SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  96
Télécharger pour lire hors ligne
พนเอก ดร. ธรนนท นันทขว้ าง
พันเอก ดร ธีรนันท์ นนทขวาง
รองผู้อานวยการกองการเมือง, วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร
       ํ                            ้
สถาบันวิชาการปองกันประเทศ กองบัญชาการกองทัพไทย
              ้
สถาบนวชาการปองกนประเทศ กองบญชาการกองทพไทย
Mobile: 089‐893‐3126, Web Site: http://tortaharn.net 
teeranan@rtarf.mi.th, teeranan@nandhakwang.info
Twitter :  @tortaharn
Twitter : @tortaharn
Facebook : http://facebook.com/tortaharn
            http://facebook.com/dr.trrtanan
กรอบการนําเสนอ
•   สงครามสารสนเทศและการปฏบตการขาวสาร
    สงครามสารสนเทศและการปฏิบัตการข่ าวสาร
                                   ิ
•   ระดับของการปฏิบตการข่ าวสาร
                       ั ิ
•   อาวุธของสงครามสารสนเทศ
•   Cyberworlds และ Cyberspace
•   Social M di กบความมนคงของชาต
    S i l Media กับความมั่นคงของชาติ
•   Wikileaks กับความมั่นคงของชาติ
              กบความมนคงของชาต
•   ตัวอย่ างการดําเนินการสงครามสารสนเทศในประเทศและ
    ต่ างประเทศ
การปรับแต่ งสภาวะแวดล้ อม
Political Power                                                 Overt Peacetime 
Economic Power               Shaping the                                  PSYOP
Public Affairs                                                        Deception
Public Diplomacy
          p     y         Information Space                       Covert Action
                                                                       Deterrent 
                                                                    Capabilities
                             Information Operations
                             Information Operations

                                                              Public Diplomacy
 International Power          Shaping the                         Public Affairs
                                                                  Public Affairs
 Force Disposition           Conflict Space                   Network Security
 Psychological Operations
 Covert Action & Deception
                      p                                    Operational Security
                                    Information
                                    I f    ti
                                      Warfare
                                                                    Deception
     Force Disposition
     Force Disposition        Shaping the                 Operational Security
     Fire Power
     Electronic Warfare       Battle-Space            Psychological Operations
สงครามสารสนเทศ
วิวัฒนาการของคําศััพท์์
  ิ            ํ
•   Propaganda & Political Warfare
    Propaganda & Political Warfare
•   Psychological Warfare
•   Psychological Operations
•   Information Warfare
    Information Warfare
•   Information Operations
•   Influence Attitudes / Strategic Influence / 
      fl            d /               fl      /
    Perception Management
สงครามสารสนเทศ
การจดการความเขาใจ
    ั         ้ ใ
• ‘Actions to convey and/or deny selected information and 
    indicators to foreign audiences to influence their emotions, 
    indicators to foreign audiences to influence their emotions
    motives and objective reasoning; and to intelligence systems 
    and leaders at all levels to influence official estimates, 
    ultimately resulting in foreign behaviors and official actions 
    favorable to the originator’s objectives.  
• In various ways perception management combines truth
    In various ways perception management combines truth 
    projection, operations security, cover and deception and 
    psychological operations.’ 
‐‐ Joint Pub 1‐02
สงครามสารสนเทศ
อะไรคืือสงครามสารสนเทศและปฏิบติการขาวสาร
  ไ                      ป ิ ั ิ   ่
• Joint Pub 3‐13, Information Operations Doctrine

‐ Information Warfare:
“ Information operations conducted during time of 
   crisis or conflict to achieve or promote specific 
   objectives over a specific adversary or adversaries.”

‐ Information Operations:
  “Actions taken to affect adversary
สงครามสารสนเทศ
                                     สิ่ งที่ เกี่ ียวข้้ องกับ
                                         ิ ี                  ั
                                     การตดสนใจของผู
                                     การตัดสินใจของผ้ นํา
                                     และผู้ท่ เกี่ยวข้ อง
                                                     ี


                                       สิ่งที่เกี่ยวข้ องกับ
       สงครามสารสนเทศ                  ความเชื่อของผู้นํา
ไมมอะไรมากไปกวาสงเหลาน
ไม่ มีอะไรมากไปกว่ าสิ่งเหล่ านี ้     และผู เกยวของ
                                       และผ้ ท่ เกี่ยวข้ อง
                                                   ี
การปฏิบตการข่ าวสาร
               ฏ ั ิ
องค์์ ประกอบของปฏิบตการข่ าวสาร
                       ั ิ
•สสงครามการควบคุมบงคบบญชา (C
                      ั ั ั (Command and      d d
  Co o a a e C )
  Control Warfare: C2W)
• ปฏิบติการด้ านกิจการพลเรื อน (Civil Affairs Operations)
   ฏ ั
• ปฏิบติการด้ านการประชาสัมพันธ์ (Pubic Affairs
       ั
Operations)
การปฏิบตการข่ าวสาร
                  ฏ ั ิ
สงครามการควบคุุมบังคับบัญชา (Command and Control Warfare: C2W)
• เป็ นสงครามที่เกี่ยวข้ องกับกระบวนการควบคุมบังคับบัญชาของฝ่ ายเราและฝ่ าย
  ขาศก
  ข้ าศึก
   – การโจมตีกระบวนการควบคุมบังคับบัญชาฝ่ ายตรงข้ าม
   – การปองกันกระบวนการควบคุมบังคับบัญชาฝ่ ายเรา
         ้
• กระบวนการควบคมบังคับบัญชาถือเป็ นหัวใจสําคัญของการทําสงคราม มผลตอ
  กระบวนการควบคุมบงคบบญชาถอเปนหวใจสาคญของการทาสงคราม มีผลต่อ
  ชัยชนะหรื อความพ่ายแพ้ ของทังสองฝ่ าย ประกอบไปด้ วย
                              ้
   – ช่องทางการสืื่อสาร
       ่
   – อาคารสถานที่
   – ระบบการตัดสินใจและช่วยเหลือการตัดสินใจของผู้บงคับบัญชา
                                                  ั
การปฏิบตการข่ าวสาร
               ฏ ั ิ
ปฏิิ ิ
ป บัตการด้้ านกิจการพลเรืื อน ( Affairs Operations)
                ิ             (Civil              )

• เป็ นกิจกรรมที่มงเน้ นในเรื่ องของการพัฒนาความสัมพันธ์
                  ุ่
  อันดีีระหว่างหน่วย งานทางทหาร กับหน่วยงานภาคเอกชน
    ั        ่       ่                ั ่
  หน่วยงานอาสาสมัคร NGO ภาคประชาสังคม และ
  ประชาชนทัวไป ทังของฝ่ ายเราและฝ่ ายตรงข้ าม ในการนี ้จะ
               ่       ้                                 ้
  ครอบคลุมไปถง การปฎิบติการจิตวิทยา การบ่อนทําลาย
  ครอบคลมไปถึง การปฎบตการจตวทยา การบอนทาลาย
                               ั
  และการโฆษณาชวนเชื่อ อีกด้ วย
การปฏิบตการข่ าวสาร
                 ฏ ั ิ
ปฏิบตการด้้ านการประชาสัมพันธ์์
     ั ิ
(Pubic Affairs Operations)

• เป็ นกิจกรรมที่มงเน้ นการประชาสัมพันธ์การปฏิบตของฝ่ ายเรา โดย
                   ุ่                              ัิ
  ใชทรพยากรทงมวลทม เช่น โทรทศน วทยุ และสงพมพ เพอใหเกด
  ใช้ ทรัพยากรทังมวลที่มี เชน โทรทัศน์ วิทย และสิงพิมพ์ เพื่อให้ เกิด
                 ้                               ่
  ภาพลักษณ์อนดีงามกับฝ่ ายเรา
               ั
การปฏิบตการข่ าวสาร
                ฏ ั ิ
• ตอมา 28 พ.ย. 2546 กองทพสหรฐ ฯ ไ ้ คูมือราชการสนาม 3
      ่                        ั ส ั ไดออก ่           ส 3-
  13 (Field Manual (FM) 3-13: Information Operations: Doctrine,
  Tactics, Techniques, and Procedures, 28th November 2003)    )
  ซึงได้ กล่าวถึงเนื ้อหาของการปฏิบตการสารสนเทศ โดยแบ่งออกเป็ น
    ่                              ัิ
  3 กลุม คืือ
         ่
   (1)    แนวคิดหลัก
   (2)    แนวคิดสนับสนุน
   (3)    แนวคดทเกยวของ
          แนวคิดที่เกี่ยวข้ อง
   โดยแนวคิดหลักจะประกอบไปด้ วย
การปฏิบตการข่ าวสาร
                     ฏ ั ิ
แนวคดหลก
แนวคิดหลัก
• การปฏิบตการจิตวิทยา (Psychological Operations): เป็ นการปฏิบตในเรื่ องของ
             ั ิ                                                            ัิ
  การเลืือกสรรสารสนเทศต่าง ๆ ทีี่จะนํําไปใ ้ กบกลุมเปาหมายให้้ มีความเชื่ือ ความรู้ สก
                             ่            ไปใช้ ั ่ ป       ้       ใ                   ึ
  อารมณ์ ทัศนะคติ ให้ คล้ อยตามที่เราต้ องการ
• การ ลวงทางทหาร (Military Deception): เป็ นการดําเนิน การในรูปแบบต่าง ๆ ที่ให้
  ฝ่ ายตรงข้ ามรับสารสนเทศที่เราสร้ างขึ ้นหรื อที่มีอยูแล้ ว ทังในรูปแบบอิเลคทรอนิคส์ สื่อ
                                                       ่        ้
  สิงพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ ฯลฯ โดยมีวตถุประสงค์ให้ ฝ่ายตรงข้ ามเชื่อตามสารสนเทศที่รับ
     ่                               ั
  ไป
• การปฏิบตการของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network
              ั ิ
  Operations): เป็ นการดําเนินการเพื่อให้ ระบบคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ งานในทุกระดับ
  สามารถรองรับการปฏิบติภารกิจได้ ตอเนื่องและตลอดเวลา โดยมีลกษณะการปฏิบติ 3
                           ั           ่                                ั             ั
  ประการ
การปฏิบตการข่ าวสาร
               ฏ ั ิ
แนวคิดหลััก ( ่ อ)
     ิ      (ต่
• สงครามอิเลคทรอนิิคส์์ (Electronic Warfare): เป็ น
             ิ                                     ป็
  ดําเนินการที่มงกระทําต่ออุปกรณ์สื่อสารอิเลคทรอนิคส์
                 ุ่          ุ
  ระบบคอมพิวเตอร์ และ ระบบเครื อข่าย โดยใช้ คลืน ่
  แมเหลกไฟฟา เพอใหฝายตรงขามไมสามารถใชอุปกรณ
  แม่เหล็กไฟฟา เพื่อให้ ฝ่ายตรงข้ ามไม่สามารถใช่อปกรณ์
               ้
  อิเลคทรอนิคส์ตาง ๆ ได้ และรวมถึงการดําเนินการต่าง ๆ
                    ่
  เพอปองกนอุปกรณอเลคทรอนคสของฝายเรา
  เพื่อปองกันอปกรณ์อิเลคทรอนิคส์ของฝ่ ายเรา
        ้
การปฏิบตการข่ าวสาร
                  ฏ ั ิ
การปฏิบัตการของระบบเครื อข่ ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network
     ฏ ิ
Operations): โดยมีลกษณะการปฏิบติ 3 ประการดังนี ้
                      ั                ั
   – การโจมตีระบบเครื อข่ ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network Attack):
     เป็ นการดําเนินการทังปวงที่สงผลให้ ฝ่ ายตรงข้ ามไม่สามารถใช้ งาน
                              ้      ่
     ระบบคอมพิวเตอร์ หรื อระบบเครื อข่าย เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
     สนับสนุนการสังการ สืื่อสารระหว่างหน่่วย ฯลฯ
           ั            ่ั                 ่
   – การปองกันระบบเครื อข่ ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network
             ้
     Defense): เป็ นการดําเนินการทีี่เกีี่ยวข้ องกับการ ปองกันการกระทําของ
                                                         ้
     ฝ่ ายตรงข้ ามเข้ ามาทําการขัดขวางการใช้ งานทําลาย ระบบคอมพิวเตอร์
     หรอระบบเครอขายของฝายเรา
         ื         ื ่          ฝ่
   – การแสวงประโยชน์ จากระบบเครือข่ าย (Computer Network
     Exploitation): เป็ นการดํําเนิินที่ีอาศัยป โ ์จากระบบ คอมพิิวเตอร์์
                           ป็                ั ประโยชน์
     หรื อระบบเครื อข่ายที่มีอยู่ เช่นใช้ ในการรวบรวมข่าวสารทางเปิ ด เป็ นต้ น
การปฏิบตการข่ าวสาร
                ฏ ั ิ
แนวคดสนบสนุน
แนวคิดสนับสนน
          - การทําลายทางกายภาพ (Physical Destruction): เป็ นการ ทําลาย
 ต่อที่ีหมายสํําคัญเพืื่อไ ให้้ ฝ่ายตรงข้้ ามสามารถใช้้ ผลิต รวบรวม และกระจาย
   ่              ั      ไม่่                       ใ ิ
 สารสนเทศได้ เช่น ศูนย์บญชาการ โรงงานไฟฟา ทําลายระบบควบคุมบังคับ
                              ั                   ้
 บญชา
 บัญชา

          - การประกัันสารสนเทศ (
               ป                   (Information Assurance): เป็ น ดาเนิินการ
                                                         ) ป็ ํ
 ที่จะให้ สารสนเทศที่หมุนเวียนในระบบนันยังคงความสารสนเทศที่มีคณ ค่าได้
                                        ้                          ุ
 สามารถเขาถงไดโดยผู มีอํานาจหน้ าที่เท่านัน นอกจากนี ้การให้ สารสนเทศมี
 สามารถเข้ าถึงได้ โดยผ้ ที่มอานาจหนาทเทานน นอกจากนการใหสารสนเทศม
                                            ้
 บูรณภาพ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงระหว่างทาง
การปฏิบตการข่ าวสาร
                ฏ ั ิ
แนวคดสนบสนุน ( ่ )
    ิ ส ั ส (ตอ)
       - การรั กษาความปลอดภัยทางกายภาพ (Physical Security): เป็ น
 การดําเนินการที่เกี่ยวข้ องกับการจัดการรักษาความ ปลอดภัยต่อเอกสาร
 บุคคล อาคาร/สถานที่ ไม่ให้ ผ้ ท่ีไม่มีหน้ าที่เข้ าถึงสถานที่เก็บหรื ออุปกรณ์
                                ู
 อเลคทรอนคส
  ิ        ิ ส์

       - ต่ อต้้ านข้้ าวกรอง (Counterintelligence): เป็ น การรวบรวม
 สารสนเทศที่มีอยู่ ไปดําเนินการเพื่อปองกันการ ก่อวินาศกรรม การบ่อนทําลาย
                                     ้
 ฯลฯ
การปฏิบตการข่ าวสาร
                  ฏ ั ิ
แนวคิดสนัับสนุน (ต่่ อ)
     ิ
            - ต่ อต้ านการลวง (Counterdeception): เป็ นการสร้ าง สารสนเทศที่มี
                                  (            p )
  ความเท็จ หรื อ ไม่จริ ง เพื่อให้ ฝ่ายตรงข้ ามมีความเชื่อในสารสนเทศที่ได้ รับมาก
  ยิ่งขึ ้น ซึงทําให้ ฝ่ายตรงข้ ามวางแผนในการลวงผิด
              ่

          - ต่ อต้ านการโฆษณาชวนเชื่อ (Counterpropaganda): เป็ นการ
                                         (        p pg )
  รวบรวม ผลิต และกระจายสารสนเทศ ไปยังกลุมเปาหมายในการโฆษณาชวน
                                              ่ ้
  เชื่อของฝ่ ายตรงข้ ามเพื่อลดการคล้ อยตามการ โฆษณาชวนเชื่อที่ฝ่ายตรงข้ าม
การปฏิบตการข่ าวสาร
                ฏ ั ิ
แนวคิดที่ เกีียวข้้ อง
     ิ ี
        - การประชาสัมพันธ์ (Public Affair): เป็ นการกระจายสารสนเทศให้
                               (             )
  ประชาชนทราบว่า ฝ่ ายเราได้ ทําอะไรไป เพื่อลดการเบี่ยงเบียนหรื อลังเลของ
  ประชาชนของฝ่ ายเรา ซึงอาจจะไปสนับสนุนฝ่ ายตรงข้ ามได้
                       ่

        - การปฏิบัตการร่ วมกันระหว่ างทหารพลเรื อน (Civil Military
                    ฏ ิ                                   (           y
  Operations): เป็ นการดําเนินการสร้ างให้ เกิดการร่วมแรง ร่วมใจระหว่าทหาร
  กับประชาชน นอกจากนี ้ยังเป็ นการสร้ างความเชื่อมัน สมานฉันท์ ถ้ อยทีถ้อย
                                                     ่
  อาศัย ทํําให้้ มีเอกภาพในสังคม และสนับสนุนการดํําเนิินการ
      ั ใ                ใ ั            ั
ระดับของปฏิบตการข่ าวสาร
         ฏ ั ิ
23
24
อาวุุธของการปฏิบตการข่ าวสาร
                     ฏ ั ิ
• ระดับกายภาพ                • ระดับสารสนเทศ
                                   ั
     อาวุธทําลายล้ างทัวไป
         ุ             ่          การบ่อนทําลาย
     Hacker                       การประชาสัมพันธ์
     Malware                      การปฏบตการจตวทยา
                                  การปฏิบติการจิตวิทยา
                                         ั
     DDoS                         การโฆษณาชวนเชื่อ
     ฯลฯ                          การลวง
                                  การปฏิบติการพลเรื อน
                                      ฏ ั
                             • ระดับความเข้ าใจ
                                   การรณรงค์์ผานสืื่อกระแสหลัก
                                                ่            ั
                                   การรณรงค์ผานสื่อใหม่
                                              ่
การดําเนินการในปฏิบัตการข่ าวสาร
                ฏ ิ
Cyberspace
• Cyberspace หรืื อ ปริ ภมิไซเบอร์ เป็ นภาวะนามธรรมเชิง
                         ู
  อุปลกษณ ใช้ ในด้ านปรัชญา หรื อ คอมพิวเตอร์ เป็ น
  อปลักษณ์ ใชในดานปรชญา หรอ คอมพวเตอร เปน
  ความจริ งเสมือนซึงแทนโลกในทฤษฎีทางปรัชญาของ
                   ่            ฤ ฎ           ญ
  คารล์ ปอปเปอร์ (Karl Popper) ซึงรวมทังสิงต่างๆ ใน
                                   ่      ้ ่
  คอมพิวเตอร์ จนถึงระบบเครื อข่าย

  ทีี่มา - http://th.wikipedia.org/wiki/ปริิ ภมิไซเบอร์์
                                        ป ู
Cyberspace
• Cyberspace ในมิตนามธรรม : ความหมายมีหลากหลายรปแบบ
                 ในมตนามธรรม ความหมายมหลากหลายรูปแบบ
                        ิ
  เช่น หมายถึงปริ ภมิของวัตถุและเอกลักษณ์หรื อความเป็ นตัวตนของ
                      ู
  มันในโลกอินเทอร์ เน็ต หรื อพื ้้นที่ ช่องว่างในโลกของเกม รวมถึง
  สภาวะแวดลอมสามมตทผู ช้ เหมือนจมเข้ าไปข้ างใน ประกอบด้ วยสิง
  สภาวะแวดล้ อมสามมิติที่ผ้ใชเหมอนจมเขาไปขางใน ประกอบดวยสง              ่
  สังเคราะห์ตางๆ หรื อบางครังก็หมายถึงแหล่งที่อยูที่สร้ างขึ ้น แต่งเติม
               ่                    ้                 ่
  ขึนเอง ไ มีอยูจริิ ง เป็ นต้้ น โดยอาจมีีชองว่างของตํําว่าการมีีตวตน
    ึ ้ ไม่่ ่ ป็                 โ          ่ ่           ่       ั
  ของผู้ใช้ งาน โดยในการพัฒนาตัวตนของ ไซเบอร์ สเปซ นันมี
          ู                                                   ้
  ความสามารถในการยืนยันตัวตน สามารถตรวจสอบและนําพาไปยัง
  ผู้ ใชจรงในโลกจรง ทมใช่ ไ
        ้ ิ ใ โ ิ ี่ ใ ไซเบอรสเปซ
                            ิ          ์ส ป
   ที่มา - http://th.wikipedia.org/wiki/ปริ ภมิไซเบอร์
                                             ู
Cyberspace
• Cyberspace ใ ตรูปธรรม : ใ
                 ในมิ ิ             ในทางสังคมมีีการนํําไไซเบอร์์ สเปซ มา
  ใช้ ในชีวิตประจําวันเรี ยกว่ากลุมคน หรื อสมาคมหนึงที่มีการเชื่อมต่อ
                                 ุ่                    ่
  ทางระบบอินเตอร์ เน็ทผ่านทางไซเบอร์ สเปซ รูปแบบใดก็ตาม ที่
  สามารถพบเจอได้้ ในชีีวิตประจาวัน และกาลังเป็ นที่ีนิยมเช่่น
                  ไ          ป ํ ั           ํ ั ป็
  facebook Twitter หรื อ สมาคมกลุมคนที่มีความชอบ ความต้ องการ
                                       ุ่
  ในทางเดียวกัน เช่น กลุมผู้นิยมดนตรี เพลง ละคร ตัวนักแสดง หรื อ
                           ่
  สงใดสงหนงทมการเผยแพรในทางสาธารณะและมผู นนยม เปน
  สิงใดสิงหนึงที่มีการเผยแพร่ในทางสาธารณะและมีผ้คนนิยม เป็ น
    ่ ่ ่
  จํานวนหนึงก็จะมีการก่อตัวขึ ้นในโลกไซเบอร์ สเปซ
              ่
   ที่มา - http://th.wikipedia.org/wiki/ปริ ภมิไซเบอร์
                                             ู
Cyberworlds & Cyberspace
• โ ไ
  โลกไซเบอร์์ ( (Cyberworlds) คืือโ
                                 ) โลกของสารสนเทศทีี่อยู่บน Cyberspace คํําว่าโ      ่ โลก
  ไซเบอร์ หรื อ "ไซเบอร์ เวิลด์" ถูกนําเสนอครังแรกในหนังสือเรื่ อง "ไซเบอร์ เวิลด์" โดย
                                              ้
  ศาสตราจารย์ โ ชิ สึ ลอเรนส คูนิอิ โ ใ ้ โ ไซ ์ ส
  ศส              โทชยาส            ส์    โดยใหโลกไซเบอรสามารถถูกส ้ ึ ้ โ
                                                                        สรางขนโดย
  เจตนาหรื อเกิดขึ ้นเองก็ได้ และโลกของสารสนเทศเหล่านี ้สามารถเป็ นได้ ทงแบบ    ั้
  เสมอน โลกจริ ง หรื อโลกที่ผสมกันระหว่างความจริงและสารสนเทศเสมือน
  เสมือน โลกจรง หรอโลกทผสมกนระหวางความจรงและสารสนเทศเสมอน หากจะ
  กล่าวถึงแบบจําลองสารสนเทศในโลกไซเบอร์ นี ้ ซึงในทางทฤษฎีแล้ วโลกไซเบอร์ จะ
                                                    ่
  อยู ะดับเหนือกว่าระดับที่ผนวกรวมแบบจําลอง ฐานขอมูลเชงพนทและแบบจาลอง
  อย่ระดบเหนอกวาระดบทผนวกรวมแบบจาลอง ฐานข้ อมลเชิงพื ้นที่และแบบจําลอง
  ฐานข้ อมูลเชิงเวลา โลกไซเบอร์ ยงสร้ างและประยุกต์ใช้ กบ ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์
                                       ั                   ั
  การพาณชยอเลกทรอนกส การเรี ยนร้ เลกทรอนกส และวฒนธรรมประเพณหรอ
  การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การเรยนรูอิเล็กทรอนิกส์ และวัฒนธรรมประเพณีหรื อ
  สังคมเผ่าพันธุ์ทางอิเล็กทรอนิกส์

    ที่มา - http://th.wikipedia.org/wiki/ โลกไซเบอร์
Social Media
• Social ในที่นีหมายถึง สังคมออนไลน์
                   ้
• Media ในที่นี ้หมายถึง เนอหา เรื่ องราว และบทความ
           ในทนหมายถง เนื ้อหา เรองราว
• Social Media จึงหมายถึงสังคมออนไลน์ที่มีผ้ ใช้ เป็ นผูู้ สื่อสาร หรื อ
                                                   ู
  เขียนเล่า เนื ้อหา เรื่ องราว ประสบการณ์ บทความ รูปภาพ และวิดีโอ
  ทผู ช้ เขียนขึ ้นเอง ทําขึ ้นเอง หรื อพบเจอจากสื่ออื่นๆ แลวนามา
  ที่ผ้ใชเขยนขนเอง ทาขนเอง หรอพบเจอจากสออนๆ แล้ วนํามา
  แบ่งปั นให้ กบผู้อื่นที่อยูในเครื อข่ายของตน ผ่านทางเว็บไซต์ Social
               ั              ่
  Network ที่ให้ บริ การบนโลกออนไลน์ ปั จจุบน การสื่อสารแบบนี ้ จะ
                                                 ั
  ทาผานทาง
  ทําผ่านทาง Internet และโทรศัพท์มือถือเท่านัน
                            และโทรศพทมอถอเทานน       ้
ที่มา : http://www.marketingoops.com/digital/social‐media/what‐is‐social‐media/
Social Media
• เนื ้อหาของ Social Media โดยทัวไปเปรี ยบได้ หลายรปแบบ ทัง้
  เนอหาของ                 โดยทวไปเปรยบไดหลายรูปแบบ ทง
                                ่
    – กระดานความคิดเห็น (Discussion boards)
    – เว็บบล็อค (Weblogs)
    – วิกิ ( iki ) Podcasts,
      วก (wikis), P d t
    – รู ปภาพ
    – วิดีโอ
• ส่วนเทคโนโลยีีท่ีรองรัับเนืือหาเหล่านีีก็รวมถึง เว็บบล็อค (Weblogs),
    ่     โ โ                 ้       ่ ้        ึ ็ ็
  เว็บไซต์แชร์ รูปภาพ, เว็บไซต์แชร์ วิดีโอ, เว็บบอร์ ด, อีเมล์, เว็บไซต์แชร์
  เพลง, Instant Messaging, Tool ที่ให้ บริ การ Voice over IP เป็ นต้ น
Social Media
ตัวอย่ างการใช้ Social Media




The American Red Cross, The Congressional Management Foundation and other organizations
การรั บร้ ู ข้อมูลข่ าวสาร
ความไม่ สมดุุลย์ ของการรั บร้ ู ข้อมูลข่ าวสาร
การใช้ Social Media ในการขับเคลื่อนมวลชน
Wikileaks
• วิกิลีกส์ (อังกฤษ: Wikileaks) เป็ นเว็บไซต์ที่นําข้ อมลเอกสารของ
  วกลกส (องกฤษ:                  เปนเวบไซตทนาขอมูลเอกสารของ
  รัฐบาลและบริ ษัท ซึงอนุญาตให้ ผ้ ใช้ สามารถเผยแพร่ เพื่อการ
                        ่            ู
  กล่าวหาได้ โดยไม่ถกผลกระทบทางลบกลับจากองค์กรเหล่านัน
                          ู                                      ้
  เวบไซตวกลกสอางวาการสงขอความตาง นันจะไม่สามารถถก
  เว็บไซต์วิกิลีกส์อ้างว่าการส่งข้ อความต่าง ๆ นนจะไมสามารถถูก
                                                   ้
  ติดตามได้ ไม่วาจากใครก็ตาม
                  ่




                                      ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/วิกลีกส์
                                                                              ิ
Wikileaks
• ส่วนหนึงของเว็บไซต์พฒนาโดยผ้ คดค้ านรัฐบาลจีน จากข้ อมลใน
  สวนหนงของเวบไซตพฒนาโดยผู ดคานรฐบาลจน จากขอมูลใน
            ่                ั        ั
  เว็บไซต์ Wikileaks เปาหมายหลักของการเปิ ดโปงคือ กลุมประเทศ
                           ้                             ่
  อดีตสหภาพโซเวียต กลุมประเทศซับซาฮารา และประเทศใน
                               ่
  ตะวนออกกลาง แตพวกเขากคาดหวงใหเวบไซตถูกใชงานสาหรบ
  ตะวันออกกลาง แต่พวกเขาก็คาดหวังให้ เว็บไซต์ถกใช้ งานสําหรับ
  ข้ อมูลที่รั่วไหลเกี่ยวกับรัฐบาลและบริ ษัทในประเทศตะวันตก




                                  ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/วิกลีกส์
                                                                          ิ
Wikileaks
• ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2553 วิกิลีกส์ได้ เผยแพร่ภาพวิดีโอที่ถกบันทึก
  ในเดอนเมษายน พ ศ            วกลกสไดเผยแพรภาพวดโอทถูกบนทก
  เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 แสดงภาพการโจมตีทางอากาศ
  ต่อกรุงแบกแดดโดย กองทัพสหรัฐ ที่ทําให้ มีพลเรื อนชาวอิรักเสียชีวิต
  เปนจานวนมาก จากนันในเดือนกรกฎาคม ก็ได้ เผยแพร่เอกสารลับที
  เป็ นจํานวนมาก จากนนในเดอนกรกฎาคม กไดเผยแพรเอกสารลบท่
                        ้
  ไม่เคยถูกเผยแพร่จํานวนมากกว่า 76,900 ฉบับ เกี่ยวกับปฏิบตการ
                                                            ัิ
  ของสหรััฐใ ฟกานิิสถาน และในเดืือนตุลาคม ก็็ได้้ เผยแพร่่เอกสาร
               ในอัั            ใ
  ลับกว่า 400,000 ฉบับเกี่ยวกับสงครามอิรัก
                 ,

                                     ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/วิกลีกส์
                                                                             ิ
Wikileaks
• ในเดือนมิถนายน 2553 รัฐบาลไทยได้ ทําการบล็อกการเข้ าถึงเว็บไซต์
  ในเดอนมถุนายน            รฐบาลไทยไดทาการบลอกการเขาถงเวบไซต
  นี ้[3] เนื่องจากเผยแพร่เนื ้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพฯ
• เมื่อปลายเดือนพฤศจิกายน 2553 ทางเว็บไซต์ได้ เผยแพร่โทรเลข
  เอกสารลบและเอกสารปกปดทางการทูต กวา 100,000 หนาของ
  เอกสารลับและเอกสารปกปิ ดทางการทต กว่า 100 000 หน้ าของ
  กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริ กา จนทําให้ นางฮิลลารี คลินตัน
  รัฐมนตรี กระทรวงต่างประเทศสหรัฐได้ ออกแถลงการณ์ประณาม


                                  ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/วิกลีกส์
                                                                          ิ
Wikileaks
• ต่อมาในวันที่ 1 ธันวาคม 2553 ตํารวจสากลได้ ออกหมายจับจเลียน
  ตอมาในวนท ธนวาคม                   ตารวจสากลไดออกหมายจบจูเลยน
  อาสซานจ์ ผู้ก่อตังเว็บไซต์ ในข้ อหาเกี่ยวกับการล่วงละเมิดทางเพศ
                    ้
  จากนันเว็บไซต์ได้ ถกแครกเกอร์ โจมตีด้วย DDoS จนทําให้ ผ้ ให้ บริ การ
         ้            ู                                        ู
  เซรฟเวอรในสหรฐอเมรกาไดยกเลก
  เซิร์ฟเวอร์ ในสหรัฐอเมริ กาได้ ยกเลิก DNS ที่ชี ้ไปยังโดเมนเนม
                                             ทชไปยงโดเมนเนม
  WikiLeaks.org ด้ วยข้ ออ้ างว่าถูกโจมตีอย่างหนัก อย่างไรก็ตาม
  เว็บไซต์์ก็ยงสามารถเข้้ าถึงไ ้ ผานทางไอพีีแอดเดรส และโดเมน
     ็ ไ       ั             ึ ได้ ่     ไ                   โ
  สํารองที่จดทะเบียนในสวิตเซอร์ แลนด์

                                     ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/วิกลีกส์
                                                                             ิ
ภาพเปาหมายที่สาคัญในอิรัก
     ้        ํ
ภาพเปาหมายที่สาคัญในอิรัก
     ้        ํ
ภาพเปาหมายที่สาคัญในอิรัก
     ้        ํ
การ Lock เปาหมายของ Cruise Missile
           ้
DDoS (Distributed Denial of Service)
DDoS (Distributed Denial of Service)
Malware infections 2008
พธม. ยึดสถานีโทรทัศน์ NBT
แท็กซี่แดงล้ อมวิทยุุชุมชนหวั่นถกปิ ด
                                ู
ปิ ดล้ อมสํานักประชาสัมพันธ์ เขต 3 ที่ทาการ NBT
                                       ํ
การปิ ดล้ อมสถานีดาวเทียม ไทยคม 9 เม.ย.53
การ Block เวบไซต์ ในช่ วงความขัดแย้ งของ ศอฉ.

 การเข้ าถึงข้ อมูลดังกล่ าวนี ้ ถูกระงับเป็ นการชั่วคราว
                  โดยอาศัยอํานาจตาม
           พระราชกาหนดการบรหารราชการ
           พระราชกําหนดการบริหารราชการ
           ในสถานการณ์ ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘
ตามคําสั่ งของศูนย์ อานวยการแก้ ไขสถานการณ์ ฉุกเฉิน
                      ํ
สถิตการใช้ Facebook ในประเทศไทย
              ิ




Global Audience: 316,402,840 




                                 ข้ อมูลวันที่ 6 พ.ค.53
สถิตการใช้ Facebook ในประเทศไทย
              ิ




Global Audience: 630,324,560 




                                 ข้ อมูลวันที่ 7 มี.ค.53
กลุ่ม Facebook ร่ วมรณรงค์ ไม่ ยุบสภา




502,911 คน




                                 ข้ อมูลวันที่ 6 พ.ค.53
กลุ่ม Facebook ยุบสภาเอาประชาธิปไตยคืนมา




16,545 คน



                                 ข้ อมูลวันที่ 6 พ.ค.53
Facebook ของ นรม.อภิสิทธิ์ฯ ช่ วงความขัดแย้ ง




267,626 คน




                                     ข้ อมูลวันที่ 6 พ.ค.53
Facebook ของ อดีตนรม.พ.ต.ท.ทักษิณฯ ช่ วงความขัดแย้ ง




                   4,703
                 followers



                                    ข้ อมูลวันที่ 6 พ.ค.53
Twitter ของ อดีตนรม.พ.ต.ท.ทักษิณฯ ช่ วงความขัดแย้ ง


                                              89,893
                                             followers




                                    ข้ อมูลวันที่ 6 พ.ค.53
Twitter ของนรม.อภิสิทธิ์ฯ ช่ วงความขัดแย้ ง

                                       75,284
                                      followers




                               ข้ อมูลวันที่ 6 พ.ค.53
การวิเคราะห์ สถานการณ์ 10 เม.ย.53 ใน Internet
การวิเคราะห์ สถานการณ์ 10 เม.ย.53 ใน Internet
การวิเคราะห์ ความสัมพันธ์ บุคคล ใน Internet
การวิเคราะห์ เหตุการณ์ ท่ อนุสรณ์ สถานใน Internet
                          ี
การวิเคราะห์ เหตุการณ์ ท่ อนุสรณ์ สถานใน Internet
                          ี
Mind Map ล้ มสถาบัน โดย ศอฉ.
Mind Map ออกมาต่ อต้ านในวันรุุ่ งขึน
                                    ้
การเกิดกลุ่มใน Facebook เสพย์ ศพคนเสือแดง
                                     ้




      655 คน
      655 คน



                            ข้ อมูลวันที่ 7 มี.ค.53
การใช้ Twitter ในช่ วงการเลือกตัง ปธน.อิหร่ าน
                                ้
Twitter Defaced by ‘Iranian Cyber Army’
Twitter’s DNS Hacked by ‘Iranian Cyber Army’
Social Media กับ Jasmine Revolution
Social Media กับสถานการณ์ ในอียปต์
                               ิ
Social Media กับสถานการณ์ ในอียปต์
                               ิ
การใช้ Social Media ในอียปภายหลัง Block Internet
                         ิ
การใช้ Social Media ในลิเบีย
การใช้ Social Media ในลิเบีย
Wikileaks กับข้ อมูลลับที่ ออท.สรอ.รายงานกลับประเทศ
Wikileaks กับข้ อมูลลับที่ ออท.สรอ.รายงานกลับประเทศ
Wikileaks กับข้ อมูลประเทศไทย
Wikileaks กับข้ อมูลประเทศไทยล่ าสุุด
สรุุ ป

• สงครามสารสนเทศเป็ นเรืื่ องของความเชืื่อ และการ
  ตดสนใจ
  ตัดสินใจ
• ระดับการปฏิบติการข่าวสารมี 3 มิติ คือ กายภาพ
  ระดบการปฏบตการขาวสารม มต คอ
                  ั
  สารสนเทศ และ การรับรูู้
• สื่อใหม่มีอิทธิพลในปฏิบติการข่าวสาร
                      ฏ ั
• ข้ อมูล และสารสนเทศ จะมีคาเมื่อเข้ าถึงในเวลาที่
                              ่
  เหมาะสม
สรุุ ป

• สงครามสารสนเทศในไทยนันส่วนใหญ่จะเป็ นการ
                       ไ ้
  ดาเนนการในมตการรบรู
  ดําเนินการในมิติการรับร้ (Cognitive Dimension) และ
  มิติด้านสารสนเทศ (Information Dimension) มากกว่า
                    (                      )
  มิติทางกายภาพ (Physical Dimension)
• กองทัพขาดการบริ หารจัดการสารสนเทศในยามวิกฤต
• กองทัพขาดองค์ความรู้ในการจัดการต่อเนื ้อหา
  (content)
แนวทางเผชิญสงครามสารสนเทศ

• ทําความเข้ าใจและเรีี ยนรู้เทคโนโลยีีและ
  นวัตกรรม
• ใช้ องค์ความรู้อย่างสูงสุดในการปฏิบตงาน
                                        ัิ
• บริ โภคข้ อมูลข่าวสารในหลายๆ ด้ านก่อนที่
                                 ๆ
  จะตัดสินใจ
บทส่ งท้ าย

• ขออย่ าเป็ น


          “นํ้าชาเต็มถ้ วย”
           นาชาเตมถวย

                               95
Iw&io

Contenu connexe

Similaire à Iw&io

เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์สราวุฒิ จบศรี
 
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสยหน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสยsomdetpittayakom school
 
Electronic Media สำหรับงานด้านกิจการพลเรือน
 Electronic Media สำหรับงานด้านกิจการพลเรือน Electronic Media สำหรับงานด้านกิจการพลเรือน
Electronic Media สำหรับงานด้านกิจการพลเรือนStrategic Challenges
 
กิจกรรมที่3 m1
กิจกรรมที่3 m1กิจกรรมที่3 m1
กิจกรรมที่3 m1Paksorn Runlert
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารjintara022
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารYui Yui
 
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารสราวุฒิ จบศรี
 
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัลแนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัลIsriya Paireepairit
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารTuaLek Kitkoot
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร khrosamon
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารnatsuda_naey
 
ใช้ไอทีอย่างปลอดภัย พวกเราสบายใจ คนไข้ได้รับความคุ้มครอง: เรื่องเล่าจากรามาธิ...
ใช้ไอทีอย่างปลอดภัย พวกเราสบายใจ คนไข้ได้รับความคุ้มครอง: เรื่องเล่าจากรามาธิ...ใช้ไอทีอย่างปลอดภัย พวกเราสบายใจ คนไข้ได้รับความคุ้มครอง: เรื่องเล่าจากรามาธิ...
ใช้ไอทีอย่างปลอดภัย พวกเราสบายใจ คนไข้ได้รับความคุ้มครอง: เรื่องเล่าจากรามาธิ...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
บทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศPa'rig Prig
 
Data infor 1
Data infor 1Data infor 1
Data infor 1paween
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศnatdanai phetdeethon
 

Similaire à Iw&io (20)

เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการประชาสัมพันธ์
 
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสยหน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
หน่วยที่ 1 ความหมายของเทคโนโลยีสารสย
 
ระบบสารสนเทศ Up
ระบบสารสนเทศ Upระบบสารสนเทศ Up
ระบบสารสนเทศ Up
 
ผลกระทบ อนาคต-คุณธรรมIt
ผลกระทบ อนาคต-คุณธรรมItผลกระทบ อนาคต-คุณธรรมIt
ผลกระทบ อนาคต-คุณธรรมIt
 
Electronic Media สำหรับงานด้านกิจการพลเรือน
 Electronic Media สำหรับงานด้านกิจการพลเรือน Electronic Media สำหรับงานด้านกิจการพลเรือน
Electronic Media สำหรับงานด้านกิจการพลเรือน
 
กิจกรรมที่3 m1
กิจกรรมที่3 m1กิจกรรมที่3 m1
กิจกรรมที่3 m1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
ความหมาย ความเป็นมา วิวัฒนาการ บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
 
R&D in Technology for Botanical Garden
R&D in Technology for Botanical GardenR&D in Technology for Botanical Garden
R&D in Technology for Botanical Garden
 
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัลแนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
แนวคิดและสาระสำคัญของร่างกฎหมายในชุดเศรษฐกิจดิจิทัล
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
ใช้ไอทีอย่างปลอดภัย พวกเราสบายใจ คนไข้ได้รับความคุ้มครอง: เรื่องเล่าจากรามาธิ...
ใช้ไอทีอย่างปลอดภัย พวกเราสบายใจ คนไข้ได้รับความคุ้มครอง: เรื่องเล่าจากรามาธิ...ใช้ไอทีอย่างปลอดภัย พวกเราสบายใจ คนไข้ได้รับความคุ้มครอง: เรื่องเล่าจากรามาธิ...
ใช้ไอทีอย่างปลอดภัย พวกเราสบายใจ คนไข้ได้รับความคุ้มครอง: เรื่องเล่าจากรามาธิ...
 
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
 
บทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศบทที่ 1 สารสนเทศ
บทที่ 1 สารสนเทศ
 
Data infor 1
Data infor 1Data infor 1
Data infor 1
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 

Plus de Teeranan

Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12 1_
Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12  1_Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12  1_
Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12 1_Teeranan
 
Ambush southern th
Ambush southern thAmbush southern th
Ambush southern thTeeranan
 
Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012Teeranan
 
Political warfare 55
Political warfare 55Political warfare 55
Political warfare 55Teeranan
 
National power in_politics
National power in_politicsNational power in_politics
National power in_politicsTeeranan
 
Terrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airportTerrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airportTeeranan
 
New media and national security contents
New media and national security contentsNew media and national security contents
New media and national security contentsTeeranan
 
Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011Teeranan
 
Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012Teeranan
 
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012Teeranan
 
Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012Teeranan
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355Teeranan
 
Terrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in ThailandTerrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in ThailandTeeranan
 
Military PR using social network
Military PR using social networkMilitary PR using social network
Military PR using social networkTeeranan
 
Bomb in thailand
Bomb in thailandBomb in thailand
Bomb in thailandTeeranan
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and aseanTeeranan
 
Military power
Military powerMilitary power
Military powerTeeranan
 
Militay professionalism
Militay professionalismMilitay professionalism
Militay professionalismTeeranan
 
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนTeeranan
 

Plus de Teeranan (20)

Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12 1_
Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12  1_Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12  1_
Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12 1_
 
Ambush southern th
Ambush southern thAmbush southern th
Ambush southern th
 
Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012
 
Political warfare 55
Political warfare 55Political warfare 55
Political warfare 55
 
National power in_politics
National power in_politicsNational power in_politics
National power in_politics
 
Terrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airportTerrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airport
 
New media and national security contents
New media and national security contentsNew media and national security contents
New media and national security contents
 
Atfl
AtflAtfl
Atfl
 
Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011
 
Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012
 
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
 
Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355
 
Terrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in ThailandTerrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in Thailand
 
Military PR using social network
Military PR using social networkMilitary PR using social network
Military PR using social network
 
Bomb in thailand
Bomb in thailandBomb in thailand
Bomb in thailand
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and asean
 
Military power
Military powerMilitary power
Military power
 
Militay professionalism
Militay professionalismMilitay professionalism
Militay professionalism
 
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
 

Iw&io

  • 1. พนเอก ดร. ธรนนท นันทขว้ าง พันเอก ดร ธีรนันท์ นนทขวาง รองผู้อานวยการกองการเมือง, วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร ํ ้ สถาบันวิชาการปองกันประเทศ กองบัญชาการกองทัพไทย ้ สถาบนวชาการปองกนประเทศ กองบญชาการกองทพไทย Mobile: 089‐893‐3126, Web Site: http://tortaharn.net  teeranan@rtarf.mi.th, teeranan@nandhakwang.info Twitter :  @tortaharn Twitter : @tortaharn Facebook : http://facebook.com/tortaharn http://facebook.com/dr.trrtanan
  • 2. กรอบการนําเสนอ • สงครามสารสนเทศและการปฏบตการขาวสาร สงครามสารสนเทศและการปฏิบัตการข่ าวสาร ิ • ระดับของการปฏิบตการข่ าวสาร ั ิ • อาวุธของสงครามสารสนเทศ • Cyberworlds และ Cyberspace • Social M di กบความมนคงของชาต S i l Media กับความมั่นคงของชาติ • Wikileaks กับความมั่นคงของชาติ กบความมนคงของชาต • ตัวอย่ างการดําเนินการสงครามสารสนเทศในประเทศและ ต่ างประเทศ
  • 3.
  • 4. การปรับแต่ งสภาวะแวดล้ อม Political Power Overt Peacetime  Economic Power Shaping the PSYOP Public Affairs Deception Public Diplomacy p y Information Space Covert Action Deterrent  Capabilities Information Operations Information Operations Public Diplomacy International Power Shaping the Public Affairs Public Affairs Force Disposition Conflict Space Network Security Psychological Operations Covert Action & Deception p Operational Security Information I f ti Warfare Deception Force Disposition Force Disposition Shaping the Operational Security Fire Power Electronic Warfare Battle-Space Psychological Operations
  • 5. สงครามสารสนเทศ วิวัฒนาการของคําศััพท์์ ิ ํ • Propaganda & Political Warfare Propaganda & Political Warfare • Psychological Warfare • Psychological Operations • Information Warfare Information Warfare • Information Operations • Influence Attitudes / Strategic Influence /  fl d / fl / Perception Management
  • 6. สงครามสารสนเทศ การจดการความเขาใจ ั ้ ใ • ‘Actions to convey and/or deny selected information and  indicators to foreign audiences to influence their emotions,  indicators to foreign audiences to influence their emotions motives and objective reasoning; and to intelligence systems  and leaders at all levels to influence official estimates,  ultimately resulting in foreign behaviors and official actions  favorable to the originator’s objectives.   • In various ways perception management combines truth In various ways perception management combines truth  projection, operations security, cover and deception and  psychological operations.’  ‐‐ Joint Pub 1‐02
  • 7. สงครามสารสนเทศ อะไรคืือสงครามสารสนเทศและปฏิบติการขาวสาร ไ ป ิ ั ิ ่ • Joint Pub 3‐13, Information Operations Doctrine ‐ Information Warfare: “ Information operations conducted during time of  crisis or conflict to achieve or promote specific  objectives over a specific adversary or adversaries.” ‐ Information Operations: “Actions taken to affect adversary
  • 8. สงครามสารสนเทศ สิ่ งที่ เกี่ ียวข้้ องกับ ิ ี ั การตดสนใจของผู การตัดสินใจของผ้ นํา และผู้ท่ เกี่ยวข้ อง ี สิ่งที่เกี่ยวข้ องกับ สงครามสารสนเทศ ความเชื่อของผู้นํา ไมมอะไรมากไปกวาสงเหลาน ไม่ มีอะไรมากไปกว่ าสิ่งเหล่ านี ้ และผู เกยวของ และผ้ ท่ เกี่ยวข้ อง ี
  • 9. การปฏิบตการข่ าวสาร ฏ ั ิ องค์์ ประกอบของปฏิบตการข่ าวสาร ั ิ •สสงครามการควบคุมบงคบบญชา (C ั ั ั (Command and d d Co o a a e C ) Control Warfare: C2W) • ปฏิบติการด้ านกิจการพลเรื อน (Civil Affairs Operations) ฏ ั • ปฏิบติการด้ านการประชาสัมพันธ์ (Pubic Affairs ั Operations)
  • 10. การปฏิบตการข่ าวสาร ฏ ั ิ สงครามการควบคุุมบังคับบัญชา (Command and Control Warfare: C2W) • เป็ นสงครามที่เกี่ยวข้ องกับกระบวนการควบคุมบังคับบัญชาของฝ่ ายเราและฝ่ าย ขาศก ข้ าศึก – การโจมตีกระบวนการควบคุมบังคับบัญชาฝ่ ายตรงข้ าม – การปองกันกระบวนการควบคุมบังคับบัญชาฝ่ ายเรา ้ • กระบวนการควบคมบังคับบัญชาถือเป็ นหัวใจสําคัญของการทําสงคราม มผลตอ กระบวนการควบคุมบงคบบญชาถอเปนหวใจสาคญของการทาสงคราม มีผลต่อ ชัยชนะหรื อความพ่ายแพ้ ของทังสองฝ่ าย ประกอบไปด้ วย ้ – ช่องทางการสืื่อสาร ่ – อาคารสถานที่ – ระบบการตัดสินใจและช่วยเหลือการตัดสินใจของผู้บงคับบัญชา ั
  • 11. การปฏิบตการข่ าวสาร ฏ ั ิ ปฏิิ ิ ป บัตการด้้ านกิจการพลเรืื อน ( Affairs Operations) ิ (Civil ) • เป็ นกิจกรรมที่มงเน้ นในเรื่ องของการพัฒนาความสัมพันธ์ ุ่ อันดีีระหว่างหน่วย งานทางทหาร กับหน่วยงานภาคเอกชน ั ่ ่ ั ่ หน่วยงานอาสาสมัคร NGO ภาคประชาสังคม และ ประชาชนทัวไป ทังของฝ่ ายเราและฝ่ ายตรงข้ าม ในการนี ้จะ ่ ้ ้ ครอบคลุมไปถง การปฎิบติการจิตวิทยา การบ่อนทําลาย ครอบคลมไปถึง การปฎบตการจตวทยา การบอนทาลาย ั และการโฆษณาชวนเชื่อ อีกด้ วย
  • 12. การปฏิบตการข่ าวสาร ฏ ั ิ ปฏิบตการด้้ านการประชาสัมพันธ์์ ั ิ (Pubic Affairs Operations) • เป็ นกิจกรรมที่มงเน้ นการประชาสัมพันธ์การปฏิบตของฝ่ ายเรา โดย ุ่ ัิ ใชทรพยากรทงมวลทม เช่น โทรทศน วทยุ และสงพมพ เพอใหเกด ใช้ ทรัพยากรทังมวลที่มี เชน โทรทัศน์ วิทย และสิงพิมพ์ เพื่อให้ เกิด ้ ่ ภาพลักษณ์อนดีงามกับฝ่ ายเรา ั
  • 13. การปฏิบตการข่ าวสาร ฏ ั ิ • ตอมา 28 พ.ย. 2546 กองทพสหรฐ ฯ ไ ้ คูมือราชการสนาม 3 ่ ั ส ั ไดออก ่ ส 3- 13 (Field Manual (FM) 3-13: Information Operations: Doctrine, Tactics, Techniques, and Procedures, 28th November 2003) ) ซึงได้ กล่าวถึงเนื ้อหาของการปฏิบตการสารสนเทศ โดยแบ่งออกเป็ น ่ ัิ 3 กลุม คืือ ่ (1) แนวคิดหลัก (2) แนวคิดสนับสนุน (3) แนวคดทเกยวของ แนวคิดที่เกี่ยวข้ อง โดยแนวคิดหลักจะประกอบไปด้ วย
  • 14. การปฏิบตการข่ าวสาร ฏ ั ิ แนวคดหลก แนวคิดหลัก • การปฏิบตการจิตวิทยา (Psychological Operations): เป็ นการปฏิบตในเรื่ องของ ั ิ ัิ การเลืือกสรรสารสนเทศต่าง ๆ ทีี่จะนํําไปใ ้ กบกลุมเปาหมายให้้ มีความเชื่ือ ความรู้ สก ่ ไปใช้ ั ่ ป ้ ใ ึ อารมณ์ ทัศนะคติ ให้ คล้ อยตามที่เราต้ องการ • การ ลวงทางทหาร (Military Deception): เป็ นการดําเนิน การในรูปแบบต่าง ๆ ที่ให้ ฝ่ ายตรงข้ ามรับสารสนเทศที่เราสร้ างขึ ้นหรื อที่มีอยูแล้ ว ทังในรูปแบบอิเลคทรอนิคส์ สื่อ ่ ้ สิงพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ ฯลฯ โดยมีวตถุประสงค์ให้ ฝ่ายตรงข้ ามเชื่อตามสารสนเทศที่รับ ่ ั ไป • การปฏิบตการของระบบเครือข่ ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network ั ิ Operations): เป็ นการดําเนินการเพื่อให้ ระบบคอมพิวเตอร์ ที่ใช้ งานในทุกระดับ สามารถรองรับการปฏิบติภารกิจได้ ตอเนื่องและตลอดเวลา โดยมีลกษณะการปฏิบติ 3 ั ่ ั ั ประการ
  • 15. การปฏิบตการข่ าวสาร ฏ ั ิ แนวคิดหลััก ( ่ อ) ิ (ต่ • สงครามอิเลคทรอนิิคส์์ (Electronic Warfare): เป็ น ิ ป็ ดําเนินการที่มงกระทําต่ออุปกรณ์สื่อสารอิเลคทรอนิคส์ ุ่ ุ ระบบคอมพิวเตอร์ และ ระบบเครื อข่าย โดยใช้ คลืน ่ แมเหลกไฟฟา เพอใหฝายตรงขามไมสามารถใชอุปกรณ แม่เหล็กไฟฟา เพื่อให้ ฝ่ายตรงข้ ามไม่สามารถใช่อปกรณ์ ้ อิเลคทรอนิคส์ตาง ๆ ได้ และรวมถึงการดําเนินการต่าง ๆ ่ เพอปองกนอุปกรณอเลคทรอนคสของฝายเรา เพื่อปองกันอปกรณ์อิเลคทรอนิคส์ของฝ่ ายเรา ้
  • 16. การปฏิบตการข่ าวสาร ฏ ั ิ การปฏิบัตการของระบบเครื อข่ ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network ฏ ิ Operations): โดยมีลกษณะการปฏิบติ 3 ประการดังนี ้ ั ั – การโจมตีระบบเครื อข่ ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network Attack): เป็ นการดําเนินการทังปวงที่สงผลให้ ฝ่ ายตรงข้ ามไม่สามารถใช้ งาน ้ ่ ระบบคอมพิวเตอร์ หรื อระบบเครื อข่าย เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ สนับสนุนการสังการ สืื่อสารระหว่างหน่่วย ฯลฯ ั ่ั ่ – การปองกันระบบเครื อข่ ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network ้ Defense): เป็ นการดําเนินการทีี่เกีี่ยวข้ องกับการ ปองกันการกระทําของ ้ ฝ่ ายตรงข้ ามเข้ ามาทําการขัดขวางการใช้ งานทําลาย ระบบคอมพิวเตอร์ หรอระบบเครอขายของฝายเรา ื ื ่ ฝ่ – การแสวงประโยชน์ จากระบบเครือข่ าย (Computer Network Exploitation): เป็ นการดํําเนิินที่ีอาศัยป โ ์จากระบบ คอมพิิวเตอร์์ ป็ ั ประโยชน์ หรื อระบบเครื อข่ายที่มีอยู่ เช่นใช้ ในการรวบรวมข่าวสารทางเปิ ด เป็ นต้ น
  • 17. การปฏิบตการข่ าวสาร ฏ ั ิ แนวคดสนบสนุน แนวคิดสนับสนน - การทําลายทางกายภาพ (Physical Destruction): เป็ นการ ทําลาย ต่อที่ีหมายสํําคัญเพืื่อไ ให้้ ฝ่ายตรงข้้ ามสามารถใช้้ ผลิต รวบรวม และกระจาย ่ ั ไม่่ ใ ิ สารสนเทศได้ เช่น ศูนย์บญชาการ โรงงานไฟฟา ทําลายระบบควบคุมบังคับ ั ้ บญชา บัญชา - การประกัันสารสนเทศ ( ป (Information Assurance): เป็ น ดาเนิินการ ) ป็ ํ ที่จะให้ สารสนเทศที่หมุนเวียนในระบบนันยังคงความสารสนเทศที่มีคณ ค่าได้ ้ ุ สามารถเขาถงไดโดยผู มีอํานาจหน้ าที่เท่านัน นอกจากนี ้การให้ สารสนเทศมี สามารถเข้ าถึงได้ โดยผ้ ที่มอานาจหนาทเทานน นอกจากนการใหสารสนเทศม ้ บูรณภาพ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงระหว่างทาง
  • 18. การปฏิบตการข่ าวสาร ฏ ั ิ แนวคดสนบสนุน ( ่ ) ิ ส ั ส (ตอ) - การรั กษาความปลอดภัยทางกายภาพ (Physical Security): เป็ น การดําเนินการที่เกี่ยวข้ องกับการจัดการรักษาความ ปลอดภัยต่อเอกสาร บุคคล อาคาร/สถานที่ ไม่ให้ ผ้ ท่ีไม่มีหน้ าที่เข้ าถึงสถานที่เก็บหรื ออุปกรณ์ ู อเลคทรอนคส ิ ิ ส์ - ต่ อต้้ านข้้ าวกรอง (Counterintelligence): เป็ น การรวบรวม สารสนเทศที่มีอยู่ ไปดําเนินการเพื่อปองกันการ ก่อวินาศกรรม การบ่อนทําลาย ้ ฯลฯ
  • 19. การปฏิบตการข่ าวสาร ฏ ั ิ แนวคิดสนัับสนุน (ต่่ อ) ิ - ต่ อต้ านการลวง (Counterdeception): เป็ นการสร้ าง สารสนเทศที่มี ( p ) ความเท็จ หรื อ ไม่จริ ง เพื่อให้ ฝ่ายตรงข้ ามมีความเชื่อในสารสนเทศที่ได้ รับมาก ยิ่งขึ ้น ซึงทําให้ ฝ่ายตรงข้ ามวางแผนในการลวงผิด ่ - ต่ อต้ านการโฆษณาชวนเชื่อ (Counterpropaganda): เป็ นการ ( p pg ) รวบรวม ผลิต และกระจายสารสนเทศ ไปยังกลุมเปาหมายในการโฆษณาชวน ่ ้ เชื่อของฝ่ ายตรงข้ ามเพื่อลดการคล้ อยตามการ โฆษณาชวนเชื่อที่ฝ่ายตรงข้ าม
  • 20. การปฏิบตการข่ าวสาร ฏ ั ิ แนวคิดที่ เกีียวข้้ อง ิ ี - การประชาสัมพันธ์ (Public Affair): เป็ นการกระจายสารสนเทศให้ ( ) ประชาชนทราบว่า ฝ่ ายเราได้ ทําอะไรไป เพื่อลดการเบี่ยงเบียนหรื อลังเลของ ประชาชนของฝ่ ายเรา ซึงอาจจะไปสนับสนุนฝ่ ายตรงข้ ามได้ ่ - การปฏิบัตการร่ วมกันระหว่ างทหารพลเรื อน (Civil Military ฏ ิ ( y Operations): เป็ นการดําเนินการสร้ างให้ เกิดการร่วมแรง ร่วมใจระหว่าทหาร กับประชาชน นอกจากนี ้ยังเป็ นการสร้ างความเชื่อมัน สมานฉันท์ ถ้ อยทีถ้อย ่ อาศัย ทํําให้้ มีเอกภาพในสังคม และสนับสนุนการดํําเนิินการ ั ใ ใ ั ั
  • 21.
  • 23. 23
  • 24. 24
  • 25.
  • 26. อาวุุธของการปฏิบตการข่ าวสาร ฏ ั ิ • ระดับกายภาพ • ระดับสารสนเทศ ั อาวุธทําลายล้ างทัวไป ุ ่ การบ่อนทําลาย Hacker การประชาสัมพันธ์ Malware การปฏบตการจตวทยา การปฏิบติการจิตวิทยา ั DDoS การโฆษณาชวนเชื่อ ฯลฯ การลวง การปฏิบติการพลเรื อน ฏ ั • ระดับความเข้ าใจ การรณรงค์์ผานสืื่อกระแสหลัก ่ ั การรณรงค์ผานสื่อใหม่ ่
  • 28.
  • 29. Cyberspace • Cyberspace หรืื อ ปริ ภมิไซเบอร์ เป็ นภาวะนามธรรมเชิง ู อุปลกษณ ใช้ ในด้ านปรัชญา หรื อ คอมพิวเตอร์ เป็ น อปลักษณ์ ใชในดานปรชญา หรอ คอมพวเตอร เปน ความจริ งเสมือนซึงแทนโลกในทฤษฎีทางปรัชญาของ ่ ฤ ฎ ญ คารล์ ปอปเปอร์ (Karl Popper) ซึงรวมทังสิงต่างๆ ใน ่ ้ ่ คอมพิวเตอร์ จนถึงระบบเครื อข่าย ทีี่มา - http://th.wikipedia.org/wiki/ปริิ ภมิไซเบอร์์ ป ู
  • 30. Cyberspace • Cyberspace ในมิตนามธรรม : ความหมายมีหลากหลายรปแบบ ในมตนามธรรม ความหมายมหลากหลายรูปแบบ ิ เช่น หมายถึงปริ ภมิของวัตถุและเอกลักษณ์หรื อความเป็ นตัวตนของ ู มันในโลกอินเทอร์ เน็ต หรื อพื ้้นที่ ช่องว่างในโลกของเกม รวมถึง สภาวะแวดลอมสามมตทผู ช้ เหมือนจมเข้ าไปข้ างใน ประกอบด้ วยสิง สภาวะแวดล้ อมสามมิติที่ผ้ใชเหมอนจมเขาไปขางใน ประกอบดวยสง ่ สังเคราะห์ตางๆ หรื อบางครังก็หมายถึงแหล่งที่อยูที่สร้ างขึ ้น แต่งเติม ่ ้ ่ ขึนเอง ไ มีอยูจริิ ง เป็ นต้้ น โดยอาจมีีชองว่างของตํําว่าการมีีตวตน ึ ้ ไม่่ ่ ป็ โ ่ ่ ่ ั ของผู้ใช้ งาน โดยในการพัฒนาตัวตนของ ไซเบอร์ สเปซ นันมี ู ้ ความสามารถในการยืนยันตัวตน สามารถตรวจสอบและนําพาไปยัง ผู้ ใชจรงในโลกจรง ทมใช่ ไ ้ ิ ใ โ ิ ี่ ใ ไซเบอรสเปซ ิ ์ส ป ที่มา - http://th.wikipedia.org/wiki/ปริ ภมิไซเบอร์ ู
  • 31. Cyberspace • Cyberspace ใ ตรูปธรรม : ใ ในมิ ิ ในทางสังคมมีีการนํําไไซเบอร์์ สเปซ มา ใช้ ในชีวิตประจําวันเรี ยกว่ากลุมคน หรื อสมาคมหนึงที่มีการเชื่อมต่อ ุ่ ่ ทางระบบอินเตอร์ เน็ทผ่านทางไซเบอร์ สเปซ รูปแบบใดก็ตาม ที่ สามารถพบเจอได้้ ในชีีวิตประจาวัน และกาลังเป็ นที่ีนิยมเช่่น ไ ป ํ ั ํ ั ป็ facebook Twitter หรื อ สมาคมกลุมคนที่มีความชอบ ความต้ องการ ุ่ ในทางเดียวกัน เช่น กลุมผู้นิยมดนตรี เพลง ละคร ตัวนักแสดง หรื อ ่ สงใดสงหนงทมการเผยแพรในทางสาธารณะและมผู นนยม เปน สิงใดสิงหนึงที่มีการเผยแพร่ในทางสาธารณะและมีผ้คนนิยม เป็ น ่ ่ ่ จํานวนหนึงก็จะมีการก่อตัวขึ ้นในโลกไซเบอร์ สเปซ ่ ที่มา - http://th.wikipedia.org/wiki/ปริ ภมิไซเบอร์ ู
  • 32. Cyberworlds & Cyberspace • โ ไ โลกไซเบอร์์ ( (Cyberworlds) คืือโ ) โลกของสารสนเทศทีี่อยู่บน Cyberspace คํําว่าโ ่ โลก ไซเบอร์ หรื อ "ไซเบอร์ เวิลด์" ถูกนําเสนอครังแรกในหนังสือเรื่ อง "ไซเบอร์ เวิลด์" โดย ้ ศาสตราจารย์ โ ชิ สึ ลอเรนส คูนิอิ โ ใ ้ โ ไซ ์ ส ศส โทชยาส ส์ โดยใหโลกไซเบอรสามารถถูกส ้ ึ ้ โ สรางขนโดย เจตนาหรื อเกิดขึ ้นเองก็ได้ และโลกของสารสนเทศเหล่านี ้สามารถเป็ นได้ ทงแบบ ั้ เสมอน โลกจริ ง หรื อโลกที่ผสมกันระหว่างความจริงและสารสนเทศเสมือน เสมือน โลกจรง หรอโลกทผสมกนระหวางความจรงและสารสนเทศเสมอน หากจะ กล่าวถึงแบบจําลองสารสนเทศในโลกไซเบอร์ นี ้ ซึงในทางทฤษฎีแล้ วโลกไซเบอร์ จะ ่ อยู ะดับเหนือกว่าระดับที่ผนวกรวมแบบจําลอง ฐานขอมูลเชงพนทและแบบจาลอง อย่ระดบเหนอกวาระดบทผนวกรวมแบบจาลอง ฐานข้ อมลเชิงพื ้นที่และแบบจําลอง ฐานข้ อมูลเชิงเวลา โลกไซเบอร์ ยงสร้ างและประยุกต์ใช้ กบ ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ ั ั การพาณชยอเลกทรอนกส การเรี ยนร้ เลกทรอนกส และวฒนธรรมประเพณหรอ การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การเรยนรูอิเล็กทรอนิกส์ และวัฒนธรรมประเพณีหรื อ สังคมเผ่าพันธุ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ ที่มา - http://th.wikipedia.org/wiki/ โลกไซเบอร์
  • 33.
  • 34. Social Media • Social ในที่นีหมายถึง สังคมออนไลน์ ้ • Media ในที่นี ้หมายถึง เนอหา เรื่ องราว และบทความ ในทนหมายถง เนื ้อหา เรองราว • Social Media จึงหมายถึงสังคมออนไลน์ที่มีผ้ ใช้ เป็ นผูู้ สื่อสาร หรื อ ู เขียนเล่า เนื ้อหา เรื่ องราว ประสบการณ์ บทความ รูปภาพ และวิดีโอ ทผู ช้ เขียนขึ ้นเอง ทําขึ ้นเอง หรื อพบเจอจากสื่ออื่นๆ แลวนามา ที่ผ้ใชเขยนขนเอง ทาขนเอง หรอพบเจอจากสออนๆ แล้ วนํามา แบ่งปั นให้ กบผู้อื่นที่อยูในเครื อข่ายของตน ผ่านทางเว็บไซต์ Social ั ่ Network ที่ให้ บริ การบนโลกออนไลน์ ปั จจุบน การสื่อสารแบบนี ้ จะ ั ทาผานทาง ทําผ่านทาง Internet และโทรศัพท์มือถือเท่านัน และโทรศพทมอถอเทานน ้ ที่มา : http://www.marketingoops.com/digital/social‐media/what‐is‐social‐media/
  • 35. Social Media • เนื ้อหาของ Social Media โดยทัวไปเปรี ยบได้ หลายรปแบบ ทัง้ เนอหาของ โดยทวไปเปรยบไดหลายรูปแบบ ทง ่ – กระดานความคิดเห็น (Discussion boards) – เว็บบล็อค (Weblogs) – วิกิ ( iki ) Podcasts, วก (wikis), P d t – รู ปภาพ – วิดีโอ • ส่วนเทคโนโลยีีท่ีรองรัับเนืือหาเหล่านีีก็รวมถึง เว็บบล็อค (Weblogs), ่ โ โ ้ ่ ้ ึ ็ ็ เว็บไซต์แชร์ รูปภาพ, เว็บไซต์แชร์ วิดีโอ, เว็บบอร์ ด, อีเมล์, เว็บไซต์แชร์ เพลง, Instant Messaging, Tool ที่ให้ บริ การ Voice over IP เป็ นต้ น
  • 37. ตัวอย่ างการใช้ Social Media The American Red Cross, The Congressional Management Foundation and other organizations
  • 38. การรั บร้ ู ข้อมูลข่ าวสาร
  • 39. ความไม่ สมดุุลย์ ของการรั บร้ ู ข้อมูลข่ าวสาร
  • 40. การใช้ Social Media ในการขับเคลื่อนมวลชน
  • 41.
  • 42. Wikileaks • วิกิลีกส์ (อังกฤษ: Wikileaks) เป็ นเว็บไซต์ที่นําข้ อมลเอกสารของ วกลกส (องกฤษ: เปนเวบไซตทนาขอมูลเอกสารของ รัฐบาลและบริ ษัท ซึงอนุญาตให้ ผ้ ใช้ สามารถเผยแพร่ เพื่อการ ่ ู กล่าวหาได้ โดยไม่ถกผลกระทบทางลบกลับจากองค์กรเหล่านัน ู ้ เวบไซตวกลกสอางวาการสงขอความตาง นันจะไม่สามารถถก เว็บไซต์วิกิลีกส์อ้างว่าการส่งข้ อความต่าง ๆ นนจะไมสามารถถูก ้ ติดตามได้ ไม่วาจากใครก็ตาม ่ ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/วิกลีกส์ ิ
  • 43. Wikileaks • ส่วนหนึงของเว็บไซต์พฒนาโดยผ้ คดค้ านรัฐบาลจีน จากข้ อมลใน สวนหนงของเวบไซตพฒนาโดยผู ดคานรฐบาลจน จากขอมูลใน ่ ั ั เว็บไซต์ Wikileaks เปาหมายหลักของการเปิ ดโปงคือ กลุมประเทศ ้ ่ อดีตสหภาพโซเวียต กลุมประเทศซับซาฮารา และประเทศใน ่ ตะวนออกกลาง แตพวกเขากคาดหวงใหเวบไซตถูกใชงานสาหรบ ตะวันออกกลาง แต่พวกเขาก็คาดหวังให้ เว็บไซต์ถกใช้ งานสําหรับ ข้ อมูลที่รั่วไหลเกี่ยวกับรัฐบาลและบริ ษัทในประเทศตะวันตก ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/วิกลีกส์ ิ
  • 44. Wikileaks • ในเดือนเมษายน พ.ศ. 2553 วิกิลีกส์ได้ เผยแพร่ภาพวิดีโอที่ถกบันทึก ในเดอนเมษายน พ ศ วกลกสไดเผยแพรภาพวดโอทถูกบนทก เมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2550 แสดงภาพการโจมตีทางอากาศ ต่อกรุงแบกแดดโดย กองทัพสหรัฐ ที่ทําให้ มีพลเรื อนชาวอิรักเสียชีวิต เปนจานวนมาก จากนันในเดือนกรกฎาคม ก็ได้ เผยแพร่เอกสารลับที เป็ นจํานวนมาก จากนนในเดอนกรกฎาคม กไดเผยแพรเอกสารลบท่ ้ ไม่เคยถูกเผยแพร่จํานวนมากกว่า 76,900 ฉบับ เกี่ยวกับปฏิบตการ ัิ ของสหรััฐใ ฟกานิิสถาน และในเดืือนตุลาคม ก็็ได้้ เผยแพร่่เอกสาร ในอัั ใ ลับกว่า 400,000 ฉบับเกี่ยวกับสงครามอิรัก , ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/วิกลีกส์ ิ
  • 45. Wikileaks • ในเดือนมิถนายน 2553 รัฐบาลไทยได้ ทําการบล็อกการเข้ าถึงเว็บไซต์ ในเดอนมถุนายน รฐบาลไทยไดทาการบลอกการเขาถงเวบไซต นี ้[3] เนื่องจากเผยแพร่เนื ้อหาหมิ่นพระบรมเดชานุภาพฯ • เมื่อปลายเดือนพฤศจิกายน 2553 ทางเว็บไซต์ได้ เผยแพร่โทรเลข เอกสารลบและเอกสารปกปดทางการทูต กวา 100,000 หนาของ เอกสารลับและเอกสารปกปิ ดทางการทต กว่า 100 000 หน้ าของ กระทรวงการต่างประเทศสหรัฐอเมริ กา จนทําให้ นางฮิลลารี คลินตัน รัฐมนตรี กระทรวงต่างประเทศสหรัฐได้ ออกแถลงการณ์ประณาม ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/วิกลีกส์ ิ
  • 46. Wikileaks • ต่อมาในวันที่ 1 ธันวาคม 2553 ตํารวจสากลได้ ออกหมายจับจเลียน ตอมาในวนท ธนวาคม ตารวจสากลไดออกหมายจบจูเลยน อาสซานจ์ ผู้ก่อตังเว็บไซต์ ในข้ อหาเกี่ยวกับการล่วงละเมิดทางเพศ ้ จากนันเว็บไซต์ได้ ถกแครกเกอร์ โจมตีด้วย DDoS จนทําให้ ผ้ ให้ บริ การ ้ ู ู เซรฟเวอรในสหรฐอเมรกาไดยกเลก เซิร์ฟเวอร์ ในสหรัฐอเมริ กาได้ ยกเลิก DNS ที่ชี ้ไปยังโดเมนเนม ทชไปยงโดเมนเนม WikiLeaks.org ด้ วยข้ ออ้ างว่าถูกโจมตีอย่างหนัก อย่างไรก็ตาม เว็บไซต์์ก็ยงสามารถเข้้ าถึงไ ้ ผานทางไอพีีแอดเดรส และโดเมน ็ ไ ั ึ ได้ ่ ไ โ สํารองที่จดทะเบียนในสวิตเซอร์ แลนด์ ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/วิกลีกส์ ิ
  • 47.
  • 59.
  • 60. การ Block เวบไซต์ ในช่ วงความขัดแย้ งของ ศอฉ. การเข้ าถึงข้ อมูลดังกล่ าวนี ้ ถูกระงับเป็ นการชั่วคราว โดยอาศัยอํานาจตาม พระราชกาหนดการบรหารราชการ พระราชกําหนดการบริหารราชการ ในสถานการณ์ ฉุกเฉิน พ.ศ. ๒๕๔๘ ตามคําสั่ งของศูนย์ อานวยการแก้ ไขสถานการณ์ ฉุกเฉิน ํ
  • 61. สถิตการใช้ Facebook ในประเทศไทย ิ Global Audience: 316,402,840  ข้ อมูลวันที่ 6 พ.ค.53
  • 62. สถิตการใช้ Facebook ในประเทศไทย ิ Global Audience: 630,324,560  ข้ อมูลวันที่ 7 มี.ค.53
  • 63. กลุ่ม Facebook ร่ วมรณรงค์ ไม่ ยุบสภา 502,911 คน ข้ อมูลวันที่ 6 พ.ค.53
  • 65. Facebook ของ นรม.อภิสิทธิ์ฯ ช่ วงความขัดแย้ ง 267,626 คน ข้ อมูลวันที่ 6 พ.ค.53
  • 66. Facebook ของ อดีตนรม.พ.ต.ท.ทักษิณฯ ช่ วงความขัดแย้ ง 4,703 followers ข้ อมูลวันที่ 6 พ.ค.53
  • 67. Twitter ของ อดีตนรม.พ.ต.ท.ทักษิณฯ ช่ วงความขัดแย้ ง 89,893 followers ข้ อมูลวันที่ 6 พ.ค.53
  • 68. Twitter ของนรม.อภิสิทธิ์ฯ ช่ วงความขัดแย้ ง 75,284 followers ข้ อมูลวันที่ 6 พ.ค.53
  • 72. การวิเคราะห์ เหตุการณ์ ท่ อนุสรณ์ สถานใน Internet ี
  • 73. การวิเคราะห์ เหตุการณ์ ท่ อนุสรณ์ สถานใน Internet ี
  • 74. Mind Map ล้ มสถาบัน โดย ศอฉ.
  • 75. Mind Map ออกมาต่ อต้ านในวันรุุ่ งขึน ้
  • 76. การเกิดกลุ่มใน Facebook เสพย์ ศพคนเสือแดง ้ 655 คน 655 คน ข้ อมูลวันที่ 7 มี.ค.53
  • 77. การใช้ Twitter ในช่ วงการเลือกตัง ปธน.อิหร่ าน ้
  • 78. Twitter Defaced by ‘Iranian Cyber Army’
  • 79. Twitter’s DNS Hacked by ‘Iranian Cyber Army’
  • 80.
  • 81. Social Media กับ Jasmine Revolution
  • 84. การใช้ Social Media ในอียปภายหลัง Block Internet ิ
  • 85. การใช้ Social Media ในลิเบีย
  • 86. การใช้ Social Media ในลิเบีย
  • 87. Wikileaks กับข้ อมูลลับที่ ออท.สรอ.รายงานกลับประเทศ
  • 88. Wikileaks กับข้ อมูลลับที่ ออท.สรอ.รายงานกลับประเทศ
  • 91.
  • 92. สรุุ ป • สงครามสารสนเทศเป็ นเรืื่ องของความเชืื่อ และการ ตดสนใจ ตัดสินใจ • ระดับการปฏิบติการข่าวสารมี 3 มิติ คือ กายภาพ ระดบการปฏบตการขาวสารม มต คอ ั สารสนเทศ และ การรับรูู้ • สื่อใหม่มีอิทธิพลในปฏิบติการข่าวสาร ฏ ั • ข้ อมูล และสารสนเทศ จะมีคาเมื่อเข้ าถึงในเวลาที่ ่ เหมาะสม
  • 93. สรุุ ป • สงครามสารสนเทศในไทยนันส่วนใหญ่จะเป็ นการ ไ ้ ดาเนนการในมตการรบรู ดําเนินการในมิติการรับร้ (Cognitive Dimension) และ มิติด้านสารสนเทศ (Information Dimension) มากกว่า ( ) มิติทางกายภาพ (Physical Dimension) • กองทัพขาดการบริ หารจัดการสารสนเทศในยามวิกฤต • กองทัพขาดองค์ความรู้ในการจัดการต่อเนื ้อหา (content)
  • 94. แนวทางเผชิญสงครามสารสนเทศ • ทําความเข้ าใจและเรีี ยนรู้เทคโนโลยีีและ นวัตกรรม • ใช้ องค์ความรู้อย่างสูงสุดในการปฏิบตงาน ัิ • บริ โภคข้ อมูลข่าวสารในหลายๆ ด้ านก่อนที่ ๆ จะตัดสินใจ
  • 95. บทส่ งท้ าย • ขออย่ าเป็ น “นํ้าชาเต็มถ้ วย” นาชาเตมถวย 95