pidthong                                 โทรศัพท์ 0-2611-5000 โทรสาร 0-2658-1413
                                            ที่ปรึกษา
 
 : หม่อมราชวงศ์ดิศนัดดา ดิศกุล นายการัณย์ ศุภกิจวิเลขการ นายพิพัฒน์ เลิศกิตติสุข
  www.facebook.com/pidthong                 บรรณาธิการ
 : นายธนัยนันท์ ธนันท์ปพัฒน์ ผู้ช่วยบรรณาธิการ
:
นายสุชาติ ถนอม
                                            ผู้จัดทำ
 
 : บริษัท แอร์บอร์น พรินต์ จำกัด 1519/21 ซอยลาดพร้าว 41/1 ถนนลาดพร้าว แขวงสามเสนนอก
                                                           เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310
2 www.youtube.com/pidthongchannel                          โทรศัพท์ 0-2939-9700 โทรสาร 0-2512-2208 E-mail : roso215@yahoo.com
ข่าว


ยะลาเลือกปิยมิตร 3 ต้นแบบแก้ปัญหา
     นายณัฐพงศ์ ศิริชนะ รองผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา กล่าวถึง                                                            นำองค์ ค วามรู้ ข องพระบาทสมเด็ จ
เหตุผลที่จังหวัดยะลาคัดเลือกบ้านปิยมิตร 3 ต.อัยเยอร์เวง อ.เบตง                                                         พระเจ้าอยู่หัวมาสอนให้
เป็นพื้นที่ขยายผลปิดทองฯ เนื่องจากบ้านปิยมิตร 3 เป็นพื้นที่ต้นน้ำ                                                             นายณั ฐ พงศ์ กล่ า วว่ า ปั ญ หาที่
แม่น้ำปัตตานีและเขื่อนบางลาง อีกทั้งพื้นที่ป่าประมาณ 4,100 ไร่                                                         ชาวบ้านปิยมิตร 3 ยกมาเป็นอันดับแรก
ของหมู่บ้านกำลังเริ่มถูกบุกรุก จึงต้องเร่งหาทางป้องกัน                                                                 คือ การบุกรุกพื้นที่ป่าเพื่อปลูกยางพารา
     “บ้ า นปิ ย มิ ต ร 3 พอเข้ า ไปดู แ ล้ ว ก็ พ บว่ า อุ ณ หภู มิ ใ นหมู่ บ้ า น                                    ซึ่ ง ทำให้ เ กิ ด ปั ญ หาน้ ำ ท่ ว ม ดิ น ถล่ ม
เพิ่มขึ้นถึง 3 องศาในเวลาไม่ถึง 4 ปี แสดงว่าระบบนิเวศที่นี่กำลัง                                                       เพราะเป็นการปลูกด้วยยางถุงชำ จึงไม่มี
มีปัญหา ซึ่งจะกระทบเรื่องน้ำ ดิน และอื่น ๆ ตามมา อีกทั้งหมู่บ้านนี้                                                    รากแก้ว ที่ จ ะช่ ว ยยึ ด ดิ น ปั ญ หาต่ อ มา
ปลูกลองกองมากถึง 8,000 ต้น แต่ 5 ปีออกลูกครั้งเดียว ถามว่า                              คือ การจัดการแหล่งน้ำให้เกิดสูงสุด เรื่องที่สาม คือ ขยะมูลฝอย
จะเอาความรู้ที่ไหนไปช่วย ทำให้คิดว่าถ้ามีปิดทองหลังพระฯ เดินไป                          ทำอย่างไรจึงจะรักษาสิงแวดล้อมไว้ให้ได้ และสุดท้าย คือ ความรูดาน
                                                                                                               ่                                                  ้ ้
กับเรา น่าจะช่วยแก้ปัญหาพื้นฐานให้กับชาวบ้านได้อย่างแท้จริง”                            การเกษตร เหล่านี้ คือ เรื่องที่ชาวบ้านอยากได้จากปิดทองหลังพระฯ
     รองผูวาฯ ยะลากล่าวว่า เพือให้เป็นไปตามหลักการเข้าใจ เข้าถึง
            ้่                      ่                                                        “ผมเชื่อว่า โอกาสจะสำเร็จมีสูง แต่ต้องใจเย็น ๆ และห้ามมุ่ง
และพัฒนา จึงต้องให้ชาวบ้านเข้าใจโครงการฯ และมีความพร้อมก่อน                             เป้าว่า ทำแล้วจะปลดหนี้ให้ชาวบ้านได้ภายใน 1 ปี แต่เราต้องสร้าง
จังหวัดจึงจัดประชุมชี้แจงกับชาวบ้านแล้วว่า ปิดทองฯ จะเข้ามา                             ความยั่งยืน ใช้หลักระเบิดจากข้างในของในหลวง ทำตามลำดับขั้น
ทำอะไร อย่างไร รวมทังประโยชน์ทชาวบ้านจะได้ โดยเน้นว่า ชาวบ้าน
                          ้            ี่                                               คิดอย่างเป็นระบบ ถ้าทำอย่างนั้นได้ก็จะสำเร็จ” รองผู้ว่าฯ ยะลา
ต้องเป็นคนทำเอง ปิดทองฯ จะเป็นผู้ช่วยเหลือ เดินเคียงข้างและ                             กล่าวทิ้งท้าย



   ผู้สื่อข่าวรวมตัวตั้งชมรมเพื่อเรียนรู้ชนบท
                                                                          การพบปะระหว่าง “ปิดทองหลังพระฯ” กับสื่อมวลชน ซึ่งสถาบันส่งเสริม
                                                                   และพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ จัดขึ้นเพื่อรายงาน
                                                                   ผลการดำเนินงานในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา รวมทั้งแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับ
                                                                   แนวทางการดำเนินงานของสถาบันฯ ได้จุดประกายความคิดให้ผู้สื่อข่าว ซึ่งเคย
                                                                   ติดตามรายงานข่าว “ปิดทองฯ” มา รวมตัวกันจัดตั้งชมรมสื่อมวลชนเพื่อการเรียนรู้
                                                                   และเข้าใจปัญหาที่แท้จริงของชนบทที่มีผลกระทบต่อประเทศ และสามารถสะท้อน
                                                                   ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
                                                                          การรวมตัวกันจัดตั้งชมรมผู้สื่อข่าวเพื่อเรียนรู้ชนบทในครั้งนี้ เป็นการรวมกลุ่ม
                                                                   โดยสมัครใจของสื่อมวลชน ไม่จำกัดสาขาและสายข่าว เพื่อร่วมกันสร้างกิจกรรม
                                                                   ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการเข้าใจปัญหาที่เกิดขึ้นในชนบท และมีส่วนร่วมแก้ไข
                                                                   ปั ญ หาตามบทบาทที่ เ หมาะสม โดยไม่ มุ่ ง เน้ น การสร้ า งองค์ ก รไปสู่ เ กี ย รติ ย ศ
                                                                   ชื่ อ เสี ย ง ผู้ ริ เ ริ่ ม ก่ อ ตั้ ง จะร่ ว มกั น เป็ น กรรมการโดยไม่ มี ต ำแหน่ ง บริ ห าร และ
                                                                   ร่ ว มกั น กำหนดกิ จ กรรมขึ้ น โดย “ปิ ด ทองหลั ง พระฯ” จะร่ ว มมื อ ในโครงการ
                                                                   ที่สอดคล้องกับพันธกิจของมูลนิธิฯ
                                                                          ในเบื้องต้น มีการสร้างกลุ่มในเฟซบุ๊กแล้ว ในชื่อ “สื่อบ้านนอกปิดทองฯ”
                                                                   เพื่อเผยแพร่ปรัชญาของกลุ่มและเป็นเวทีให้ผู้ที่สนใจเข้าร่วมได้อย่างเสรี


                                                                                                                                                                        3
ข่าว


แม่โจ้ถอดบทเรียนพัฒนาท้องถิ่น
      ดร.ทิ พ ย์ สุ ด า ตั้ ง ตระกู ล ผู้ ช่ ว ยอธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย แม่ โ จ้
จ.เชียงใหม่ หัวหน้าโครงการวิเคราะห์และถอดบทเรียนการทำงาน
สืบสานแนวพระราชดำริเพื่อสร้างชุดความรู้พร้อมใช้ ซึ่งได้รับการ
สนับสนุนจากสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ
กล่าวถึงความคืบหน้าของโครงการฯ ว่า มีการวิเคราะห์ ถอดบทเรียน
และจั ด ทำชุ ด ความรู้ พ ร้ อ มใช้ ใ น 6 มิ ติ คื อ มิ ติ ด้ า นการเกษตร
สิ่งแวดล้อม ดิน น้ำ ป่า และพลังงาน จากปราชญ์ชาวบ้าน และ
มหาบั ณ ฑิ ต สาขาการจั ด การภู มิ สั ง คมอย่ า งยั่ ง ยื น ที่ น้ อ มนำแนว
พระราชดำริมาใช้ในการแก้ปัญหา การดำเนินชีวิตและพัฒนาชุมชน                               บทเรียนจากการปฏิบัติงานจริง เรียนรู้แบ่งปันเทคนิควิธีการที่อยาก
จำนวน 21 กรณีศึกษาในภาคเหนือเรียบร้อยแล้ว                                              เรียนรู้เพิ่ม ซึ่งผลของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ พบว่า ปัจจัยความสำเร็จ
      หลั ง จากถอดองค์ ค วามรู้ แ ล้ ว มหาวิ ท ยาลั ย แม่ โ จ้ ได้ จั ด เวที           ส่วนใหญ่มาจากการใช้วัฒนธรรมความเชื่อของชุมชน เป็นตัวกำกับ
แลกเปลี่ ย นองค์ ค วามรู้ ขึ้ น เมื่ อ เดื อ นกรกฎาคม โดยเชิ ญ ตั ว แทน                กิจกรรม ชุมชนมีความเข้าใจในเรื่องที่ทำ มีผู้นำที่เอาการเอางาน มี
ชาวบ้ า นจากชุ ม ชนต่ า ง ๆ ในจั ง หวั ด ภาคเหนื อ ตอนบน เช่ น                         การตั้งกลุ่มกิจกรรม และใช้กฎกติกาที่ร่วมกันตั้งขึ้น ส่วนการก้าวข้าม
แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ เชียงราย พะเยา แพร่ และน่าน ที่ดำเนินชีวิต                        อุปสรรคต่าง ๆ ชุมชนมักใช้กลไกกรรมการหมูบานเป็นผูตดสินปัญหา
                                                                                                                                            ่ ้       ้ ั
ตามแนวพระราชดำริ และเจ้ า หน้ า ที่ จ ากศู น ย์ ศึ ก ษาการพั ฒ นา                      พู ด คุ ย สร้ า งความเข้ า ใจกั บ ชาวบ้ า นผ่ า นเวที ป ระชุ ม ต่ า ง ๆ และ
ห้วยฮ่องไคร้ฯ เข้าร่วมแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ รวม 40 คน เพื่อให้เกิด                     ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญภายนอก สำหรับเรื่องที่ชุมชนอยากเรียนรู้เพิ่ม
การต่อยอดขยายผลการพัฒนาตามแนวพระราชดำริไปยังชุมชน                                      คื อ ปุ๋ ย สั่ ง ตั ด การวิ เ คราะห์ ดิ น ไฟฟ้ า พลั ง น้ ำ การส่ ง เสริ ม การ
ในภาคเหนือและทั่วประเทศในอนาคต                                                         ท่องเที่ยว การจัดการสิ่งแวดล้อม การสร้างกลุ่มให้เข้มแข็ง และการ
      ทั้งนี้ เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์ความรู้ระหว่างปราชญ์ชาวบ้าน                    ใช้ GPS เป็นต้น ในระดับของการต่อยอดขยายผล ชาวบ้านต้องการ
ในพืนทีถอดบทเรียน 20 แห่ง เป็นเวทีทเี่ ปิดโอกาสให้ปราชญ์ชาวบ้าน
     ้ ่                                                                               ให้มีกิจกรรมพบปะกันอย่างต่อเนื่องในระหว่างผู้เรียนรู้เรื่องเดียวกัน
จากพื้นที่ถอดบทเรียนที่ประสบความสำเร็จในการน้อมนำองค์ความรู้                           เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ นำปัญหาและปัญญามาแบ่งปันกัน
ตามแนวพระราชดำริไปประยุกต์ใช้ ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์และ                               เพื่อพัฒนางานของชุมชนต่อไป


“ปิดทองฯ/พระดาบส”จัดคลินิกช่วยเกษตรกร
                                                                                       จ.กำแพงเพชร และวัดดงป่าคำ ต.ดงป่าคำ อ.เมือง จ.พิจิตร ระหว่าง
                                                                                       วันที่ 29-31 กรกฎาคม 2554
                                                                                             นอกจากนี้ ยังจัดแสดงนิทรรศการเรื่องโรคพืชและแนวทางการ
                                                                                       ป้องกันและการแสดงแมลงตัวอย่างทั้ง 2 ประเภท คือ “แมลงตำรวจ”
                                                                                       หรื อ แมลงที่ เ ป็ น มิ ต ร มี ห น้ า ที่ กั ด กิ น แมลงศั ต รู พื ช ตามธรรมชาติ
                                                                                       กับ “แมลงผู้ร้าย” หรือแมลงศัตรูพืชชนิดต่าง ๆ เพื่อให้ความรู้แก่
                                                                                       เกษตรกรว่า แมลงใดเป็นคุณ แมลงใดเป็นโทษ และการใช้ยากำจัด
                                                                                       แมลงศั ต รู พื ช ควรเป็ น ทางเลื อ กสุ ด ท้ า ย เพราะสารเคมี นั้ น อาจ
                                                                                       ฆ่าแมลงที่มีประโยชน์ตามธรรมชาติไปด้วย
     มู ล นิ ธิ ปิ ด ทองหลั ง พระ สื บ สานแนวพระราชดำริ ร่ ว มกั บ                           โครงการพระดาบสสั ญ จร เป็ น โครงการพระราชดำริ ข อง
ศูนย์วิจัยพันธุ์ข้าว จ.พิษณุโลก เปิด “คลินิกเกษตร” ให้ความรู้และ                       พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในลักษณะศูนย์บริการเคลื่อนที่ เพื่อให้
คำแนะนำเรื่องการกำจัดแมลงศัตรูพืชในนาข้าว และโรคข้าวต่าง ๆ                             ความรู้และบริการช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่การเกษตรทุกภูมิภาค
ในโครงการพระดาบสสั ญ จร ที่ วั ด ท่ า คร้ อ ต.วั ง บั ว อ.คลองขลุ ง                    ทั่วประเทศ
4
บทความ

                                                                            บุญมากและภรรยา ลงมือพัฒนาพื้นที่ 20 ไร่ของเขา ด้วย 3
                                                                      กิจกรรมหลัก คือ 1. ปรับปรุงดินให้มีธาตุอาหาร ปลูกพืชก่อนนา
                                                                      เพื่อเพิ่มปุ๋ยให้ดิน ทำนาและปลูกพืชหลังนา 2. ปลูกพืชเป็น 3 ระดับ
                                                                      คือ พืชชั้นสูง ชั้นกลาง และพืชกินหัว ซึ่งทุกชั้นกินได้ขายได้ และ
                                                                      3. ทำปศุสัตว์ เลี้ยงหมูจินหัว เป็ดอี้เหลียง ปลากินพืชในบ่อ เป็นต้น

บุญมาก
สิงห์คำป้อง
                                                         เพียง 15 วันหลังจากทำฟาร์มตัวอย่าง บุญมาก ก็เริ่มมีรายได้
                                                                      วันละ 200-300 บาท จากการทยอยขายพืชผักที่ปลูกไว้


เกษตรกรหัวใจเหล็กแห่งหนองวัวซอ
                                             “ตื่นเต้นกับองค์ความรู้เหล่านี้มากครับ เพราะเพียงแค่ไม่กี่วัน
                                                                      พืชผักที่เราช่วยกันปลูก ออกดอกออกผลให้เก็บกินและเหลือขายได้
                                                                      แล้ว เป็นกำลังใจที่ทำให้เราอยากออกจากบ้านตั้งแต่เช้ามืด และอยู่
                                                                      จนมืดค่ำถึงจะกลับบ้านทุกวัน”
                                                                            ความมุ่ ง มั่ น ของคนหั ว ใจเหล็ ก อย่ า ง บุ ญ มาก ทำให้ เ พี ย ง 5
                                                                      เดื อ น ที่ ดิ น ของเขาก็ อุ ด มสมบู ร ณ์ เ ต็ ม ไปด้ ว ยผลผลิ ต จนมี พ่ อ ค้ า
                                                                      คนกลางเข้ามารับซื้อถึงที่ ทั้งพืชผลอย่างฟักทอง ผักบุ้งจีน หมูจินหัว
                                                                      ครอกแรก 11 ตัว สร้างรายได้ให้กว่า 23,000 บาท
                                                                            “ครบปี ผมน่าจะมีรายได้อีกไม่ต่ำกว่า 50,000 บาท จากข้าว
                                                                      800 ถัง พืชหลังนา และหมูจินหัวอีก 2 ครอก และน่าจะเริ่มปลดหนี้
                                                                      ได้หมด ลืมตาอ้าปากได้”


    แม้ ชี วิ ต จะต้ อ งติ ด ลบ จากการทำเกษตรบนผืนดิน
ลูกรังที่แทบปลูกอะไรไม่ขึ้น ในพื้นที่ ต.กุดหมากไฟ อ.หนองวัวซอ
จ.อุดรธานี แต่ บุญมาก
 สิงห์คำป้อง ก็ไม่ยอมย่อท้อต่ออุปสรรค
ที่เผชิญอยู่ แม้จะต้องเป็นหนี้เมื่อทำเกษตรขาดทุนหลายปีติดต่อกัน
จนเพื่อนบ้านหันไปทำงานรับจ้างเกือบหมด แต่ บุญมาก ยังมุ่งมั่น
เพาะปลู ก บนผื น ดิ น ที่ เ ป็นมรดกตกทอดจากพ่อแม่ตลอดมา ด้ ว ย
ความหวังว่า วันหนึ่งผลผลิตจะดีขึ้น
      แล้วความหวังนั้นก็เป็นจริง เมื่อ “ปิดทองหลังพระฯ” นำองค์
ความรู้ในการพัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืนมาสู่แปลงเกษตรของเขา
      ความขยันขันแข็ง เอาใจใส่ และตั้งใจจริงกับการทำเกษตรของ
บุญมาก เข้าตาของ ม.ร.ว.ดิศนัดดา ดิศกุล ประธานสถาบันส่งเสริม
และพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ เข้าอย่างจัง เพราะทุกครั้งที่
คุณชายลงไปในพื้นที่ ก็จะพบ บุญมาก อยู่ในแปลงเกษตรของเขา
ตลอดเวลา ยิ่งเมื่อได้พูดคุยกัน บุญมาก ก็สะท้อนให้เห็นถึงการเป็น            บุญมาก ไม่ได้หวังว่าอนาคตเขาจะต้องร่ำรวย ขอแค่พอมีพอกิน
คนที่มีความคิดเป็นของตนเอง                                            หมดหนี้สินก็พอแล้ว แต่ความสุขและความภาคภูมิใจที่สุดของเขา
      ด้วยเหตุนี้ บุญมาก จึงเป็นหนึ่งในสองเกษตรกร ที่ได้รับคัดเลือก   ในวั น นี้ คื อ การเป็ น วิ ท ยากรของปิ ด ทองฯ เผยแพร่ อ งค์ ค วามรู้ ที่
ให้นำร่องทำฟาร์มสาธิต ตามแนวทางโครงการฟาร์มตัวอย่างตาม                เขาได้ รั บ และลงมื อ ปฏิ บั ติ จ ริ ง อย่ า งได้ ผ ลมาแล้ ว ให้ กั บ เกษตรกร
แนวพระราชดำริ เพื่อเป็นตัวอย่างให้เกษตรกรอื่น ๆ ได้เห็น               คนอื่น ๆ ประสบความสำเร็จเช่นเดียวกับเขา
                                                                                                                                                   5
สัมภาษณ์พิเศษ


ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา
ประธานคณะอนุกรรมการธุรกิจเพื่อสังคม
มูลนิธิปิดทองหลังพระ
สืบสานแนวพระราชดำริ
วัตถุประสงค์ของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ในการตั้ง
คณะอนุกรรมการธุรกิจเพื่อสังคม
      บทบาทของภาคเอกชนแต่ไหนแต่ไรมา คือ การเป็นพลเมืองดี
จ่ า ยภาษี ใ ห้ รั ฐ เอาไปช่ ว ยคนที่ ย ากจน หรื อ สร้ า งสาธารณู ป โภค
สาธารณูปการต่าง ๆ แต่ปัจจุบันนี้ แนวความคิดเรื่อง CSR หรือ
ความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ เป็นกระแสของประเทศไทย
และของโลก ซึ่งทุกบริษัทรู้เองแล้วว่า เพื่อความยั่งยืน เขาต้องดูแล
สังคมด้วย นอกเหนือจากการจ่ายภาษี บริษทเอกชน โดยเฉพาะบริษท
                                              ั                       ั
ที่มีกำลัง มีความสามารถที่จะเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่สูง จะไม่จ่ายแค่ภาษี
อย่างเดียว แต่จะมีโครงการ CSR ด้วย เพราะเหตุนี้ ผมจึงคิดว่า
เมื่อปิดทองหลังพระฯ ประสบความสำเร็จในการนำแนวพระราชดำริ
6 มิติมาลดความเหลื่อมล้ำระหว่างผู้คนในสังคม ผมเชื่อว่าบริษัท
เอกชน โดยเฉพาะบริษัทชั้นนำทั้งหลาย คงพร้อมที่จะมามีส่วนร่วม
โดยตรงในการช่วยเหลือสนับสนุน จึงเสนอต่อคณะกรรมการมูลนิธิฯ
ว่า อยากให้มีอนุกรรมการ CSR ขึ้น เพื่อว่าแทนที่จะเป็นต่างคนต่างมี
โครงการ CSR ทุกคนก็จะมาร่วมกันดูว่าแผนการพัฒนาของปิดทองฯ
เป็นอย่างไร แล้วเลือกว่าจะสนับสนุนด้านใด ก็จะเป็นการเสริมกำลัง
ของทุกภาคส่วนเข้ามา ทำให้ความสำเร็จดีขึ้นและยั่งยืนขึ้น

ใช้วิธีการอย่างไร ในการเชิญชวนภาคเอกชนให้เข้ามา
ร่วมกับปิดทองฯ
      ในส่วนคณะอนุกรรมการ CSR ผมใช้วิธีเชิญเป็นองค์กร และมี
ผู้ทรงคุณวุฒิภาคเอกชนที่เคยมีประสบการณ์ทำ CSR บ้าง แต่โดย
หลั ก แล้ ว ก็ เ ชิ ญ เป็ น องค์ ก ร เช่ น ตั ว แทนของหอการค้ า ตั ว แทน
สภาอุ ต สาหกรรม ตั ว แทนสมาคมธนาคาร ตั ว แทนชมรม CSR
ของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ เพี ย ง 4 องค์ ก รนี้ ก็ มี ส มาชิ ก มหาศาลแล้ ว
และทุ ก คนก็ ส นใจเรื่ อ ง CSR มาก โดยเฉพาะชมรม CSR ของ
ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ซึ่ ง สมาชิ ก แต่ ล ะบริ ษั ท ก็ ท ำ CSR อยู่ แ ล้ ว เมื่ อ
เชิญมา เขาก็ดีใจว่า มีโครงการนี้ เพราะทุกคนเป็นห่วงเรื่องความ
เหลื่อมล้ำในสังคมอยู่แล้ว และอยากมีส่วนช่วยเหลือ แต่แน่นอน
ภาคเอกชนก็ต้องฟังก่อนว่า เราทำอะไร เขาเชื่อหรือไม่ในสิ่งที่เราทำ
ซึ่งก็ดีว่า เรายังไม่ได้ทำโครงการมากมายนัก จึงชี้ให้ดูได้ว่าที่น่าน
ทำแบบนี้ ขยายไปที่อุดรธานีแล้ว และกำลังจะขยายไปอีกสิบจังหวัด
ถ้าสนใจก็มาดูว่า คุณจะมีบทบาทช่วยได้อย่างไร เรียกว่า ได้เข้ามา
ตั้งแต่เริ่มต้นเลย
6
สัมภาษณ์พิเศษ
      การเชิ ญ ชวนภาคเอกชนเข้ า มาร่ ว ม ไม่ มี ปั ญ หาเลย แม้ ว่ า ที่หลากหลายขึ้น ที่สำคัญ คือ ช่วยสร้างความรู้สึกที่ดีขึ้นระหว่าง
ส่วนหนึ่งอาจยังไม่ศรัทธาเต็มร้อย แต่อย่างน้อยเขาก็มา คราวนี้ก็ คนเมืองกับคนชนบท
เป็นเรื่องของเราแล้วว่า จะขายความคิดอย่างไร ซึ่งขณะนี้ น่ายินดีว่า
เขาบอกมาว่ า จะจั ด ให้ ท่ า นองคมนตรี เ กษม วั ฒ นชั ย ประธาน ตั้งความหวังว่า ในที่สุดแล้ว CSR ของปิ ดทองฯ
มู ล นิ ธิ ปิ ด ทองฯ และผมไปคุ ย กั บ ซี อี โ อ 80 บริ ษั ท ก็ เ ป็ น จั ง หวะที่ จะไปได้ถึงจุดไหน
เหมาะสมพอดี และทำให้ผมเชื่อมั่นว่า ไม่ใช่เรื่องของความเกรงใจ                              ในการประชุมคราวที่แล้ว มีข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ท่านหนึ่งพูด
แต่เป็นสิ่งที่เขาอยากทำจริง ๆ                                                     ในสิ่งที่ผมประทับใจมาก ท่านบอกว่าท่านใกล้เกษียณแล้ว และเคย
                                                                                  คิ ด ว่ า จะเกษี ย ณด้ ว ยความผิ ด หวั ง ที่ ข้ า ราชการไม่ มี วั น มาทำงาน
แล้วจะให้เหตุผลกับซีอีโอของบริษัทเหล่านั้นอย่างไร ร่วมกันได้ ต่างคนก็จะต่างทำ แย่งชิงความดีความชอบกันไป พูดง่าย ๆ
ว่า ทำไมเขาจึงควรสนับสนุนแนวทางพระราชดำริ                                         ก็ คือ ทำงานร่วมกันไม่ได้ แต่แล้วท่านก็ดีใจว่า ก่อนเกษียณได้มา
      ตรรกะมี ว่ า สิ่ ง ที่ ปิ ด ทองหลั ง พระฯ ทำนั้ น แก้ ปั ญ หาได้ ถู ก ที่ เห็นว่า ที่ปิดทองหลังพระฯ ข้าราชการทำงานร่วมกันเพื่อประชาชน
จริงไหม แก้ปัญหาโดยวิธีที่ถูกต้องไหม ช่วยคนที่ยากจน เกษตรกร ที่ ย ากจนได้ ผมก็ ข อตอบด้ ว ยวิ ธี เ ดี ย วกั น ว่ า ถ้ า นี่ คื อ ความสำเร็ จ




ที่มีปัญหาจริง ๆ ไหม การเลือก 6 มิติไปทำ ถูกไหม และวัดได้ว่า                         อีกหน่อยก็จะมีภาคเอกชนพูดแบบเดียวกันว่า ในชีวิตผม ผมไม่เคย
ทำแล้ ว ชาวบ้ า นได้ อ ะไร และอยู่ได้อย่างยั่งยืนไหม การจะทำให้                      นึ ก ว่ า จะได้ เ ห็ น ราชการกั บ เอกชนทำงานร่ ว มกั น เพื่ อ เกษตรกรที่
สำเร็ จ ก็ ต้ อ งทำให้ เ กิ ด ศรั ท ธาว่ า เขามี ส่ ว นทำให้ ส ำเร็ จ ได้ นี่ คื อ   ยากจนได้ ก็หวังว่าจะมีภาคเอกชนอีกมากที่จะพูดเช่นนี้ และเป็น
หัวใจสำคัญ เราต้องขายความคิดให้เขาเห็นเองว่า เขาจะมีบทบาท                            ความหวังที่จะเห็นการพัฒนาที่ถูกต้องในระยะยาว ซึ่งจะดีกับธุรกิจ
อย่างไรได้บ้าง                                                                       ที่จะได้รับการยกย่องจากคนที่ได้รับความช่วยเหลือจากจิตใจที่ดี
                                                                                     จากเขา คนมีความสุข สังคมมันคง ทุกคนก็จะอยูได้ดในสังคมทีมนคง
                                                                                                                      ่               ่ ี             ่ ั่
เป้าหมาย คือ ต้องการให้ภาคเอกชนเข้ามาร่วมกับ
ปิดทองฯ เต็มตัว ไม่ใช่แค่บริจาคเงิน                                          จุดเด่นของการทำงานแบบปิดทอง คือ ไม่ใช่ทำเพราะ
    อั น นี้ แ ล้ ว แต่ เ ขา อาจจะบริ จ าคเงิ น หรื อ ลงมื อ ทำด้ ว ยก็ ไ ด้ เป็นหน้าที่ที่ต้องทำ แต่ทุกคนทำเพราะเต็มใจ
เช่น พนักงานของบริษัทหนึ่งอาจมีจิตอาสาอยากไปทำฝาย อย่างนี้                                ผมเชื่อว่า ทุกคนเริ่มต้นด้วยความใฝ่ดี อยากจะให้งานที่ทำนั้น
เป็นต้น หลายองค์กรมีสมาชิกอยู่ในพื้นที่ อยู่ในจังหวัดต่าง ๆ ก็อาจ                    ประสบความสำเร็จ เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม พร้อม ๆ กับที่ตัวเอง
เอาจิ ต อาสาของคนเหล่ า นี้ ไ ปช่ ว ยทำด้ ว ย ซึ่ ง เป็ น เรื่ อ งที่ ดี ม าก        ในฐานะส่วนตัว ก็ต้องได้ความดีด้วย มีความก้าวหน้า มีความพอใจ
เพราะจะได้ทรัพยากรเพิ่มขึ้น ความรู้เพิ่มขึ้น เพราะภาคเอกชนนั้น                       ได้ความปีติด้วย นั่นเป็นการดีที่สุด ซึ่งทุกวันนี้ ปิดทองฯ ได้ทำให้เป็น
มีความรู้ที่ดีที่จะต่อยอดให้ทุกอย่างมั่นคง ยั่งยืนยิ่งขึ้น มีกิจกรรม                 เช่นนั้นแล้ว
                                                                                                                                                           7
รายงาน




บ้านน้ำป้าก                                                    ชุมชน
                                                                  ตัวอยาง
ชุมชนต้นแบบการจัดการน้ำ
    “น้ ำ ป้ า ก” ในภาษาเหนือ หมายถึง น้ำที่ไหลบ่ามาอย่าง            และสร้างความเข้าใจกับชุมชนว่า ปัญหาของเรา เราต้องแก้เอง วันนี้
รวดเร็ว และเป็นทีมาของชือหมูบานแห่งหนึงใน ต.ตาลชุม อ.ท่าวังผา
                     ่       ่ ่ ้       ่                           เรามี ปั ญ หาเรื่ อ งภั ย ธรรมชาติ ไม่ มี น้ ำ ไม่ มี ข้ า วกิ น ไม่ มี พื้ น ที่ ท ำ
จ.น่าน จากการที่ถูกน้ำป้ากลงมาสร้างความเสียหายรุนแรงให้กับ           การเกษตร ซึ่งชุมชนก็เห็นด้วยว่า ปัญหาที่เกิดขึ้นกับเรา ถ้าเราไม่
หมู่บ้านนี้แทบทุกปี                                                  ลุกขึ้นสู้ ก็จะทำให้มีปัญหาซ้ำเติมมาเรื่อย ๆ เลยตัดสินใจร่วมเดินทาง
       ความรุนแรงของน้ำ ทำให้พื้นที่ทำกินของชาวบ้านจาก 161 ไร่       สู่ปิดทองฯ กัน แล้วระดมความคิด ระดมปัญหาของชุมชนว่าอดีต
ถูกน้ำป่าพัดเอาหิน ดิน โคลน และท่อนซุงมาทับถม จนพื้นที่ทำนาได้       เป็นอย่างไร จะทำอย่างไรเพื่อแก้ปัญหาให้ได้”
เหลือเพียง 37 ไร่ แต่เมื่อปิดทองฯ เข้ามาในพื้นที่และนำองค์ความรู้             การพัฒนาที่เกิดขึ้นด้วยน้ำพักน้ำแรงของชาวบ้านน้ำป้ากเอง
มาต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยชาวบ้านน้ำป้ากทั้งหมด 284 คน            เริ่มตั้งแต่การพัฒนาแหล่งน้ำ ด้วยการพัฒนาฝายน้ำเพื่อการเกษตร
เข้าร่วมเรียนรู้และลงมือด้วยตัวเอง ทุกปัญหาที่มีก็ได้รับการแก้ไข     6 แห่ง ฝายอนุรักษ์ 437 แห่ง ขุดบ่อพวงสันเขา 42 บ่อ พร้อมทั้ง
อย่างยั่งยืน                                                         วางระบบท่อส่งน้ำ พัฒนาทีทำกิน ด้วยการปรับสภาพพืนทีให้เหมาะสม
                                                                                                         ่                                      ้ ่
       ธนาวัฒน์
 แปงล้วน
 ผู้ใหญ่บ้านบ้านน้ำป้าก ย้อนเล่าความ        กั บ การเพาะปลู ก ขุ ด นาแบบขั้ น บั น ได จั ด ตั้ ง กองทุ น ปุ๋ ย กองทุ น
เป็นมาว่า                                                            เมล็ ด พั น ธุ์ ข้ า ว เมล็ ด พั น ธุ์ พื ช ไร่ เมล็ ด พั น ธุ์ ผั ก ทั้ ง ผั ก กาดขาวปลี
       “เราเดินทางเข้าสู่เส้นทางสายปิดทองฯ เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน   กะหล่ำปลี คะน้า ผักกาดหอม ถั่ว ฝักยาว และผักกวางตุ้ง กองทุน
2552 ได้เรียนรู้การแก้ไขปัญหาใน 6 มิติ คือ ดิน น้ำ การเกษตร          พื ช เศรษฐกิ จ เช่ น หวาย ต๋ า ว ไผ่ ซ างนวล (เปาะ) ไผ่ ต ง ไผ่ ร วก
สิ่ ง แวดล้ อ ม พลั ง งานทดแทน และป่า ตามแนวพระราชดำริ ข อง          กฤษณา กล้วยน้ำว้า แหย่ง ไก๋ ก๋ง มะแขว่น ปลูกพืชหลังนา เช่น
พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว แล้ ว ผมก็ ม าทำความเข้ า ใจกั บ    ถั่ ว ลิ ส ง เลี้ ย งหมู เ หมยซาน ไก่ ปลา รวมทั้ ง จั ด ตั้ ง กองทุ น ยาและ
ชาวบ้านว่า ปิดทองฯ มีแนวคิดให้คนอยู่กับป่าได้ คนอยู่ได้ ป่าอยู่ได้   กองทุนอาหารสัตว์ที่ใช้ผลผลิตการเกษตรในชุมชนเอง ควบคู่ไปกับ
8
รายงาน

การปลูกจิตสำนึกในการอนุรักษ์ป่าต้นน้ำ การรณรงค์ให้ลดการใช้         ตามท่อ ชาวบ้านก็ยังใช้น้ำที่เก็บไว้ในบ่อพวงได้ ในบ่อพวงยังเลี้ยง
สารเคมีในการทำเกษตร และการทำบัญชีครัวเรือน                         ปลาไว้หมดทุกบ่อ จับกินได้แล้ว ส่วนฝายเดิม ก็มีการปรับปรุงให้ใช้
     รูปธรรมความสำเร็จที่เกิดจากความร่วมมือร่วมใจของชาวบ้าน        การได้ดีกว่าเดิม ถาวรขึ้น และยังขุดลำเหมืองจากลำน้ำสายเข้าไปใน
คือ การช่วยกันในการสร้างฝายลุงก่ำ ภายในเวลาเพียง 60 วัน และ        แปลงนาได้เลยโดยไม่ต้องใช้ท่อ โดยที่ชาวบ้านลงมือทำเอง ดูแลเอง”
การวางท่อส่งน้ำไปถึงพืนทีการเกษตร ด้วยการระดมเงินของชาวบ้าน
                       ้ ่                                                 ผลที่ได้รับจากการมีน้ำเพียงพอทั่วถึงตลอดปี ทำให้ผลผลิตข้าว
กันเอง                                                             เพิ่มขึ้นจากเดิม 30 ถัง/ไร่ เป็น 60 ถัง/ไร่ พืชหลังนา เช่น ข้าวโพด
     ณัฏฐณิชา
 มังคละ ชาวบ้านน้ำป้ากที่กลายมาเป็นอาสาสมัคร         กะหล่ำ พริก มะเขือ ฯลฯ ให้ผลผลิตงอกงามอุดมสมบูรณ์ หมูทเี่ ลียงไว้              ้
ปิดทองฯ ในเวลาต่อมา เล่าเรื่องนี้ว่า “ฝายหินก่อที่ชาวบ้านทำขึ้น    ตกลูกมากในแต่ละครอกและมีอัตราการตายต่ำมาก เพราะชาวบ้าน
มาเอง ทั้ง 22 ตัวก็เสียหายทั้งหมด จะซ่อมฝายทั้ง 22 ตัวก็คงไม่ไหว   รู้วิธีเลี้ยง วิธีทำคลอดและวิธีรักษาโรคที่ถูกต้องได้เอง
ปิดทองฯ มีทีมพี่เลี้ยงที่ชำนาญเรื่องชลประทานมาช่วยดูให้ ก็ไปดู             เพียงปีเดียว ความร่วมมือร่วมใจของชาวบ้านก็ทำให้ชีวิตความ
ตรงจุดที่จะสร้างฝายลุงก่ำ ตรงนั้นเป็นพื้นที่สูงจากระดับน้ำทะเล     เป็ น อยู่ ข องทุ ก คนดี ขึ้ น มี แ หล่ ง น้ ำ ใช้ ต ลอดปี มี แ หล่ ง อาหารอุ ด ม
315 เมตร ถ้าสร้างฝายที่จุดนั้น ก็จะครอบคลุมพื้นที่ได้มากถึง 382 ไร่สมบู ร ณ์ ไม่ เ พี ย งลดการซื้ อ จากภายนอก แต่ ยั ง มี ผ ลผลิ ต ขายให้
เราก็คิดกันว่า ถ้าสร้างฝายตัวหนึ่งขึ้นมา แล้วสามารถครอบคลุม        กับพ่อค้าที่เข้ามารับซื้ออีกด้วย ทุกคนมีรายได้มากขึ้น หนี้สินลดลง
พื้นที่ทั้งหมดของบ้านน้ำป้ากได้ ก็น่าจะคุ้มกว่า ชาวบ้านจึงไปร่วมกันหลายคนสามารถชำระหนี้ได้จนหมดแล้วก็มี
สร้างฝาย โดยมีทีมพี่เลี้ยงให้คำแนะนำ ใช้เงินสร้างฝายไปสามแสน               มนั ส
 โสกั น ธิ ก า
 ปลั ด จั ง หวั ด น่ า น เล่ า ว่ า “ครั้ ง แรกที่
บาท อีกสองล้านเก้าแสนบาท ทำระบบท่อขนาด 8 นิ้ว ความยาว              ผมเข้าไปที่บ้านน้ำป้าก เดือนพฤศจิกายน 2552 มีผู้หญิงชาวน้ำป้าก
                                                                   คนหนึ่ ง มาร้ อ งไห้ กั บ ผม แล้ ว พาไปดู ว่ า อยากได้ ฝ ายมานานแล้ ว
                                                                   พาไปดูน้ำที่ลงนา เห็นก้อนหินเยอะแยะในนา หินมาจนนาพังแล้ว
                                                                   เขาก็ร้องไห้ ผมก็ได้แต่ให้กำลังใจเขาให้สู้ต่อไป”
                                                                           “เพียงไม่กี่เดือนต่อมา ผมเข้าไปในหมู่บ้านอีกครั้งพร้อมกับถือ
                                                                   ผลไม้และอาหารเข้าไปด้วยเหมือนเช่นเคย แต่ครั้งนี้ ชาวบ้านมา
                                                                   พูดว่า ต่อไปนี้นายไม่ต้องถือมาแล้ว มีกินแล้ว ต่อไปจะเลี้ยงนาย
                                                                   ได้แล้ว ผมฟังแล้วก็ดีใจ วันนี้น้ำตาของเขาก็ยังไหลอยู่ แต่เขาบอกว่า
                                                                   น้ำตาวันนี้ ไหลด้วยความปีติ ผมก็ตื้นตันไปด้วย”
                                                                           ผู้ใหญ่บ้านบ้านน้ำป้ากสรุปชีวิตความเป็นอยู่ของชาวน้ำป้าก
                                                                   ในวั น นี้ ว่ า “พวกเราไม่ มี ก ารสร้ า งหนี้ ใ หม่ แ ล้ ว มี แ ต่ หนี้เ ดิมที่ ต้อง
                                                                   กู้มาลงทุนทำเกษตร ก่อนนี้ไม่มีองค์ความรู้ ต้องพึ่งพาธรรมชาติอย่าง
                                                                   เดี ย ว ก็ เ ป็ น หนี้ เ ป็ น สิ น มา ผมก็ มี ห นี้ อ ยู่ แ สนกว่ า บาท พอเข้ า ร่ ว ม
                                                                   ปิดทองฯ หนี้ก็ลด เพราะเมื่อมีความรู้ มีแนวความคิด ทุกวันนี้ ไก่ก็
                                                                   ไม่ต้องซื้อ ปลาก็มี ผักก็ปลูกกินเองได้ ช่วยลดรายจ่ายไปได้มาก
                                                                   แต่ ก่ อ นไม่ มี น้ ำ ค่ า สู บ น้ ำ วั น หนึ่ ง 300 กว่ า บาท ปิ ด ทองฯ มาแก้
                                                                   ปั ญ หาน้ ำ ให้ แ ล้ ว เราก็ ท ำเอง ต่ อ ท่ อ น้ ำ กั น เอง ก็ ส ามารถทำการ
                                                                   เกษตรได้”
                                                                           “หลังจากปิดทองฯ เข้ามา ชีวิตก็เปลี่ยนไปหมด แนวคิดชาวบ้าน
                                                                   ก็เปลี่ยนไป รู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์คุ้มค่า ทุกวันนี้
                                                                   เราประชุมกันทุกเดือนว่า จะใช้ทรัพยากรอย่างไร ถึงจะเกิดประโยชน์
                                                                   สูงสุด เช่น การมีฝาย ต้องดูแลป่าด้วย ถ้าไม่มีป่า มีแต่ฝาย ไม่มีน้ำ
3,500 เมตร จากฝายลุงก่ำลงมา ระหว่างทางก็แยกลงแต่ละแปลงนา ก็ทำการเกษตรไม่ได้ ชาวบ้านก็มีความรู้สึกเป็นเจ้าของและลุกขึ้น
หรือบ่อพวง แล้วชาวบ้านก็ช่วยกันต่อท่อเข้าแปลงของตัวเอง             มาปกป้องรักษาสิ่งที่เป็นของเขา”
    ในแต่ละวัน จะสามารถเปิดน้ำจากฝายลุงก่ำให้ใช้ได้พร้อมกัน                ทุกชีวิตในบ้านน้ำป้าก
 จึงมีแต่รอยยิ้มที่เกิดจากหัวใจที่
3-4 แปลง แล้วจัดให้หมุนเวียนกันใช้ ถ้ายังไม่ถึงเวรที่จะได้รับน้ำมา เป็นสุข
ด้วยผลจากการกระทำของตนเอง

                                                                                                                                                       9
บทความ




                                                                                                                                                  จุรีรัตน์
หวนถนอม






บ้บานท่า่ยตะเภา่การพัฒนาที่ยั่งยืน
กั การเปลี นแปลงสู
     บ้านท่าตะเภา ต.หนองเสม็ด อ.เมือง จ.ตราด คือ 1 ใน                           หรือ ลุงจุ๊
 และ ป้าฉายา
 อาสน์สถิตย์
 ผู้ใหญ่บ้านบ้านท่าตะเภา
18 หมู่บ้านที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นพื้นที่ขยายผลปิดทองหลังพระฯ                  ทำให้ได้ทราบข้อมูลพื้นที่ สภาพปัญหา ความต้องการของชาวบ้าน
ตามหลักเกณฑ์การพิจารณา เช่น มีเครือข่ายชุมชนเข้มแข็ง มีพื้นที่                  และสิ่งที่ “ปิดทองหลังพระฯ” จะดำเนินการ
การทำงานพัฒนาชัดเจน มีสภาพปัญหาในพื้นที่ เป็นพื้นที่สำคัญ                             ชาวบ้านที่มาร่วมประชุมพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า ทุกคนตัดสินใจ
ต่ อ ระบบนิ เ วศ ป่ า และคนโดยรอบได้ รั บ ประโยชน์ จ ากโครงการ                  เข้าร่วมปิดทองฯ เมื่อลุงจุ๊มาบอกว่า มีโครงการดี ๆ จะเข้ามาช่วยให้
และเป็นตัวอย่างของการแก้ปัญหาที่สามารถนำไปคลี่คลายปัญหา                         ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้น
ได้ในพื้นที่อื่น ฯลฯ                                                                  ป้าฉายา บอกว่า “เราทำนาก็ได้ข้าวเปลือก ไร่หนึ่ง 50 ถังมา
          การสำรวจเบื้องต้น พบว่าบ้านท่าตะเภามี 332 ครัวเรือน ราษฎร             แต่ไหนแต่ไร แต่สมัยรุ่นปู่รุ่นย่าไม่ได้ใช้ปุ๋ยเคมี แต่เอากากปลาที่
1,216 คน เป็นชาย 590 คน หญิง 626 คน อาชีพส่วนใหญ่ทำการ                          เหลือจากการทำน้ำปลามาใส่ในนาข้าว แต่พอเปลี่ยนมาใช้ปุ๋ยเคมี
เกษตรและประมง มีผู้นำชุมชนทุ่มเทเสียสละทำงาน คนในชุมชน                          แรก ๆ ก็ใช้ไม่มาก แต่นานไป ๆ ก็ต้องใส่ปุ๋ยมากขึ้น ๆ จนเดี๋ยวนี้
ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมสูง มีผู้นำด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น                    นาไร่หนึ่งต้องใช้ปุ๋ยถึง 50 กิโลกรัม พันธุ์ข้าวดั้งเดิมที่ต้านทานโรค
หลายด้านที่สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ชุมชนได้ ปัญหาที่พบ                    ได้ดีก็หายไปหมด มีแต่พันธุ์ที่อ่อนแอ ตายง่าย พูดง่าย ๆ คือ สมัย
คือ ดินทำเกษตรเป็นดินเปรี้ยวและเค็ม มีภัยธรรมชาติบ่อยครั้ง และ                  ก่อน ดินดี พันธุ์ข้าวดี เราก็ได้ผลผลิตในระดับที่พอกิน แต่ปัจจุบัน
เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ                                                   พอใช้ปุ๋ยเคมีมาก ๆ ใช้ยาฆ่าหญ้าหลังนามาก ๆ ดินก็เสียมาก ดิน
          การพบปะพูดคุยครั้งแรก ระหว่าง นายณรงค์
 อภิชัย และทีม                 เสียมากก็ต้องใช้ปุ๋ยมากขึ้น ขณะที่ผลผลิตได้เท่าเดิม ต้นทุนนับวันก็
พี่ เ ลี้ ย งจากมู ล นิ ธิ แ ม่ ฟ้ า หลวงกั บ ชาวบ้ า นในพื้ น ที่ 18 ราย จาก   เลยสูงขึ้นไปเรื่อย ที่ชาวบ้านท่าตะเภาพออยู่ได้ ก็เพราะมีอาชีพเสริม”
เกษตรกรผู้ทำนาทั้งหมด 23 ราย นำโดย นายจุรีรัตน์
 หวนถนอม                              ลุ ง จุ๊ บ อกว่ า นอกจากดิ น น้ ำ ศั ต รู พื ช พั น ธุ์ ข้ า ว และปุ๋ ย แล้ ว
10
บทความ

                                     ปัญหาใหญ่ของชาวบ้านอยู่ที่ความเคยชิน เคยทำอย่างไรก็ทำอยู่อย่างนั้น อย่าง
                                     พันธุ์ข้าวให้ใช้ถังครึ่ง บางคนใช้ไปตั้ง 2-3 ถัง เผื่อนกมาจิกกิน แต่ถ้านกไม่มากิน ก็
                                     ไม่เอาส่วนที่เกินออก มันก็แน่นและมีปัญหาตามมาอีกมาก ทั้งโรค ทั้งแมลง นี่คือ
                                     ปัญหาที่ทำให้การทำนาไม่เป็นไปตามหลักวิชาการ
                                           ลุงจุ๊บอกว่า เรื่องแรกที่ต้องแก้ไข คือ เรื่องความเคยชิน ที่ต้องปรับเปลี่ยน
                                     พฤติกรรมของคนให้ได้ก่อน ตั้งแต่เรื่องการใช้ปุ๋ยและสารเคมี ช่วงเวลาหว่านข้าว
                                     จากเดือนมีนาคม-เมษายน เป็นเดือนพฤษภาคม เพื่อไม่ให้มีปัญหาเรื่องน้ำ เปลี่ยน
                                     พันธุ์ข้าวที่ปลูก เป็นพันธุ์ที่ได้ราคาและมีความต้านทานโรคสูง เช่น หอมมะลิแดง
                                     ซึ่งลุงจุ๊บอกว่า ทดลองปลูกด้วยตัวเองแล้ว ไม่เป็นโรคเลย และขายได้เกวียนละ
ฉายา
อาสน์สถิตย์

   ไพเราะ
ฝันดี
   หมื่นกว่าบาท
                                           “นี่คือ ทางรอด ถ้ายังปลูกหอมมะลิแล้วสู้กับโรคกับแมลงไม่ไหว ก็ต้องเปลี่ยน
                                     พันธุ์ข้าว เปลี่ยนแล้วขายได้ราคาดีกว่า สู้กับโรคได้มากกว่าก็ต้องทำ เพราะถ้า
                                     ไม่เปลี่ยนแปลง ทุกอย่างก็จะเดิม ๆ แต่ถ้าเรารวมตัวพูดคุยกันก็จะดีขึ้น ถ้าจะต้อง
                                     ลงทุ น เพิ่ ม เราก็ ต้ อ งหาทางออกร่ ว มกั น ว่ า จะทำกั น อย่ า งไร ถ้ า หาทางออกได้
                                     บริหารเงินได้ เราก็จะมีกำไร แต่ถ้ายังทำอยู่แบบนี้ ทุกอย่างก็จะอยู่ในวังวนเดิม
                                     ที่ได้ไปคุยกับคุณชาย (ม.ร.ว.ดิศนัดดา ดิศกุล เลขาธิการมูลนิธิปิดทองหลังพระ
                                     สืบสานแนวพระราชดำริ) มา เรื่องแรก คือ ต้องการให้เราได้ผลผลิตเพิ่มขึ้น และ
                                     ถ้ารวมตัวกันได้แบบนี้ ก็ตั้งกลุ่มสีข้าวกันจะได้มีกำไรมากขึ้น ถ้ากลัวมอดมากิน
                                     ข้าวเปลือก ก็จะทำเป็นทั้งยุ้งฉางเป็นทั้งโรงอบในที่เดียวกัน ถ้าชุมชนรวมตัวกัน
                                     ก็ทำได้แน่นอน”
                                           ป้าไพเราะ
 ฝันดี ชาวบ้านท่าตะเภา บอกว่า ถ้าทำตามวิธีของปิดทองฯ แล้ว
                                     ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้น ก็อยากจะลองดู เพราะลุงจุ๊เล่าให้ฟังว่าได้ไปดูงานของปิดทองฯ
                                     มาหลายที่แล้ว สามารถทำได้จริง เห็นผลเป็นรูปธรรม แต่พวกเราต้องเอาจริงเอาจัง
                                     กับการเริ่มต้นเปลี่ยนแปลงตัวเอง ลดการใช้ปุ๋ยเคมีและใช้ปุ๋ยอินทรีย์ตามที่ลุงจุ๊
                                     แนะนำ “ตอนนี้เรามีความหวังว่า จะทำข้าวให้ได้ร้อยถัง ภายใน 5 ปี โดยเริ่มจาก
                                     การปรับปรุงดินก่อน”
                                           วิ ธี ก ารที่ ลุ ง จุ๊ แ นะนำชาวบ้ า นในวั น นั้ น คื อ ทำการปลู ก โสนก่ อ น ในเดื อ น
                                     เมษายน-พฤษภาคม แล้วไถกลบเป็นปุ๋ย ถึงเดือนมิถุนายนก็ปลูกข้าว เกี่ยวข้าวแล้ว
                                     เดือนธันวาคม-มกราคม ปลูกถั่วลิสง ไปเก็บเกี่ยวในเดือนมีนาคม ก็จะทำให้มี
                                     รายได้ต่อเนื่อง ลดค่าใช้จ่ายเรื่องปุ๋ยเคมีลงไปได้มาก และได้ดินที่มีคุณภาพดีขึ้น
                                           บ้านท่าตะเภา ในวันทีกำลังจะเริมต้นพัฒนาด้วยองค์ความรูของปิดทองหลังพระฯ
                                                                        ่        ่                          ้
                                     ดินมีค่า pH อยู่ที่ 5 ทำให้ได้ผลผลิตไม่เกิน 40 ถังต่อไร่ การทดลองแก้ปัญหา จะทำ
                                     ในพื้นที่สาธิตประมาณ 5 ไร่ เริ่มด้วยการใช้ปอเทืองและถั่วพร้าไถกลบหน้าดินก่อน
                                     เป็นปุ๋ยพืชสด เพือลดการใช้ปยเคมีและบำรุงดิน หลังฤดูเก็บเกียวในเดือนพฤศจิกายนนี้
                                                              ่           ุ๋                             ่
                                     แล้วจะทำการเลือกพืชหลังนาที่เหมาะสมกับพื้นที่ต่อไป
                                           ขณะนี้ จั ง หวั ด ตราดมี ก ารตั้ ง คณะกรรมการระดั บ อำเภอ ลงพื้ น ที่ ส ำรวจ
                                     เพื่อวางแผนการดำเนินงานต่อไป และพัฒนาชุมชนและสหกรณ์ จั ง หวั ด ตราด
                                     ได้จัดเตรียมงบประมาณสนับสนุนไว้แล้ว
                                           บ้านท่าตะเภา จะเป็นพื้นที่ปิดทองฯ อีกแห่งหนึ่ง ที่เกิดจากความพร้อมและ
                                     ความร่วมมือของชาวบ้าน ในการเปลี่ยนแปลงตัวเองไปสู่จุดเริ่มต้นการพัฒนาที่
                                     ยั่งยืนต่อไปในอนาคต
                                                                                                                              11
Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2
Newsletter pidthong vol.2

Contenu connexe

Tendances (7)

Tsd emag 49
Tsd emag 49Tsd emag 49
Tsd emag 49
 
รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx
รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx
รายงานอ่าวคุ้งกระเบน.Docx
 
บุญทันตา ฉบับ 3
บุญทันตา ฉบับ 3 บุญทันตา ฉบับ 3
บุญทันตา ฉบับ 3
 
TV360 on Magazine issue2
TV360 on Magazine issue2TV360 on Magazine issue2
TV360 on Magazine issue2
 
Twitter marketing pinny
Twitter marketing pinnyTwitter marketing pinny
Twitter marketing pinny
 
Otop marketing strategy new
Otop marketing strategy newOtop marketing strategy new
Otop marketing strategy new
 
Final com 929
Final com 929Final com 929
Final com 929
 

Similaire à Newsletter pidthong vol.2

Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7tongsuchart
 
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003bussayamas Baengtid
 
โครงการสร้างฝายถวายพ่อ
โครงการสร้างฝายถวายพ่อโครงการสร้างฝายถวายพ่อ
โครงการสร้างฝายถวายพ่อrungthip131
 
โครงการสร้างฝายถวายพ่อ
โครงการสร้างฝายถวายพ่อโครงการสร้างฝายถวายพ่อ
โครงการสร้างฝายถวายพ่อthitinanmim115
 
Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1tongsuchart
 
อบรมเห็ด55
อบรมเห็ด55อบรมเห็ด55
อบรมเห็ด5584village
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนCook-butter
 
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขาโครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขาYves Rattanaphan
 
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพวSircom Smarnbua
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงsavokclash
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทยJulPcc CR
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองbenya_28030
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองbenya2013
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53Link Standalone
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7Ploy Benjawan
 

Similaire à Newsletter pidthong vol.2 (20)

Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7Newsletter pidthong vol.7
Newsletter pidthong vol.7
 
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003บทที่ 1น้ำบาดาล2003
บทที่ 1น้ำบาดาล2003
 
โครงการสร้างฝายถวายพ่อ
โครงการสร้างฝายถวายพ่อโครงการสร้างฝายถวายพ่อ
โครงการสร้างฝายถวายพ่อ
 
โครงการสร้างฝายถวายพ่อ
โครงการสร้างฝายถวายพ่อโครงการสร้างฝายถวายพ่อ
โครงการสร้างฝายถวายพ่อ
 
Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1Newsletter Pidthong vol.1
Newsletter Pidthong vol.1
 
อบรมเห็ด55
อบรมเห็ด55อบรมเห็ด55
อบรมเห็ด55
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อน
 
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขาโครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
 
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
1รายงานโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน2556ศพว
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย16ภูมิปัญญาไทย
16ภูมิปัญญาไทย
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
 
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทองโครงงานพัฒนาพิกุลทอง
โครงงานพัฒนาพิกุลทอง
 
Online Collaboration
Online CollaborationOnline Collaboration
Online Collaboration
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
สถาบันพระมหากษัตริย์กับความมั่นคงแห่งชาติ มิย53
 
Korat model
Korat modelKorat model
Korat model
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Suffeco po(2)
Suffeco po(2)Suffeco po(2)
Suffeco po(2)
 
โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7โครงการเกษตร4 7
โครงการเกษตร4 7
 

Newsletter pidthong vol.2

  • 1. 2 มหาวิทยาลัยทั่วประเทศร่วมปิดทองฯ ใช้ปัญญาแก้ปัญหาและพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน สถาบันอุดมศึกษาภาครัฐและเอกชนทั้งประเทศขยายบทบาทช่วยเหลือสังคม เข้าร่วมสถาบันปิดทองฯ เพื่อนำองค์ความรู้ตามแนว พระราชดำริ เป็นแกนขับเคลื่อนนิสิต นักศึกษาให้เรียนรู้การพัฒนาชนบทอย่างจริงจัง หลังจากสร้างต้นแบบการพัฒนาตามแนวพระราชดำริแบบบูรณาการในจังหวัดน่านมาแล้วกว่าสองปี ควบคูกบการส่งเสริมการมีสวนร่วม ่ั ่ จากทุกภาคส่วนทั้งในและนอกพื้นที่ โดยเฉพาะสถาบันอุดมศึกษา ตามนโยบายกระตุ้นให้คนรุ่นใหม่เข้ามามีบทบาทพัฒนาสังคม ของ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์เกษม วัฒนชัย ประธานมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ซึ่งสอดคล้องกับแนวทางของสถาบันอุดมศึกษา ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ประธานคณะอนุกรรมการธุรกิจเพื่อสังคม มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ “ผมเชื่ อ ว่ า ทุ ก คนเริ่ ม ต้ น ด้ ว ยความใฝ่ ดี อยากจะให้ ง านที่ ท ำนั้ น ประสบความสำเร็ จ เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม พร้อม ๆ กับที่ตัวเอง ในฐานะส่วนตัว ก็ต้อง ได้ความดีด้วย มีความ ก้าวหน้า มีความพอใจ ได้ ค วามปี ติ ด้ ว ย นั่ น เป็ น การดี ที่ สุ ด ซึ่ ง ทุ ก วันนี้ปิดทองฯ ได้ทำให้ หลายแห่ง และนำมาซึ่งการปรึกษาหารือกันหลายวาระ ทั้งที่จังหวัดน่าน อุดรธานี และ เป็นเช่นนั้นแล้ว” กรุงเทพมหานคร และได้ข้อสรุปในการทำงานร่วมกันว่าจะนำกลุ่มปัญญาชนของประเทศ กลับไปสู่ปรัชญาเริ่มต้นคือ การนำความรู้ในห้องเรียนหรือประสบการณ์จากการฝึกงาน อ่านทั้งหมดที่หน้า 6 มาแก้ไขปัญหาและพัฒนาพื้นที่ อ่านต่อหน้า 15 คลังลงพืนทีอดรธานีดงานพัฒนา ้ ุ่ ู เก็บข้อมูลปิดทองฯวางงบน้ำ 5 ปี ม.ร.ว.ดิ ศ นั ด ดา ดิ ศ กุ ล เลขาธิ ก ารมู ล นิ ธิ ปิ ด ทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ นำนายจักรกฤศฎิ์ พาราพันธกุล ผูอำนวยการ ้ สำนักงานบริหารหนี้สาธารณะ สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง และคณะ เดินทางลงพื้นที่ดำเนินงานโครงการบริหารจัดการน้ำ อย่ า งยั่ ง ยื น อ่ า งเก็ บ น้ ำ ห้ ว ยคล้ า ยอั น เนื่ อ งมาจากพระราชดำริ บ้านโคกล่าม ต.กุดหมากไฟ อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2554 อ่านต่อหน้า 16
  • 2. บทความ “พระ” คู่ “พระบารมี” หนึ่งในองค์ความรู้ที่ “ปิ ด ทองหลั ง พระฯ” นำมาใช้เพื่อการ พั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น คื อ องค์ ค วามรู้ จ าก “ฟาร์ ม ตั ว อย่ า งในสมเด็ จ พระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ” การจัดเป็นชุดอาหารพร้อมปรุง เช่น ชุดต้มยำ ลาบ แกงส้ม ผัดเผ็ด โครงการฟาร์มตัวอย่างฯ เกิดขึ้นโดยพระราชประสงค์ให้เป็น ส่งไปขายในห้างสรรพสินค้า เช่น แม็คโคร และโรงแรมชันนำหลายแห่ง ้ แหล่งจ้างงานราษฎรที่ยากจนไม่มีงานทำ อีกทั้งเพื่อให้พื้นที่ชนบท ส่ ว นหนึ่ ง ขายในท้ อ งถิ่ น เป็ น สิ น ค้ า โอทอป ร้ า นของฟาร์ ม เอง ได้รับการพลิกฟื้นให้เป็นแหล่งผลิตอาหารที่ปลอดภัยจากสารเคมี และจัดใส่รถตู้ออกไปขายตามตลาดนัดในพื้นที่ วัตถุดิบของอาหาร ยาฆ่าแมลงและสารพิษต่าง ๆ และเป็นแหล่งอบรม สาธิตความรู้ ทีเ่ หลือนำมาปรุงเป็นผลิตภัณฑ์ทมคณภาพรองลงมา รวมทังเศษวัตถุดบ ี่ ี ุ ้ ิ ด้านเกษตรกรรมที่ถูกต้องได้ผล ช่วยให้ราษฎรทำกินเป็นหลักแหล่ง ก็นำมาเป็นอาหารสัตว์ หรือทำปุ๋ยชีวภาพ ก๊าซชีวภาพต่อไปให้เกิด ไม่ย้ายถิ่นฐานบุกรุกทำลายป่า คืนความอุดมสมบูรณ์และใช้ผืนดิน ประโยชน์สูงสุด ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ความสำเร็จของแปลงเกษตรทดลอง 2 แปลง ที่บ้านโคกล่าม และบ้ า นแสงอร่ า ม ต.กุ ด หมากไฟ อ.หนองวั ว ซอ จ.อุ ด รธานี ซึ่ ง “ปิ ด ทองหลั ง พระ” น้ อ มนำองค์ ค วามรู้ จ ากฟาร์ ม ตั ว อย่ า งตาม พระราชดำริบ้านหนองหมากเฒ่า ต.ห้วยยาง อ.เมือง จ.สกลนคร มาเป็นแบบอย่างการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืน คือ บทพิ สู จ น์ ถึ ง พระวิ สั ย ทั ศ น์ อั น กว้ า งไกล และน้ ำ พระราชหฤทั ย อันพิสุทธิ์ด้วยพระเมตตาที่หลั่งรินมาชโลมใจราษฎรผู้มีทุกข์ทั้งมวล ในพื้นที่ของฟาร์มตัวอย่าง ราษฎรจะได้รับมอบพื้นที่คนละแปลง ให้สามารถดำรงชีวิตอย่างผาสุกสืบไป สำหรั บ ปลู ก พื ช ผั ก สวนผสม ซึ่ ง ล้ ว นพึ่ ง พาอาศั ย ซึ่ ง กั น และกั น มี “...อย่ามาพูดเรื่องกำไรขาดทุนกับฉันนะ ฉันต้องการให้ การปลู ก พื ช ที่ ใ ห้ ผ ลผลิ ต ในระยะเวลาที่ ต่ า งกั น เพื่ อ ให้ เ กษตรกร คนจนมีงานทำมาก ๆ ขาดทุนของฉัน คือ กำไรของแผ่นดิน...” ขายผลผลิตได้ทุกวัน มีการแสดงขั้นตอนและวิธีการนำเทคโนโลยี ทรงอธิบายเพิมเติมอีกว่า “...การทีทำให้คนยากจนในชุมชนนัน ๆ ่ ่ ้ การเกษตรที่ทันสมัยมาปรับใช้ให้เหมาะสม ซึ่งเกษตรกรสามารถ มีงานทำ พวกเขามีรายได้ มีเงินเลียงครอบครัว ไม่ตองไปเป็นโจร ้ ้ ปฏิบัติได้จริง ไม่ต้องไปเป็นขโมย ไม่ต้องไปยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด ไม่ตัดไม้ ผลิตภัณฑ์จากฟาร์มตัวอย่างที่ได้จาก “หน่วยการผลิต” มีทั้ง ทำลายป่า ไม่ไปเผาป่า ตำบลนั้น อำเภอนั้น จังหวัดนั้นก็มี ผักปลอดสารพิษ พืชผักปรุงอาหารทั้งพืชล้มลุก ผักอายุยาว และ ความสุข มีความสงบสุข ประเทศชาติก็มีความสุข มีความสงบ ไม้ผล เช่น มะละกอ มังคุด ลองกอง มะพร้าวน้ำหอม ขนุน ฯลฯ จาก นี่แหละคือกำไรของแผ่นดิน...” “หน่วยปศุสัตว์” มี ไก่ เป็ดอี้เหลียน หมูจินหัว วัว ควาย “หน่วย พระราชดำรัสความตอนหนึ่งพระราชทานแก่ พล.อ.ณพล ประมง” ส่วนใหญ่จะเลี้ยงปลากินพืชตามธรรมชาติ เช่น ปลานิล บุญทับ รองสมุหราชองครักษ์ในสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรม แปลงเพศ ปลาไน ปลายี่สก มี “หน่วยเพาะเห็ด” “หน่วยไม้ดอก ราชิ นี น าถ และนายสหั ส บุ ญ ญาวิ วั ฒ น์ ผู้ ช่ ว ยเลขาธิ ก าร ไม้ ป ระดั บ ” เช่ น ขิ ง แดง หมากเหลื อ ง ฟิ โ ลเดนดรอน นางกวั ก พระราชวัง ถึงวัตถุประสงค์หลักในการจัดทำโครงการฟาร์ม หูปลาช่อน เทียนทอง โกสน ซุ้มกระต่าย และมี “หน่วยเพิ่มมูลค่า ตัวอย่างฯ ทั่วประเทศ ผลผลิต” ที่นำผลผลิตที่ปลูกและเลี้ยงได้มาเพิ่มมูลค่าให้มากขึ้นด้วย เจ้าของ : มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ทำเนียบรัฐบาล เลขที่ 1 ถนนนครปฐม เขตดุสต กรุงเทพมหานคร 10300 ิ www.pidthong.org : สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ อาคารสยามทาวเวอร์ ชั้น 26 เลขที่ 989 ถนนพระราม 1 แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ 10330 www.twitter.com/pidthong โทรศัพท์ 0-2611-5000 โทรสาร 0-2658-1413 ที่ปรึกษา : หม่อมราชวงศ์ดิศนัดดา ดิศกุล นายการัณย์ ศุภกิจวิเลขการ นายพิพัฒน์ เลิศกิตติสุข www.facebook.com/pidthong บรรณาธิการ : นายธนัยนันท์ ธนันท์ปพัฒน์ ผู้ช่วยบรรณาธิการ : นายสุชาติ ถนอม ผู้จัดทำ : บริษัท แอร์บอร์น พรินต์ จำกัด 1519/21 ซอยลาดพร้าว 41/1 ถนนลาดพร้าว แขวงสามเสนนอก เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310 2 www.youtube.com/pidthongchannel โทรศัพท์ 0-2939-9700 โทรสาร 0-2512-2208 E-mail : roso215@yahoo.com
  • 3. ข่าว ยะลาเลือกปิยมิตร 3 ต้นแบบแก้ปัญหา นายณัฐพงศ์ ศิริชนะ รองผู้ว่าราชการจังหวัดยะลา กล่าวถึง นำองค์ ค วามรู้ ข องพระบาทสมเด็ จ เหตุผลที่จังหวัดยะลาคัดเลือกบ้านปิยมิตร 3 ต.อัยเยอร์เวง อ.เบตง พระเจ้าอยู่หัวมาสอนให้ เป็นพื้นที่ขยายผลปิดทองฯ เนื่องจากบ้านปิยมิตร 3 เป็นพื้นที่ต้นน้ำ นายณั ฐ พงศ์ กล่ า วว่ า ปั ญ หาที่ แม่น้ำปัตตานีและเขื่อนบางลาง อีกทั้งพื้นที่ป่าประมาณ 4,100 ไร่ ชาวบ้านปิยมิตร 3 ยกมาเป็นอันดับแรก ของหมู่บ้านกำลังเริ่มถูกบุกรุก จึงต้องเร่งหาทางป้องกัน คือ การบุกรุกพื้นที่ป่าเพื่อปลูกยางพารา “บ้ า นปิ ย มิ ต ร 3 พอเข้ า ไปดู แ ล้ ว ก็ พ บว่ า อุ ณ หภู มิ ใ นหมู่ บ้ า น ซึ่ ง ทำให้ เ กิ ด ปั ญ หาน้ ำ ท่ ว ม ดิ น ถล่ ม เพิ่มขึ้นถึง 3 องศาในเวลาไม่ถึง 4 ปี แสดงว่าระบบนิเวศที่นี่กำลัง เพราะเป็นการปลูกด้วยยางถุงชำ จึงไม่มี มีปัญหา ซึ่งจะกระทบเรื่องน้ำ ดิน และอื่น ๆ ตามมา อีกทั้งหมู่บ้านนี้ รากแก้ว ที่ จ ะช่ ว ยยึ ด ดิ น ปั ญ หาต่ อ มา ปลูกลองกองมากถึง 8,000 ต้น แต่ 5 ปีออกลูกครั้งเดียว ถามว่า คือ การจัดการแหล่งน้ำให้เกิดสูงสุด เรื่องที่สาม คือ ขยะมูลฝอย จะเอาความรู้ที่ไหนไปช่วย ทำให้คิดว่าถ้ามีปิดทองหลังพระฯ เดินไป ทำอย่างไรจึงจะรักษาสิงแวดล้อมไว้ให้ได้ และสุดท้าย คือ ความรูดาน ่ ้ ้ กับเรา น่าจะช่วยแก้ปัญหาพื้นฐานให้กับชาวบ้านได้อย่างแท้จริง” การเกษตร เหล่านี้ คือ เรื่องที่ชาวบ้านอยากได้จากปิดทองหลังพระฯ รองผูวาฯ ยะลากล่าวว่า เพือให้เป็นไปตามหลักการเข้าใจ เข้าถึง ้่ ่ “ผมเชื่อว่า โอกาสจะสำเร็จมีสูง แต่ต้องใจเย็น ๆ และห้ามมุ่ง และพัฒนา จึงต้องให้ชาวบ้านเข้าใจโครงการฯ และมีความพร้อมก่อน เป้าว่า ทำแล้วจะปลดหนี้ให้ชาวบ้านได้ภายใน 1 ปี แต่เราต้องสร้าง จังหวัดจึงจัดประชุมชี้แจงกับชาวบ้านแล้วว่า ปิดทองฯ จะเข้ามา ความยั่งยืน ใช้หลักระเบิดจากข้างในของในหลวง ทำตามลำดับขั้น ทำอะไร อย่างไร รวมทังประโยชน์ทชาวบ้านจะได้ โดยเน้นว่า ชาวบ้าน ้ ี่ คิดอย่างเป็นระบบ ถ้าทำอย่างนั้นได้ก็จะสำเร็จ” รองผู้ว่าฯ ยะลา ต้องเป็นคนทำเอง ปิดทองฯ จะเป็นผู้ช่วยเหลือ เดินเคียงข้างและ กล่าวทิ้งท้าย ผู้สื่อข่าวรวมตัวตั้งชมรมเพื่อเรียนรู้ชนบท การพบปะระหว่าง “ปิดทองหลังพระฯ” กับสื่อมวลชน ซึ่งสถาบันส่งเสริม และพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ จัดขึ้นเพื่อรายงาน ผลการดำเนินงานในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา รวมทั้งแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับ แนวทางการดำเนินงานของสถาบันฯ ได้จุดประกายความคิดให้ผู้สื่อข่าว ซึ่งเคย ติดตามรายงานข่าว “ปิดทองฯ” มา รวมตัวกันจัดตั้งชมรมสื่อมวลชนเพื่อการเรียนรู้ และเข้าใจปัญหาที่แท้จริงของชนบทที่มีผลกระทบต่อประเทศ และสามารถสะท้อน ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ การรวมตัวกันจัดตั้งชมรมผู้สื่อข่าวเพื่อเรียนรู้ชนบทในครั้งนี้ เป็นการรวมกลุ่ม โดยสมัครใจของสื่อมวลชน ไม่จำกัดสาขาและสายข่าว เพื่อร่วมกันสร้างกิจกรรม ที่จะเป็นประโยชน์ต่อการเข้าใจปัญหาที่เกิดขึ้นในชนบท และมีส่วนร่วมแก้ไข ปั ญ หาตามบทบาทที่ เ หมาะสม โดยไม่ มุ่ ง เน้ น การสร้ า งองค์ ก รไปสู่ เ กี ย รติ ย ศ ชื่ อ เสี ย ง ผู้ ริ เ ริ่ ม ก่ อ ตั้ ง จะร่ ว มกั น เป็ น กรรมการโดยไม่ มี ต ำแหน่ ง บริ ห าร และ ร่ ว มกั น กำหนดกิ จ กรรมขึ้ น โดย “ปิ ด ทองหลั ง พระฯ” จะร่ ว มมื อ ในโครงการ ที่สอดคล้องกับพันธกิจของมูลนิธิฯ ในเบื้องต้น มีการสร้างกลุ่มในเฟซบุ๊กแล้ว ในชื่อ “สื่อบ้านนอกปิดทองฯ” เพื่อเผยแพร่ปรัชญาของกลุ่มและเป็นเวทีให้ผู้ที่สนใจเข้าร่วมได้อย่างเสรี 3
  • 4. ข่าว แม่โจ้ถอดบทเรียนพัฒนาท้องถิ่น ดร.ทิ พ ย์ สุ ด า ตั้ ง ตระกู ล ผู้ ช่ ว ยอธิ ก ารบดี ม หาวิ ท ยาลั ย แม่ โ จ้ จ.เชียงใหม่ หัวหน้าโครงการวิเคราะห์และถอดบทเรียนการทำงาน สืบสานแนวพระราชดำริเพื่อสร้างชุดความรู้พร้อมใช้ ซึ่งได้รับการ สนับสนุนจากสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ กล่าวถึงความคืบหน้าของโครงการฯ ว่า มีการวิเคราะห์ ถอดบทเรียน และจั ด ทำชุ ด ความรู้ พ ร้ อ มใช้ ใ น 6 มิ ติ คื อ มิ ติ ด้ า นการเกษตร สิ่งแวดล้อม ดิน น้ำ ป่า และพลังงาน จากปราชญ์ชาวบ้าน และ มหาบั ณ ฑิ ต สาขาการจั ด การภู มิ สั ง คมอย่ า งยั่ ง ยื น ที่ น้ อ มนำแนว พระราชดำริมาใช้ในการแก้ปัญหา การดำเนินชีวิตและพัฒนาชุมชน บทเรียนจากการปฏิบัติงานจริง เรียนรู้แบ่งปันเทคนิควิธีการที่อยาก จำนวน 21 กรณีศึกษาในภาคเหนือเรียบร้อยแล้ว เรียนรู้เพิ่ม ซึ่งผลของการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ พบว่า ปัจจัยความสำเร็จ หลั ง จากถอดองค์ ค วามรู้ แ ล้ ว มหาวิ ท ยาลั ย แม่ โ จ้ ได้ จั ด เวที ส่วนใหญ่มาจากการใช้วัฒนธรรมความเชื่อของชุมชน เป็นตัวกำกับ แลกเปลี่ ย นองค์ ค วามรู้ ขึ้ น เมื่ อ เดื อ นกรกฎาคม โดยเชิ ญ ตั ว แทน กิจกรรม ชุมชนมีความเข้าใจในเรื่องที่ทำ มีผู้นำที่เอาการเอางาน มี ชาวบ้ า นจากชุ ม ชนต่ า ง ๆ ในจั ง หวั ด ภาคเหนื อ ตอนบน เช่ น การตั้งกลุ่มกิจกรรม และใช้กฎกติกาที่ร่วมกันตั้งขึ้น ส่วนการก้าวข้าม แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ เชียงราย พะเยา แพร่ และน่าน ที่ดำเนินชีวิต อุปสรรคต่าง ๆ ชุมชนมักใช้กลไกกรรมการหมูบานเป็นผูตดสินปัญหา ่ ้ ้ ั ตามแนวพระราชดำริ และเจ้ า หน้ า ที่ จ ากศู น ย์ ศึ ก ษาการพั ฒ นา พู ด คุ ย สร้ า งความเข้ า ใจกั บ ชาวบ้ า นผ่ า นเวที ป ระชุ ม ต่ า ง ๆ และ ห้วยฮ่องไคร้ฯ เข้าร่วมแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ รวม 40 คน เพื่อให้เกิด ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญภายนอก สำหรับเรื่องที่ชุมชนอยากเรียนรู้เพิ่ม การต่อยอดขยายผลการพัฒนาตามแนวพระราชดำริไปยังชุมชน คื อ ปุ๋ ย สั่ ง ตั ด การวิ เ คราะห์ ดิ น ไฟฟ้ า พลั ง น้ ำ การส่ ง เสริ ม การ ในภาคเหนือและทั่วประเทศในอนาคต ท่องเที่ยว การจัดการสิ่งแวดล้อม การสร้างกลุ่มให้เข้มแข็ง และการ ทั้งนี้ เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์ความรู้ระหว่างปราชญ์ชาวบ้าน ใช้ GPS เป็นต้น ในระดับของการต่อยอดขยายผล ชาวบ้านต้องการ ในพืนทีถอดบทเรียน 20 แห่ง เป็นเวทีทเี่ ปิดโอกาสให้ปราชญ์ชาวบ้าน ้ ่ ให้มีกิจกรรมพบปะกันอย่างต่อเนื่องในระหว่างผู้เรียนรู้เรื่องเดียวกัน จากพื้นที่ถอดบทเรียนที่ประสบความสำเร็จในการน้อมนำองค์ความรู้ เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ นำปัญหาและปัญญามาแบ่งปันกัน ตามแนวพระราชดำริไปประยุกต์ใช้ ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์และ เพื่อพัฒนางานของชุมชนต่อไป “ปิดทองฯ/พระดาบส”จัดคลินิกช่วยเกษตรกร จ.กำแพงเพชร และวัดดงป่าคำ ต.ดงป่าคำ อ.เมือง จ.พิจิตร ระหว่าง วันที่ 29-31 กรกฎาคม 2554 นอกจากนี้ ยังจัดแสดงนิทรรศการเรื่องโรคพืชและแนวทางการ ป้องกันและการแสดงแมลงตัวอย่างทั้ง 2 ประเภท คือ “แมลงตำรวจ” หรื อ แมลงที่ เ ป็ น มิ ต ร มี ห น้ า ที่ กั ด กิ น แมลงศั ต รู พื ช ตามธรรมชาติ กับ “แมลงผู้ร้าย” หรือแมลงศัตรูพืชชนิดต่าง ๆ เพื่อให้ความรู้แก่ เกษตรกรว่า แมลงใดเป็นคุณ แมลงใดเป็นโทษ และการใช้ยากำจัด แมลงศั ต รู พื ช ควรเป็ น ทางเลื อ กสุ ด ท้ า ย เพราะสารเคมี นั้ น อาจ ฆ่าแมลงที่มีประโยชน์ตามธรรมชาติไปด้วย มู ล นิ ธิ ปิ ด ทองหลั ง พระ สื บ สานแนวพระราชดำริ ร่ ว มกั บ โครงการพระดาบสสั ญ จร เป็ น โครงการพระราชดำริ ข อง ศูนย์วิจัยพันธุ์ข้าว จ.พิษณุโลก เปิด “คลินิกเกษตร” ให้ความรู้และ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในลักษณะศูนย์บริการเคลื่อนที่ เพื่อให้ คำแนะนำเรื่องการกำจัดแมลงศัตรูพืชในนาข้าว และโรคข้าวต่าง ๆ ความรู้และบริการช่วยเหลือประชาชนในพื้นที่การเกษตรทุกภูมิภาค ในโครงการพระดาบสสั ญ จร ที่ วั ด ท่ า คร้ อ ต.วั ง บั ว อ.คลองขลุ ง ทั่วประเทศ 4
  • 5. บทความ บุญมากและภรรยา ลงมือพัฒนาพื้นที่ 20 ไร่ของเขา ด้วย 3 กิจกรรมหลัก คือ 1. ปรับปรุงดินให้มีธาตุอาหาร ปลูกพืชก่อนนา เพื่อเพิ่มปุ๋ยให้ดิน ทำนาและปลูกพืชหลังนา 2. ปลูกพืชเป็น 3 ระดับ คือ พืชชั้นสูง ชั้นกลาง และพืชกินหัว ซึ่งทุกชั้นกินได้ขายได้ และ 3. ทำปศุสัตว์ เลี้ยงหมูจินหัว เป็ดอี้เหลียง ปลากินพืชในบ่อ เป็นต้น บุญมาก สิงห์คำป้อง เพียง 15 วันหลังจากทำฟาร์มตัวอย่าง บุญมาก ก็เริ่มมีรายได้ วันละ 200-300 บาท จากการทยอยขายพืชผักที่ปลูกไว้ เกษตรกรหัวใจเหล็กแห่งหนองวัวซอ “ตื่นเต้นกับองค์ความรู้เหล่านี้มากครับ เพราะเพียงแค่ไม่กี่วัน พืชผักที่เราช่วยกันปลูก ออกดอกออกผลให้เก็บกินและเหลือขายได้ แล้ว เป็นกำลังใจที่ทำให้เราอยากออกจากบ้านตั้งแต่เช้ามืด และอยู่ จนมืดค่ำถึงจะกลับบ้านทุกวัน” ความมุ่ ง มั่ น ของคนหั ว ใจเหล็ ก อย่ า ง บุ ญ มาก ทำให้ เ พี ย ง 5 เดื อ น ที่ ดิ น ของเขาก็ อุ ด มสมบู ร ณ์ เ ต็ ม ไปด้ ว ยผลผลิ ต จนมี พ่ อ ค้ า คนกลางเข้ามารับซื้อถึงที่ ทั้งพืชผลอย่างฟักทอง ผักบุ้งจีน หมูจินหัว ครอกแรก 11 ตัว สร้างรายได้ให้กว่า 23,000 บาท “ครบปี ผมน่าจะมีรายได้อีกไม่ต่ำกว่า 50,000 บาท จากข้าว 800 ถัง พืชหลังนา และหมูจินหัวอีก 2 ครอก และน่าจะเริ่มปลดหนี้ ได้หมด ลืมตาอ้าปากได้” แม้ ชี วิ ต จะต้ อ งติ ด ลบ จากการทำเกษตรบนผืนดิน ลูกรังที่แทบปลูกอะไรไม่ขึ้น ในพื้นที่ ต.กุดหมากไฟ อ.หนองวัวซอ จ.อุดรธานี แต่ บุญมาก สิงห์คำป้อง ก็ไม่ยอมย่อท้อต่ออุปสรรค ที่เผชิญอยู่ แม้จะต้องเป็นหนี้เมื่อทำเกษตรขาดทุนหลายปีติดต่อกัน จนเพื่อนบ้านหันไปทำงานรับจ้างเกือบหมด แต่ บุญมาก ยังมุ่งมั่น เพาะปลู ก บนผื น ดิ น ที่ เ ป็นมรดกตกทอดจากพ่อแม่ตลอดมา ด้ ว ย ความหวังว่า วันหนึ่งผลผลิตจะดีขึ้น แล้วความหวังนั้นก็เป็นจริง เมื่อ “ปิดทองหลังพระฯ” นำองค์ ความรู้ในการพัฒนาการเกษตรอย่างยั่งยืนมาสู่แปลงเกษตรของเขา ความขยันขันแข็ง เอาใจใส่ และตั้งใจจริงกับการทำเกษตรของ บุญมาก เข้าตาของ ม.ร.ว.ดิศนัดดา ดิศกุล ประธานสถาบันส่งเสริม และพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระฯ เข้าอย่างจัง เพราะทุกครั้งที่ คุณชายลงไปในพื้นที่ ก็จะพบ บุญมาก อยู่ในแปลงเกษตรของเขา ตลอดเวลา ยิ่งเมื่อได้พูดคุยกัน บุญมาก ก็สะท้อนให้เห็นถึงการเป็น บุญมาก ไม่ได้หวังว่าอนาคตเขาจะต้องร่ำรวย ขอแค่พอมีพอกิน คนที่มีความคิดเป็นของตนเอง หมดหนี้สินก็พอแล้ว แต่ความสุขและความภาคภูมิใจที่สุดของเขา ด้วยเหตุนี้ บุญมาก จึงเป็นหนึ่งในสองเกษตรกร ที่ได้รับคัดเลือก ในวั น นี้ คื อ การเป็ น วิ ท ยากรของปิ ด ทองฯ เผยแพร่ อ งค์ ค วามรู้ ที่ ให้นำร่องทำฟาร์มสาธิต ตามแนวทางโครงการฟาร์มตัวอย่างตาม เขาได้ รั บ และลงมื อ ปฏิ บั ติ จ ริ ง อย่ า งได้ ผ ลมาแล้ ว ให้ กั บ เกษตรกร แนวพระราชดำริ เพื่อเป็นตัวอย่างให้เกษตรกรอื่น ๆ ได้เห็น คนอื่น ๆ ประสบความสำเร็จเช่นเดียวกับเขา 5
  • 6. สัมภาษณ์พิเศษ ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ประธานคณะอนุกรรมการธุรกิจเพื่อสังคม มูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ วัตถุประสงค์ของมูลนิธิปิดทองหลังพระฯ ในการตั้ง คณะอนุกรรมการธุรกิจเพื่อสังคม บทบาทของภาคเอกชนแต่ไหนแต่ไรมา คือ การเป็นพลเมืองดี จ่ า ยภาษี ใ ห้ รั ฐ เอาไปช่ ว ยคนที่ ย ากจน หรื อ สร้ า งสาธารณู ป โภค สาธารณูปการต่าง ๆ แต่ปัจจุบันนี้ แนวความคิดเรื่อง CSR หรือ ความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ เป็นกระแสของประเทศไทย และของโลก ซึ่งทุกบริษัทรู้เองแล้วว่า เพื่อความยั่งยืน เขาต้องดูแล สังคมด้วย นอกเหนือจากการจ่ายภาษี บริษทเอกชน โดยเฉพาะบริษท ั ั ที่มีกำลัง มีความสามารถที่จะเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่สูง จะไม่จ่ายแค่ภาษี อย่างเดียว แต่จะมีโครงการ CSR ด้วย เพราะเหตุนี้ ผมจึงคิดว่า เมื่อปิดทองหลังพระฯ ประสบความสำเร็จในการนำแนวพระราชดำริ 6 มิติมาลดความเหลื่อมล้ำระหว่างผู้คนในสังคม ผมเชื่อว่าบริษัท เอกชน โดยเฉพาะบริษัทชั้นนำทั้งหลาย คงพร้อมที่จะมามีส่วนร่วม โดยตรงในการช่วยเหลือสนับสนุน จึงเสนอต่อคณะกรรมการมูลนิธิฯ ว่า อยากให้มีอนุกรรมการ CSR ขึ้น เพื่อว่าแทนที่จะเป็นต่างคนต่างมี โครงการ CSR ทุกคนก็จะมาร่วมกันดูว่าแผนการพัฒนาของปิดทองฯ เป็นอย่างไร แล้วเลือกว่าจะสนับสนุนด้านใด ก็จะเป็นการเสริมกำลัง ของทุกภาคส่วนเข้ามา ทำให้ความสำเร็จดีขึ้นและยั่งยืนขึ้น ใช้วิธีการอย่างไร ในการเชิญชวนภาคเอกชนให้เข้ามา ร่วมกับปิดทองฯ ในส่วนคณะอนุกรรมการ CSR ผมใช้วิธีเชิญเป็นองค์กร และมี ผู้ทรงคุณวุฒิภาคเอกชนที่เคยมีประสบการณ์ทำ CSR บ้าง แต่โดย หลั ก แล้ ว ก็ เ ชิ ญ เป็ น องค์ ก ร เช่ น ตั ว แทนของหอการค้ า ตั ว แทน สภาอุ ต สาหกรรม ตั ว แทนสมาคมธนาคาร ตั ว แทนชมรม CSR ของตลาดหลั ก ทรั พ ย์ เพี ย ง 4 องค์ ก รนี้ ก็ มี ส มาชิ ก มหาศาลแล้ ว และทุ ก คนก็ ส นใจเรื่ อ ง CSR มาก โดยเฉพาะชมรม CSR ของ ตลาดหลั ก ทรั พ ย์ ซึ่ ง สมาชิ ก แต่ ล ะบริ ษั ท ก็ ท ำ CSR อยู่ แ ล้ ว เมื่ อ เชิญมา เขาก็ดีใจว่า มีโครงการนี้ เพราะทุกคนเป็นห่วงเรื่องความ เหลื่อมล้ำในสังคมอยู่แล้ว และอยากมีส่วนช่วยเหลือ แต่แน่นอน ภาคเอกชนก็ต้องฟังก่อนว่า เราทำอะไร เขาเชื่อหรือไม่ในสิ่งที่เราทำ ซึ่งก็ดีว่า เรายังไม่ได้ทำโครงการมากมายนัก จึงชี้ให้ดูได้ว่าที่น่าน ทำแบบนี้ ขยายไปที่อุดรธานีแล้ว และกำลังจะขยายไปอีกสิบจังหวัด ถ้าสนใจก็มาดูว่า คุณจะมีบทบาทช่วยได้อย่างไร เรียกว่า ได้เข้ามา ตั้งแต่เริ่มต้นเลย 6
  • 7. สัมภาษณ์พิเศษ การเชิ ญ ชวนภาคเอกชนเข้ า มาร่ ว ม ไม่ มี ปั ญ หาเลย แม้ ว่ า ที่หลากหลายขึ้น ที่สำคัญ คือ ช่วยสร้างความรู้สึกที่ดีขึ้นระหว่าง ส่วนหนึ่งอาจยังไม่ศรัทธาเต็มร้อย แต่อย่างน้อยเขาก็มา คราวนี้ก็ คนเมืองกับคนชนบท เป็นเรื่องของเราแล้วว่า จะขายความคิดอย่างไร ซึ่งขณะนี้ น่ายินดีว่า เขาบอกมาว่ า จะจั ด ให้ ท่ า นองคมนตรี เ กษม วั ฒ นชั ย ประธาน ตั้งความหวังว่า ในที่สุดแล้ว CSR ของปิ ดทองฯ มู ล นิ ธิ ปิ ด ทองฯ และผมไปคุ ย กั บ ซี อี โ อ 80 บริ ษั ท ก็ เ ป็ น จั ง หวะที่ จะไปได้ถึงจุดไหน เหมาะสมพอดี และทำให้ผมเชื่อมั่นว่า ไม่ใช่เรื่องของความเกรงใจ ในการประชุมคราวที่แล้ว มีข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ท่านหนึ่งพูด แต่เป็นสิ่งที่เขาอยากทำจริง ๆ ในสิ่งที่ผมประทับใจมาก ท่านบอกว่าท่านใกล้เกษียณแล้ว และเคย คิ ด ว่ า จะเกษี ย ณด้ ว ยความผิ ด หวั ง ที่ ข้ า ราชการไม่ มี วั น มาทำงาน แล้วจะให้เหตุผลกับซีอีโอของบริษัทเหล่านั้นอย่างไร ร่วมกันได้ ต่างคนก็จะต่างทำ แย่งชิงความดีความชอบกันไป พูดง่าย ๆ ว่า ทำไมเขาจึงควรสนับสนุนแนวทางพระราชดำริ ก็ คือ ทำงานร่วมกันไม่ได้ แต่แล้วท่านก็ดีใจว่า ก่อนเกษียณได้มา ตรรกะมี ว่ า สิ่ ง ที่ ปิ ด ทองหลั ง พระฯ ทำนั้ น แก้ ปั ญ หาได้ ถู ก ที่ เห็นว่า ที่ปิดทองหลังพระฯ ข้าราชการทำงานร่วมกันเพื่อประชาชน จริงไหม แก้ปัญหาโดยวิธีที่ถูกต้องไหม ช่วยคนที่ยากจน เกษตรกร ที่ ย ากจนได้ ผมก็ ข อตอบด้ ว ยวิ ธี เ ดี ย วกั น ว่ า ถ้ า นี่ คื อ ความสำเร็ จ ที่มีปัญหาจริง ๆ ไหม การเลือก 6 มิติไปทำ ถูกไหม และวัดได้ว่า อีกหน่อยก็จะมีภาคเอกชนพูดแบบเดียวกันว่า ในชีวิตผม ผมไม่เคย ทำแล้ ว ชาวบ้ า นได้ อ ะไร และอยู่ได้อย่างยั่งยืนไหม การจะทำให้ นึ ก ว่ า จะได้ เ ห็ น ราชการกั บ เอกชนทำงานร่ ว มกั น เพื่ อ เกษตรกรที่ สำเร็ จ ก็ ต้ อ งทำให้ เ กิ ด ศรั ท ธาว่ า เขามี ส่ ว นทำให้ ส ำเร็ จ ได้ นี่ คื อ ยากจนได้ ก็หวังว่าจะมีภาคเอกชนอีกมากที่จะพูดเช่นนี้ และเป็น หัวใจสำคัญ เราต้องขายความคิดให้เขาเห็นเองว่า เขาจะมีบทบาท ความหวังที่จะเห็นการพัฒนาที่ถูกต้องในระยะยาว ซึ่งจะดีกับธุรกิจ อย่างไรได้บ้าง ที่จะได้รับการยกย่องจากคนที่ได้รับความช่วยเหลือจากจิตใจที่ดี จากเขา คนมีความสุข สังคมมันคง ทุกคนก็จะอยูได้ดในสังคมทีมนคง ่ ่ ี ่ ั่ เป้าหมาย คือ ต้องการให้ภาคเอกชนเข้ามาร่วมกับ ปิดทองฯ เต็มตัว ไม่ใช่แค่บริจาคเงิน จุดเด่นของการทำงานแบบปิดทอง คือ ไม่ใช่ทำเพราะ อั น นี้ แ ล้ ว แต่ เ ขา อาจจะบริ จ าคเงิ น หรื อ ลงมื อ ทำด้ ว ยก็ ไ ด้ เป็นหน้าที่ที่ต้องทำ แต่ทุกคนทำเพราะเต็มใจ เช่น พนักงานของบริษัทหนึ่งอาจมีจิตอาสาอยากไปทำฝาย อย่างนี้ ผมเชื่อว่า ทุกคนเริ่มต้นด้วยความใฝ่ดี อยากจะให้งานที่ทำนั้น เป็นต้น หลายองค์กรมีสมาชิกอยู่ในพื้นที่ อยู่ในจังหวัดต่าง ๆ ก็อาจ ประสบความสำเร็จ เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม พร้อม ๆ กับที่ตัวเอง เอาจิ ต อาสาของคนเหล่ า นี้ ไ ปช่ ว ยทำด้ ว ย ซึ่ ง เป็ น เรื่ อ งที่ ดี ม าก ในฐานะส่วนตัว ก็ต้องได้ความดีด้วย มีความก้าวหน้า มีความพอใจ เพราะจะได้ทรัพยากรเพิ่มขึ้น ความรู้เพิ่มขึ้น เพราะภาคเอกชนนั้น ได้ความปีติด้วย นั่นเป็นการดีที่สุด ซึ่งทุกวันนี้ ปิดทองฯ ได้ทำให้เป็น มีความรู้ที่ดีที่จะต่อยอดให้ทุกอย่างมั่นคง ยั่งยืนยิ่งขึ้น มีกิจกรรม เช่นนั้นแล้ว 7
  • 8. รายงาน บ้านน้ำป้าก ชุมชน ตัวอยาง ชุมชนต้นแบบการจัดการน้ำ “น้ ำ ป้ า ก” ในภาษาเหนือ หมายถึง น้ำที่ไหลบ่ามาอย่าง และสร้างความเข้าใจกับชุมชนว่า ปัญหาของเรา เราต้องแก้เอง วันนี้ รวดเร็ว และเป็นทีมาของชือหมูบานแห่งหนึงใน ต.ตาลชุม อ.ท่าวังผา ่ ่ ่ ้ ่ เรามี ปั ญ หาเรื่ อ งภั ย ธรรมชาติ ไม่ มี น้ ำ ไม่ มี ข้ า วกิ น ไม่ มี พื้ น ที่ ท ำ จ.น่าน จากการที่ถูกน้ำป้ากลงมาสร้างความเสียหายรุนแรงให้กับ การเกษตร ซึ่งชุมชนก็เห็นด้วยว่า ปัญหาที่เกิดขึ้นกับเรา ถ้าเราไม่ หมู่บ้านนี้แทบทุกปี ลุกขึ้นสู้ ก็จะทำให้มีปัญหาซ้ำเติมมาเรื่อย ๆ เลยตัดสินใจร่วมเดินทาง ความรุนแรงของน้ำ ทำให้พื้นที่ทำกินของชาวบ้านจาก 161 ไร่ สู่ปิดทองฯ กัน แล้วระดมความคิด ระดมปัญหาของชุมชนว่าอดีต ถูกน้ำป่าพัดเอาหิน ดิน โคลน และท่อนซุงมาทับถม จนพื้นที่ทำนาได้ เป็นอย่างไร จะทำอย่างไรเพื่อแก้ปัญหาให้ได้” เหลือเพียง 37 ไร่ แต่เมื่อปิดทองฯ เข้ามาในพื้นที่และนำองค์ความรู้ การพัฒนาที่เกิดขึ้นด้วยน้ำพักน้ำแรงของชาวบ้านน้ำป้ากเอง มาต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น โดยชาวบ้านน้ำป้ากทั้งหมด 284 คน เริ่มตั้งแต่การพัฒนาแหล่งน้ำ ด้วยการพัฒนาฝายน้ำเพื่อการเกษตร เข้าร่วมเรียนรู้และลงมือด้วยตัวเอง ทุกปัญหาที่มีก็ได้รับการแก้ไข 6 แห่ง ฝายอนุรักษ์ 437 แห่ง ขุดบ่อพวงสันเขา 42 บ่อ พร้อมทั้ง อย่างยั่งยืน วางระบบท่อส่งน้ำ พัฒนาทีทำกิน ด้วยการปรับสภาพพืนทีให้เหมาะสม ่ ้ ่ ธนาวัฒน์ แปงล้วน ผู้ใหญ่บ้านบ้านน้ำป้าก ย้อนเล่าความ กั บ การเพาะปลู ก ขุ ด นาแบบขั้ น บั น ได จั ด ตั้ ง กองทุ น ปุ๋ ย กองทุ น เป็นมาว่า เมล็ ด พั น ธุ์ ข้ า ว เมล็ ด พั น ธุ์ พื ช ไร่ เมล็ ด พั น ธุ์ ผั ก ทั้ ง ผั ก กาดขาวปลี “เราเดินทางเข้าสู่เส้นทางสายปิดทองฯ เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน กะหล่ำปลี คะน้า ผักกาดหอม ถั่ว ฝักยาว และผักกวางตุ้ง กองทุน 2552 ได้เรียนรู้การแก้ไขปัญหาใน 6 มิติ คือ ดิน น้ำ การเกษตร พื ช เศรษฐกิ จ เช่ น หวาย ต๋ า ว ไผ่ ซ างนวล (เปาะ) ไผ่ ต ง ไผ่ ร วก สิ่ ง แวดล้ อ ม พลั ง งานทดแทน และป่า ตามแนวพระราชดำริ ข อง กฤษณา กล้วยน้ำว้า แหย่ง ไก๋ ก๋ง มะแขว่น ปลูกพืชหลังนา เช่น พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว แล้ ว ผมก็ ม าทำความเข้ า ใจกั บ ถั่ ว ลิ ส ง เลี้ ย งหมู เ หมยซาน ไก่ ปลา รวมทั้ ง จั ด ตั้ ง กองทุ น ยาและ ชาวบ้านว่า ปิดทองฯ มีแนวคิดให้คนอยู่กับป่าได้ คนอยู่ได้ ป่าอยู่ได้ กองทุนอาหารสัตว์ที่ใช้ผลผลิตการเกษตรในชุมชนเอง ควบคู่ไปกับ 8
  • 9. รายงาน การปลูกจิตสำนึกในการอนุรักษ์ป่าต้นน้ำ การรณรงค์ให้ลดการใช้ ตามท่อ ชาวบ้านก็ยังใช้น้ำที่เก็บไว้ในบ่อพวงได้ ในบ่อพวงยังเลี้ยง สารเคมีในการทำเกษตร และการทำบัญชีครัวเรือน ปลาไว้หมดทุกบ่อ จับกินได้แล้ว ส่วนฝายเดิม ก็มีการปรับปรุงให้ใช้ รูปธรรมความสำเร็จที่เกิดจากความร่วมมือร่วมใจของชาวบ้าน การได้ดีกว่าเดิม ถาวรขึ้น และยังขุดลำเหมืองจากลำน้ำสายเข้าไปใน คือ การช่วยกันในการสร้างฝายลุงก่ำ ภายในเวลาเพียง 60 วัน และ แปลงนาได้เลยโดยไม่ต้องใช้ท่อ โดยที่ชาวบ้านลงมือทำเอง ดูแลเอง” การวางท่อส่งน้ำไปถึงพืนทีการเกษตร ด้วยการระดมเงินของชาวบ้าน ้ ่ ผลที่ได้รับจากการมีน้ำเพียงพอทั่วถึงตลอดปี ทำให้ผลผลิตข้าว กันเอง เพิ่มขึ้นจากเดิม 30 ถัง/ไร่ เป็น 60 ถัง/ไร่ พืชหลังนา เช่น ข้าวโพด ณัฏฐณิชา มังคละ ชาวบ้านน้ำป้ากที่กลายมาเป็นอาสาสมัคร กะหล่ำ พริก มะเขือ ฯลฯ ให้ผลผลิตงอกงามอุดมสมบูรณ์ หมูทเี่ ลียงไว้ ้ ปิดทองฯ ในเวลาต่อมา เล่าเรื่องนี้ว่า “ฝายหินก่อที่ชาวบ้านทำขึ้น ตกลูกมากในแต่ละครอกและมีอัตราการตายต่ำมาก เพราะชาวบ้าน มาเอง ทั้ง 22 ตัวก็เสียหายทั้งหมด จะซ่อมฝายทั้ง 22 ตัวก็คงไม่ไหว รู้วิธีเลี้ยง วิธีทำคลอดและวิธีรักษาโรคที่ถูกต้องได้เอง ปิดทองฯ มีทีมพี่เลี้ยงที่ชำนาญเรื่องชลประทานมาช่วยดูให้ ก็ไปดู เพียงปีเดียว ความร่วมมือร่วมใจของชาวบ้านก็ทำให้ชีวิตความ ตรงจุดที่จะสร้างฝายลุงก่ำ ตรงนั้นเป็นพื้นที่สูงจากระดับน้ำทะเล เป็ น อยู่ ข องทุ ก คนดี ขึ้ น มี แ หล่ ง น้ ำ ใช้ ต ลอดปี มี แ หล่ ง อาหารอุ ด ม 315 เมตร ถ้าสร้างฝายที่จุดนั้น ก็จะครอบคลุมพื้นที่ได้มากถึง 382 ไร่สมบู ร ณ์ ไม่ เ พี ย งลดการซื้ อ จากภายนอก แต่ ยั ง มี ผ ลผลิ ต ขายให้ เราก็คิดกันว่า ถ้าสร้างฝายตัวหนึ่งขึ้นมา แล้วสามารถครอบคลุม กับพ่อค้าที่เข้ามารับซื้ออีกด้วย ทุกคนมีรายได้มากขึ้น หนี้สินลดลง พื้นที่ทั้งหมดของบ้านน้ำป้ากได้ ก็น่าจะคุ้มกว่า ชาวบ้านจึงไปร่วมกันหลายคนสามารถชำระหนี้ได้จนหมดแล้วก็มี สร้างฝาย โดยมีทีมพี่เลี้ยงให้คำแนะนำ ใช้เงินสร้างฝายไปสามแสน มนั ส โสกั น ธิ ก า ปลั ด จั ง หวั ด น่ า น เล่ า ว่ า “ครั้ ง แรกที่ บาท อีกสองล้านเก้าแสนบาท ทำระบบท่อขนาด 8 นิ้ว ความยาว ผมเข้าไปที่บ้านน้ำป้าก เดือนพฤศจิกายน 2552 มีผู้หญิงชาวน้ำป้าก คนหนึ่ ง มาร้ อ งไห้ กั บ ผม แล้ ว พาไปดู ว่ า อยากได้ ฝ ายมานานแล้ ว พาไปดูน้ำที่ลงนา เห็นก้อนหินเยอะแยะในนา หินมาจนนาพังแล้ว เขาก็ร้องไห้ ผมก็ได้แต่ให้กำลังใจเขาให้สู้ต่อไป” “เพียงไม่กี่เดือนต่อมา ผมเข้าไปในหมู่บ้านอีกครั้งพร้อมกับถือ ผลไม้และอาหารเข้าไปด้วยเหมือนเช่นเคย แต่ครั้งนี้ ชาวบ้านมา พูดว่า ต่อไปนี้นายไม่ต้องถือมาแล้ว มีกินแล้ว ต่อไปจะเลี้ยงนาย ได้แล้ว ผมฟังแล้วก็ดีใจ วันนี้น้ำตาของเขาก็ยังไหลอยู่ แต่เขาบอกว่า น้ำตาวันนี้ ไหลด้วยความปีติ ผมก็ตื้นตันไปด้วย” ผู้ใหญ่บ้านบ้านน้ำป้ากสรุปชีวิตความเป็นอยู่ของชาวน้ำป้าก ในวั น นี้ ว่ า “พวกเราไม่ มี ก ารสร้ า งหนี้ ใ หม่ แ ล้ ว มี แ ต่ หนี้เ ดิมที่ ต้อง กู้มาลงทุนทำเกษตร ก่อนนี้ไม่มีองค์ความรู้ ต้องพึ่งพาธรรมชาติอย่าง เดี ย ว ก็ เ ป็ น หนี้ เ ป็ น สิ น มา ผมก็ มี ห นี้ อ ยู่ แ สนกว่ า บาท พอเข้ า ร่ ว ม ปิดทองฯ หนี้ก็ลด เพราะเมื่อมีความรู้ มีแนวความคิด ทุกวันนี้ ไก่ก็ ไม่ต้องซื้อ ปลาก็มี ผักก็ปลูกกินเองได้ ช่วยลดรายจ่ายไปได้มาก แต่ ก่ อ นไม่ มี น้ ำ ค่ า สู บ น้ ำ วั น หนึ่ ง 300 กว่ า บาท ปิ ด ทองฯ มาแก้ ปั ญ หาน้ ำ ให้ แ ล้ ว เราก็ ท ำเอง ต่ อ ท่ อ น้ ำ กั น เอง ก็ ส ามารถทำการ เกษตรได้” “หลังจากปิดทองฯ เข้ามา ชีวิตก็เปลี่ยนไปหมด แนวคิดชาวบ้าน ก็เปลี่ยนไป รู้จักใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์คุ้มค่า ทุกวันนี้ เราประชุมกันทุกเดือนว่า จะใช้ทรัพยากรอย่างไร ถึงจะเกิดประโยชน์ สูงสุด เช่น การมีฝาย ต้องดูแลป่าด้วย ถ้าไม่มีป่า มีแต่ฝาย ไม่มีน้ำ 3,500 เมตร จากฝายลุงก่ำลงมา ระหว่างทางก็แยกลงแต่ละแปลงนา ก็ทำการเกษตรไม่ได้ ชาวบ้านก็มีความรู้สึกเป็นเจ้าของและลุกขึ้น หรือบ่อพวง แล้วชาวบ้านก็ช่วยกันต่อท่อเข้าแปลงของตัวเอง มาปกป้องรักษาสิ่งที่เป็นของเขา” ในแต่ละวัน จะสามารถเปิดน้ำจากฝายลุงก่ำให้ใช้ได้พร้อมกัน ทุกชีวิตในบ้านน้ำป้าก จึงมีแต่รอยยิ้มที่เกิดจากหัวใจที่ 3-4 แปลง แล้วจัดให้หมุนเวียนกันใช้ ถ้ายังไม่ถึงเวรที่จะได้รับน้ำมา เป็นสุข ด้วยผลจากการกระทำของตนเอง 9
  • 10. บทความ จุรีรัตน์ หวนถนอม บ้บานท่า่ยตะเภา่การพัฒนาที่ยั่งยืน กั การเปลี นแปลงสู บ้านท่าตะเภา ต.หนองเสม็ด อ.เมือง จ.ตราด คือ 1 ใน หรือ ลุงจุ๊ และ ป้าฉายา อาสน์สถิตย์ ผู้ใหญ่บ้านบ้านท่าตะเภา 18 หมู่บ้านที่ได้รับคัดเลือกให้เป็นพื้นที่ขยายผลปิดทองหลังพระฯ ทำให้ได้ทราบข้อมูลพื้นที่ สภาพปัญหา ความต้องการของชาวบ้าน ตามหลักเกณฑ์การพิจารณา เช่น มีเครือข่ายชุมชนเข้มแข็ง มีพื้นที่ และสิ่งที่ “ปิดทองหลังพระฯ” จะดำเนินการ การทำงานพัฒนาชัดเจน มีสภาพปัญหาในพื้นที่ เป็นพื้นที่สำคัญ ชาวบ้านที่มาร่วมประชุมพูดเป็นเสียงเดียวกันว่า ทุกคนตัดสินใจ ต่ อ ระบบนิ เ วศ ป่ า และคนโดยรอบได้ รั บ ประโยชน์ จ ากโครงการ เข้าร่วมปิดทองฯ เมื่อลุงจุ๊มาบอกว่า มีโครงการดี ๆ จะเข้ามาช่วยให้ และเป็นตัวอย่างของการแก้ปัญหาที่สามารถนำไปคลี่คลายปัญหา ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้น ได้ในพื้นที่อื่น ฯลฯ ป้าฉายา บอกว่า “เราทำนาก็ได้ข้าวเปลือก ไร่หนึ่ง 50 ถังมา การสำรวจเบื้องต้น พบว่าบ้านท่าตะเภามี 332 ครัวเรือน ราษฎร แต่ไหนแต่ไร แต่สมัยรุ่นปู่รุ่นย่าไม่ได้ใช้ปุ๋ยเคมี แต่เอากากปลาที่ 1,216 คน เป็นชาย 590 คน หญิง 626 คน อาชีพส่วนใหญ่ทำการ เหลือจากการทำน้ำปลามาใส่ในนาข้าว แต่พอเปลี่ยนมาใช้ปุ๋ยเคมี เกษตรและประมง มีผู้นำชุมชนทุ่มเทเสียสละทำงาน คนในชุมชน แรก ๆ ก็ใช้ไม่มาก แต่นานไป ๆ ก็ต้องใส่ปุ๋ยมากขึ้น ๆ จนเดี๋ยวนี้ ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรมสูง มีผู้นำด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น นาไร่หนึ่งต้องใช้ปุ๋ยถึง 50 กิโลกรัม พันธุ์ข้าวดั้งเดิมที่ต้านทานโรค หลายด้านที่สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ให้แก่ชุมชนได้ ปัญหาที่พบ ได้ดีก็หายไปหมด มีแต่พันธุ์ที่อ่อนแอ ตายง่าย พูดง่าย ๆ คือ สมัย คือ ดินทำเกษตรเป็นดินเปรี้ยวและเค็ม มีภัยธรรมชาติบ่อยครั้ง และ ก่อน ดินดี พันธุ์ข้าวดี เราก็ได้ผลผลิตในระดับที่พอกิน แต่ปัจจุบัน เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุ พอใช้ปุ๋ยเคมีมาก ๆ ใช้ยาฆ่าหญ้าหลังนามาก ๆ ดินก็เสียมาก ดิน การพบปะพูดคุยครั้งแรก ระหว่าง นายณรงค์ อภิชัย และทีม เสียมากก็ต้องใช้ปุ๋ยมากขึ้น ขณะที่ผลผลิตได้เท่าเดิม ต้นทุนนับวันก็ พี่ เ ลี้ ย งจากมู ล นิ ธิ แ ม่ ฟ้ า หลวงกั บ ชาวบ้ า นในพื้ น ที่ 18 ราย จาก เลยสูงขึ้นไปเรื่อย ที่ชาวบ้านท่าตะเภาพออยู่ได้ ก็เพราะมีอาชีพเสริม” เกษตรกรผู้ทำนาทั้งหมด 23 ราย นำโดย นายจุรีรัตน์ หวนถนอม ลุ ง จุ๊ บ อกว่ า นอกจากดิ น น้ ำ ศั ต รู พื ช พั น ธุ์ ข้ า ว และปุ๋ ย แล้ ว 10
  • 11. บทความ ปัญหาใหญ่ของชาวบ้านอยู่ที่ความเคยชิน เคยทำอย่างไรก็ทำอยู่อย่างนั้น อย่าง พันธุ์ข้าวให้ใช้ถังครึ่ง บางคนใช้ไปตั้ง 2-3 ถัง เผื่อนกมาจิกกิน แต่ถ้านกไม่มากิน ก็ ไม่เอาส่วนที่เกินออก มันก็แน่นและมีปัญหาตามมาอีกมาก ทั้งโรค ทั้งแมลง นี่คือ ปัญหาที่ทำให้การทำนาไม่เป็นไปตามหลักวิชาการ ลุงจุ๊บอกว่า เรื่องแรกที่ต้องแก้ไข คือ เรื่องความเคยชิน ที่ต้องปรับเปลี่ยน พฤติกรรมของคนให้ได้ก่อน ตั้งแต่เรื่องการใช้ปุ๋ยและสารเคมี ช่วงเวลาหว่านข้าว จากเดือนมีนาคม-เมษายน เป็นเดือนพฤษภาคม เพื่อไม่ให้มีปัญหาเรื่องน้ำ เปลี่ยน พันธุ์ข้าวที่ปลูก เป็นพันธุ์ที่ได้ราคาและมีความต้านทานโรคสูง เช่น หอมมะลิแดง ซึ่งลุงจุ๊บอกว่า ทดลองปลูกด้วยตัวเองแล้ว ไม่เป็นโรคเลย และขายได้เกวียนละ ฉายา อาสน์สถิตย์ ไพเราะ ฝันดี หมื่นกว่าบาท “นี่คือ ทางรอด ถ้ายังปลูกหอมมะลิแล้วสู้กับโรคกับแมลงไม่ไหว ก็ต้องเปลี่ยน พันธุ์ข้าว เปลี่ยนแล้วขายได้ราคาดีกว่า สู้กับโรคได้มากกว่าก็ต้องทำ เพราะถ้า ไม่เปลี่ยนแปลง ทุกอย่างก็จะเดิม ๆ แต่ถ้าเรารวมตัวพูดคุยกันก็จะดีขึ้น ถ้าจะต้อง ลงทุ น เพิ่ ม เราก็ ต้ อ งหาทางออกร่ ว มกั น ว่ า จะทำกั น อย่ า งไร ถ้ า หาทางออกได้ บริหารเงินได้ เราก็จะมีกำไร แต่ถ้ายังทำอยู่แบบนี้ ทุกอย่างก็จะอยู่ในวังวนเดิม ที่ได้ไปคุยกับคุณชาย (ม.ร.ว.ดิศนัดดา ดิศกุล เลขาธิการมูลนิธิปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ) มา เรื่องแรก คือ ต้องการให้เราได้ผลผลิตเพิ่มขึ้น และ ถ้ารวมตัวกันได้แบบนี้ ก็ตั้งกลุ่มสีข้าวกันจะได้มีกำไรมากขึ้น ถ้ากลัวมอดมากิน ข้าวเปลือก ก็จะทำเป็นทั้งยุ้งฉางเป็นทั้งโรงอบในที่เดียวกัน ถ้าชุมชนรวมตัวกัน ก็ทำได้แน่นอน” ป้าไพเราะ ฝันดี ชาวบ้านท่าตะเภา บอกว่า ถ้าทำตามวิธีของปิดทองฯ แล้ว ได้ผลผลิตเพิ่มขึ้น ก็อยากจะลองดู เพราะลุงจุ๊เล่าให้ฟังว่าได้ไปดูงานของปิดทองฯ มาหลายที่แล้ว สามารถทำได้จริง เห็นผลเป็นรูปธรรม แต่พวกเราต้องเอาจริงเอาจัง กับการเริ่มต้นเปลี่ยนแปลงตัวเอง ลดการใช้ปุ๋ยเคมีและใช้ปุ๋ยอินทรีย์ตามที่ลุงจุ๊ แนะนำ “ตอนนี้เรามีความหวังว่า จะทำข้าวให้ได้ร้อยถัง ภายใน 5 ปี โดยเริ่มจาก การปรับปรุงดินก่อน” วิ ธี ก ารที่ ลุ ง จุ๊ แ นะนำชาวบ้ า นในวั น นั้ น คื อ ทำการปลู ก โสนก่ อ น ในเดื อ น เมษายน-พฤษภาคม แล้วไถกลบเป็นปุ๋ย ถึงเดือนมิถุนายนก็ปลูกข้าว เกี่ยวข้าวแล้ว เดือนธันวาคม-มกราคม ปลูกถั่วลิสง ไปเก็บเกี่ยวในเดือนมีนาคม ก็จะทำให้มี รายได้ต่อเนื่อง ลดค่าใช้จ่ายเรื่องปุ๋ยเคมีลงไปได้มาก และได้ดินที่มีคุณภาพดีขึ้น บ้านท่าตะเภา ในวันทีกำลังจะเริมต้นพัฒนาด้วยองค์ความรูของปิดทองหลังพระฯ ่ ่ ้ ดินมีค่า pH อยู่ที่ 5 ทำให้ได้ผลผลิตไม่เกิน 40 ถังต่อไร่ การทดลองแก้ปัญหา จะทำ ในพื้นที่สาธิตประมาณ 5 ไร่ เริ่มด้วยการใช้ปอเทืองและถั่วพร้าไถกลบหน้าดินก่อน เป็นปุ๋ยพืชสด เพือลดการใช้ปยเคมีและบำรุงดิน หลังฤดูเก็บเกียวในเดือนพฤศจิกายนนี้ ่ ุ๋ ่ แล้วจะทำการเลือกพืชหลังนาที่เหมาะสมกับพื้นที่ต่อไป ขณะนี้ จั ง หวั ด ตราดมี ก ารตั้ ง คณะกรรมการระดั บ อำเภอ ลงพื้ น ที่ ส ำรวจ เพื่อวางแผนการดำเนินงานต่อไป และพัฒนาชุมชนและสหกรณ์ จั ง หวั ด ตราด ได้จัดเตรียมงบประมาณสนับสนุนไว้แล้ว บ้านท่าตะเภา จะเป็นพื้นที่ปิดทองฯ อีกแห่งหนึ่ง ที่เกิดจากความพร้อมและ ความร่วมมือของชาวบ้าน ในการเปลี่ยนแปลงตัวเองไปสู่จุดเริ่มต้นการพัฒนาที่ ยั่งยืนต่อไปในอนาคต 11