SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  114
Télécharger pour lire hors ligne
พันเอก ดร. ธีรนันท์์ นันทขว้้ าง
                                     ดร.
รองผู้อานวยการกองการเมืองและการทหาร, วิทยาลัยปองกันราชอาณาจักร
       ํ                 งและการทหาร, วิ      ้
               สถาบันวิชาการปองกัันป
                    ั ิ     ป้     ประเทศ กองบััญชาการกองทัพไ
                                                           ั ไทย
               Mobile: 089‐893‐3126, Web Site: http://tortaharn.net 
               Mobile: 089‐893‐3126, Web Site: http://tortaharn.net 
           teeranan@rtarf.mi.th, teeranan@nandhakwang.info
                                            Twitter : @tortaharn
                                                       @tortaharn
                         Facebook : http://facebook.com/tortaharn
                                  http://facebook.com/dr.trrtanan
กรอบการนําเสนอ
•   บริ บทแห่งการเปลีี่ยนแปลง
•   ภยคุกคามประเทศไทย
    ภัยคกคามประเทศไทย
•   ความท้ าทายกองทัพในทศวรรษหน้ า
•   บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้ า
บริบทแห่ งการเปลี่ยนแปลง


                         การเกิดของกระแสโลกาภิวัตน์


การยุตลงของสงครามเย็น
      ิ



                                               3
โลกาภิวัตน์ คืออะไร
• คือปรากฏการณ์ที่หลอมรวมความสัมพันธ์ทางการเมือง เศรษฐกจ
  คอปรากฏการณทหลอมรวมความสมพนธทางการเมอง เศรษฐกิจ
  สังคม และวัฒนธรรม ที่เกิดขึ ้นในทุกมุมส่วนของโลก ให้ มีความเป็ น
  อันหนึงอันเดียวกันและใกล้ ชิดกันมากขึ ้้นตามแบบอย่างโลกตะวัน
          ่
  ตก อย่างที่ไม่เคยปรากฏขึ ้นมาก่อน เหตุการณตางๆทเกดขนในพนท่
       อยางทไมเคยปรากฏขนมากอน เหตการณ์ตางๆที่เกิดขึ ้นในพื ้นที
                                                ่
  ห่างไกลและข้ ามพรมแดนรัฐ สามารถถูกรับรู้ได้ ทนที่ ทําให้ โลกมี
                                                  ั
  ลักษณะเป็ นหมูบ้านโลก โดยมีเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
                  ่
  เปนตวชวยสนบสนุน
  เป็ นตัวช่วยสนับสนน

                  ที่มา : ทวีศกดิ์ ตังปฐมวงศ์ มติชนสุดสัปดาห์ ศุกร์ 22 - พฤหัสบดี 28 พฤษภาคม 2552
                              ั      ้
เศรษฐกิจใหม่ (New Economy)
        ฐ
• เป็ นระบบการผลิตที่อาศัยปั จจัยสําคัญ คือ ความรู้ และข้ อมูล
  กาไรอนเกดจากการสรางความรู หม และร้ อมลใหม่ผสมกับ
  กําไรอันเกิดจากการสร้ างความร้ ใหม่ และรูข้อมูลใหมผสมกบ
  การจัดการที่มีประสิทธิภาพ
• “คน” หรื อทรัพยากรบุคคลที่มีความรู้ความสามารถไม่ใช่
  เครื่ องจักรหรื อวัตถุดบ
                         ิ
• มีีโครงสร้้ างพืืนฐานด้้ านข้้ อมูลข่าวสารเป็ นรากฐานสําคัญ
                   ้                   ่     ป็          ํ ั

                                                             6
Feasibility: The Shrinking Globe

     1500 -1840
           1840            1850 - 1930      1950s       1960s




                                           Propeller   Jet
                        Steam locomotives aircraft     passenger
Best average speed of
                        average 65 mph.    300 - 400   aircraft,
horse drawn
horse-drawn coaches
                        Steamships average mph.
                        S      hi                      500 - 700
and sailing ships, 10
                        36 mph.                        mph.
mph.
8
ก่ อให้ เกิดการเชื่อมโยง 3 ประการ
      1. กระตุ ให้ เกิดการเชื่อมโยงประสานกันทางเศรษฐกิจระหว่ าง
      1 กระต้ นใหเกดการเชอมโยงประสานกนทางเศรษฐกจระหวาง
        นานาประเทศ
           – มีการไหลเวียนของสินค้ า บริ การ เงินทุน ผู้คน และทรัพยากรที่ข้ามพ้ นรัฐ
            ชาต มีความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ เชอมโยงเปนบรเวณกวาง
            ชาติ มความสมพนธทางเศรษฐกจ เชื่อมโยงเป็ นบริ เวณกว้ าง
           – เป็ นโลกเศรษฐกิจที่ไม่มีพรมแดนในที่สอดคล้ องกับการแบ่งเขตเกี่ยวข้ องกับ
            ดินแดนหรืื ออาณาเขต ที่ีเป็็ นเรืื่ องของรัฐ (State)
           – เป็ นเขตแดนทางเศรษฐกิจ และรููปแบบการผลิตแบบห่วงโซ่ข้ามชาติก็เป็ นที่
                                   ฐ
            แพร่หลาย เมื่อสินค้ าชิ ้นเดียว แต่มีสวนประกอบต่างๆ ที่ถกผลิตขึ ้นในหลายๆ
                                                    ่               ู
            ประเทศ
                                                                                  10
ที่มา : ทวีศกดิ์ ตังปฐมวงศ์ มติชนสุดสัปดาห์ ศุกร์ 22 - พฤหัสบดี 28 พฤษภาคม 2552
            ั      ้
ก่ อให้ เกิดการเชื่อมโยง 3 ประการ
       2.กระตุ ให้ เกิดการเชื่อมโยงประสานทางแนวความคิด
       2.กระต้ นใหเกดการเชอมโยงประสานทางแนวความคด
         ความเชื่อ และอุดมการณ์
           - ความเป็ นประชาธิปไตย (Democratization)
           - สิทธิมนุษยชน (Human right)
                     ุ
           - การจัดการปกครองที่ดี (Good Governance)
           - การค้ าเสรี (Free Trade) ตลอดจน
             การคาเสร
           - วัฒนธรรมความทันสมัยแบบตะวันตก
           ในฐานะอุดมการณ์หลักแห่งยุคสมัยที่ถกแผ่ขยายไปทัวโลก ซึงผู้คนโดยทัวไปเรี ยกกัน
                                               ู            ่     ่            ่
           อย่างเต็มปากเต็มคําว่า "ยุคโลกาภิวตน์“ โดยคิดและอุดมการณ์เหล่านี ้ มีผลอย่างมาก
                                             ั
           ต่อการจัดการปกครองทางการเมืองและสังคมของประเทศต่างๆทัวโลกใน ปั จจุบน
                                                                      ่               ั
                                                                                             11
ที่มา : ทวีศกดิ์ ตังปฐมวงศ์ มติชนสุดสัปดาห์ ศุกร์ 22 - พฤหัสบดี 28 พฤษภาคม 2552
            ั      ้
ก่ อให้ เกิดการเชื่อมโยง 3 ประการ
         3. กระตุ้ นใ ้ เกิดการเชื่ ือมโยงประสานโลกให้้ เป็ นอัันหนึ่ ึง
                     ให้ ิ              โ ป          โ ใ
           อนเดยวกนดวย เทคโนโลยสารสนเทศและการสอสาร
           อันเดียวกันด้ วย เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
           - หลังยุคสงครามเย็นสิ ้นสุด โดยสหรัฐฯ มีบทบาทสําคัญในการ
                   ุ                 ุ
            พัฒนาและริ เริ่ มเทคโนโลยีสารสนเทศใหม่ๆ เช่น Internet
            - เผยแพร่เทคโนโลยีีออกไปโดยรวดเร็็ วไปพร้้ อมกับวัฒนธรรมแบบ
                        โ โ         ไปโ         ไป         ั ั
                                     )
            อเมริ กน (Americanization)
                   ั (


                                                                                  12
ที่มา : ทวีศกดิ์ ตังปฐมวงศ์ มติชนสุดสัปดาห์ ศุกร์ 22 - พฤหัสบดี 28 พฤษภาคม 2552
            ั      ้
Globalization could involve all these things!


                Globalisation
การเปลี่ยนแปลงในมิตภมรัฐศาสตร์
                   ิ ู ิ




        ยุคสงครามเยน
        ยคสงครามเย็น
การเปลี่ยนแปลงในมิตภมรัฐศาสตร์
                   ิ ู ิ




       ยุคหลงสงครามเยน
       ยคหลังสงครามเย็น
การเปลี่ยนแปลงในมิตภมรัฐศาสตร์
                   ิ ู ิ




         ทศวรรษหนา
         ทศวรรษหน้ า
Source : Dr. Suvit  Maesincee ‐ Thailand in the New Global Landscape
ปั ญหาการซ้ อนทับของสถาปั ตยกรรมในภูมิภาค




                               Source : http://csis.org/publication/new‐paradigm‐apec
สงครามอสมมาตร   27
ปั ญหาการซ้ อนทับของสถาปั ตยกรรมในภูมภาค
                                          ิ

• มีการรวมกลุมประเทศเข้ าด้ วยกันเป็ นจํานวนมาหลายกลุม
                ่                                      ่
• วัตถุประสงค์์เพื่ือรัักษาผลประโยชน์์ของชาติจนเองโดยการเพิิ่ม
    ั                        ป โ             ิ    โ
  อานาจการตอรองดวยการเขารวมกบประเทศอนๆ
  อํานาจการต่อรองด้ วยการเข้ าร่วมกับประเทศอื่นๆ
• กลุมที่เข้ มแข็งมักจะถูกแทรกแซงโดยประเทศมหาอํานาจหรื อ
      ุ่                  ู
  กลุมประเทศอื่นๆ
      ่
ความหมายของสงครามอสมมาตร
“สงครามอสมมาตรคืือความขัดแย้้ งระหว่างคูปรปั กษ์ ที่
                                       ่
พยายามหาจดอ่ อนของอีกฝ่ ายหนึ่ง แล้ วใช้ ยทธศาสตร์
พยายามหาจุดออนของอกฝายหนง แลวใชยุทธศาสตร
และยุทธวิธีของสงครามนอกแบบเข้ าดําเนินการเพื่อ
ชดเชยจุดอ่อนของตน ก่อให้ เกิดประโยชน์กบฝ่ ายของตน ให้
                                                    ั
ฝ่ ายตนเป็ นฝ่ ายดํํารงความริิ เริ่ิ ม และมีีเสรีี ในการปฏิิบติ โ
        ป็                                              ป ั โดย
แสวงประโยชนจากจุดออนของฝายตรงขาม อันนําไปส่
แสวงประโยชน์จากจดอ่อนของฝ่ ายตรงข้ าม อนนาไปสู
ความเท่ าเทียมกันในการทําสงคราม”
                                                                    29
ความไม่ เท่ าเทียมกันในการต่ อส้ ู




                                 30
สงครามแบบสมมาตร
สงครามแบบสมมาตร




                            31
แนวความคิดของสงครามอสมมาตร
สงครามแบบอสมมาตร




                           32
มูลเหตุุแห่ งการก่ อการร้ าย
กงล้ อแห่ งความหวาดกลัว
ลักษณะของเปาหมาย
           ้
สงครามนอกแบบในหลังสงครามเย็น
องค์ ประกอบของการสื่อสาร
เขียน BLOG   การใช้ เวลา 9 ชม.ใน 1 วัน
  0.75 ชม.     http://www.wired.com
             เล่ มเกม 1 ชม.

                     Social Networking
                          2.5 ชม.

                  ขาว 2.5 ชม.
                  ข่ าว 2 5 ชม

                    ความบันเทิง 3.5 ชม.
การรั บร้ ู ข้อมูลข่ าวสาร
การก่ อความไม่ สงบในปั จจุุบน
                            ั
                       สถานะของ
                    การก่ อความไม่ สงบ
การก่ อความไม่ สงบในปั จจุุบน
                            ั
การก่ อความไม่ สงบในปั จจุุบน
                            ั
การก่ อความไม่ สงบในปั จจุุบน
                            ั
บทบาทของประเทศมหาอานาจและ
บทบาทของประเทศมหาอํานาจและ
  ความเข้ มแข็งของอนุุภมภาค
                       ู ิ
ความเข้ มแข็งของอนุุภมภาค
                           ู ิ
กลุุ่มประเทศลุุ่มนําโขง (Greater Mekong Sub-region)
                       ้
• ประกอบด้ วย 6 ประเทศคือ ไทย จีน (มณฑลยูนนาน) เวียดนาม
  กมพูชา พมา
  กัมพชา ลาว พม่า
• มีประชากรรวมกัน 250 ล้ านคน
• มีพื ้นที่รวมกัน 2.3 ล้ านตารางกิโลเมตร (เทียบได้ กบยุโรปตะวันตก)
                                                     ั
• มีีทรััพยากรอุดมสมบูรณ์์ และเป็ นภูมิภาคสําคัญทางภูมิรัฐศาสตร์์
                                 ป็             ํ ั
  (geopolitics) ของเอเชีย
• หากมองในมิตภมิรัฐศาสตร์ แล้ วเปรี ยบได้ กบเป็ น Heart Land ของ
                   ิ ู                        ั
  ภูมภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  ภมิภาคเอเชยตะวนออกเฉยงใต
บทบาทของประเทศมหาอํานาจ
• ประเทศมหาอํานาจหรื อมีศกยภาพสง รวมทังกล่มประเทศ (องค์กร
  ประเทศมหาอานาจหรอมศกยภาพสูง รวมทงกลุ
                                   ั                  ้         (องคกร
  เหนือรัฐ) มีความต้ องการเข้ ามีปฏิสมพันธ์กบ อาเซียน โดยการเจรจา
                                         ั       ั
  ในลักษณะทวิภาคี กับอาเซียน
•ปประเทศมหาอานาจหรอมศกยภาพสูง รวมทงกลุมป
                 ํ           ื ี ั                 ั ้ ่ ประเทศ ( ์กร
                                                                (องค์
  เหนือรัฐ) เหล่านี ้ได้ แก่ สหรัฐอเมริ กา จีน สหภาพยุโรป อินเดีย ญี่ปน
                                                         ุ            ุ่ ุ
  เกาหลี ฯลฯ
บทบาทของประเทศ
     มหาอานาจและ
     มหาอํานาจและ
ความเข้ มแข็งของอนุภมภาค
                    ู ิ
บทบาทของประเทศหาอํานาจ
           และ
           แล
ความเข้ มแข็งของอนุภมิภาค
                    ู
กรณีพพาทหมู่เกาะในทะเลจีนใต้
     ิ
การเป็ นสมาชิก G20 ของอินโดนีเซีย
ปญหาการเคลอนยายแรงงาน
ปั ญหาการเคลื่อนย้ ายแรงงาน
ปั ญหาการเคลื่อนย้ ายแรงงาน
ปั ญหาการสร้ างเขื่อนของจีน
ปญหาการสรางเขอนของจน
ความขดแยงระหวางอนโดนเซยกบมาเลเซย
ความขัดแย้ งระหว่ างอินโดนีเซียกับมาเลเซีย
ความขัดแย้ งบริเวณชายแดน ไทย ‐ กัมพูชา
การเชื่อมโยงทางบก
• ไทยเป็ นจุดศูนย์การกลางในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทําให้ มี
            ุ ู               ู
  ความได้ เปรี ยบทางภูมิรัฐศาสตร์
• ไ ีความพร้ อมทางโครงสร้ างพืืนฐานของประเทศ
  ไทยมี                           ้
• ไทยมีความพร้ อมทางระบอบการปกครองและเศรษฐกิจ
  ไทยมความพรอมทางระบอบการปกครองและเศรษฐกจ
• ไทยมีความพร้ อมในเรื่ องการท่องเที่ยวและการบริ การ
• ภาคเอกชนของไทยมีความเข้ มแข็ง
ระเบียงเศรษฐกิจอนุุภมภาคลุุ่มแม่ นําโขง
                 ฐ        ู ิ            ้
ระเบียงเศรษฐกิจอนุุภมภาคลุุ่มแม่ นําโขง (GMS Economic Corridors)
                ฐ        ู ิ               ้  (                   )
• มีเปาหมายเพื่อพัฒนาการค้ า การลงทุน ในภูมิภาคนี ้
         ้
• ได้ รับเงินอุดหนุนจาก ธนาคารเพื่อการพัฒนาแห่งเอเชีย หรื อ ADB
  (Asian Development Bank) ในการพัฒนาสาธารณปโภคขันพื ้นฐาน
                                 ในการพฒนาสาธารณูปโภคขนพนฐาน   ้
  หลายแขนง โดยเฉพาะเส้ นทางคมนาคมทางถนน
• รวมถึงระบบไฟฟา โทรคมนาคม สิงแวดล้ อม และกฎหมาย ฯลฯ
                    ้                   ่
• เริิ่ มปี 1998 ใ ี่ประชุมรััฐมนตรีี ของประเทศลุมนํําโ ี่มะนิิลา
                 ในที                     ป       ่ ้ โขงที
• ประเทศไทยได้ ลงนามในกรอบความร่วมมือตังแต่ปี 2535
  ประเทศไทยไดลงนามในกรอบความรวมมอตงแตป          ้
ระเบียงเศรษฐกิจอนุุภมภาคลุุ่มแม่ นําโขง
           ฐ        ู ิ            ้
               เส้ นทางคมนาคมใน GMS
               Economic Corridors แบ่งออกเป็ น 3
               สวนใหญๆ
               ส่ ใ ่ ตามภูมิภาค ไ ้ ่
                                   ไดแก
               • North-South Economic Corridor
               • East-West Economic Corridor
               • Southern Economic Corridor

                 แต่ละส่วนจะมีเส้ นทางย่อยๆ ของตัวเอง
                                          ๆ
                 เกือบทุกเส้ นผ่านประเทศไทย
รถไฟความเร็วสูง คุุนหมิง - สิงค์ โปร์
            • เป็ นส่วนหนึงของเครื อข่ายทางรถไฟฟั่ น
                             ่
            หย่าสูเ่ อเซียตะวันออกเฉียงใต้
            •ผ่านชายแดนจีีน-ลาว ผ่านกรุงเทพฯ ของ
            ไทย กรงกัวลาลัมเปอร์ ของมาเลเซีย
                     ุ
            • ระยะยาวทังหมด 3,900 กิโลเมตร
                           ้
            • เดินทางจากคุนหมิงไปยังสิงคโปร์ เพียงใช้
            เวลา 10 ชัวโมง
                       ชวโมง
                         ่
รถไฟความเร็วสูง คุุนหมิง - สิงค์ โปร์
            • นอกจากนี ้ยังมีเครื อข่ายทางรถไฟความเร็วสูง
                                                        ู
            จีน-เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทังเส้ นทาง
                                               ้
            ตะวนตกกบเสนทางกลาง คือ เสนทางคุนหมน
            ตะวันตกกับเส้ นทางกลาง คอ เส้ นทางคนหมิน-
            กรุงย่างกุ้ง กับเส้ นทางเมืองคุนหมิง-กรุง
            เวยงจนทน-กรุงเทพฯ-กวลาลมเปอร-สงโคปร
            เวียงจันทน์ กรงเทพฯ กัวลาลัมเปอร์ สิงโคปร์
            • ส่วนเส้ นทางตะวันออก จีน-ฮานอย-โฮจิมินห์-
            พนมเปญ-กรุงเทพฯ ยังอยูในช่วงการพิจารณา
                                        ่
            หลังจากทางรถไฟความเร็ วสงฟั่ นหยา
              ล           รถไ ว มเรวสู
การเชื่อมโยงทางทะเล




เส้ นทางคมนาคมทางทะเล
ช่ องแคบมะละกา
ภัยคุุกคามที่จะเกิดขึน
                                   ้
•   การไหลบาของแรงงานและการย้้ ายถนฐาน
       ไ ่                        ิ่
•   อาชญากรรมขามชาต
    อาชญากรรมข้ ามชาติ
•   ยาเสพติด
•   การก่อการร้ าย
•   อาวุธสงคราม
•   การแยงชงทรพยากรทางทะเล
    การแย่งชิงทรัพยากรทางทะเล
•   โจรสลัด
Global Responses to Global Threats




Source : C. Abbott, P. Rogers, and John Sloboda, “Global Responses to Global Threats: Sustainable Security for the 21st Century”, 
Oxford Research Group, 2006
ปั ญหาของความไม่ สมดุุลย์ ในมิตต่างๆ
                               ิ ๆ
ปั ญหาของความไม่ สมดุุลย์ ในมิตต่างๆ
                               ิ ๆ
ปั ญหาของความไม่ สมดุุลย์ ในมิตต่างๆ
                               ิ ๆ
ปั ญหาของการรั บร้ ู ข้อมูลข่ าวสาร
ความเสี่ยงและผลกระทบของภัยคุุกคาม

พ.ศ.2553
ความเสี่ยงและผลกระทบของภัยคุุกคาม

พ.ศ.2553
                                 ภัยคุกคามที่
                                  สําคัญยิ่ง
ความเสี่ยงและผลกระทบของภัยคุุกคาม

พ.ศ.2554
ความเสี่ยงและผลกระทบของภัยคุุกคาม

พ.ศ.2554
                                 ภัยคุกคามที่
                                  สําคัญยิ่ง
ปั ญหาการก่ อความไม่ สงบใน จชต.
ปั ญหาความขัดแย้ งในประเทศ
ปั ญหาความยากจน
ปั ญหาการจัดการทรั พยากรธรรมชาติ
ปั ญหาระบาดวิทยา
ปั ญหายาเสพติด
ปั ญหาอาชญกรรมข้ ามชาติ
ปั ญหาการค้ าอาวุุธสงคราม
ปั ญหาภัยพิบตต่างๆ
            ั ิ
การก่ อการร้ ายสากล
หน้ าที่ตามรั ฐธรรมนูญ

                        รั ฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
                                         มาตรา 77
 “รัฐต้ องพิทกษ์ รักษาไว้ ซงสถาบันพระมหากษัตริ ย์ เอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแห่ง
             ั             ึ่
เขตอํานาจรัฐ และ ต้ องจัดให้ มีกําลังทหาร อาวธยทโธปกรณ์ และเทคโนโลยีท่ี
                                                   ุ ุ                  น
ทันสมัย จําเป็ น และเพียงพอ เพื่อพิทักษ์ เอกราช อธิปไตย ความมั่นคงของรั ฐ
สถาบนพระมหากษตรย ผลประโยชน์ แห่ ง ชาติ
สถาบั น พระมหากษั ต ริ ย์ ผลประโยชนแหงชาต และ การปกครองระบอบ
ประชาธิ ป ไตยอั น มี พ ระมหากษั ต ริ ย์ ทรงเป็ นประมุ ข และเพื่ อ การพั ฒ นา
ประเทศ”
ขีดความสามารถทางทหาร



ประเทศไทย ได้ รับการจัดอันดับ
ขีดความสามารถทางทหาร
ลําดับที่ 19 ของทังโลก
                  ้
ลําดับที่ 2 ในอาเซียน
ขีดความสามารถทางทหาร
ปั ญหามุุมมองด้ านความมั่นคง
มุุมมองด้ านความมั่นคงในยุุคปั จจุุบน
                                    ั
พัฒนาการของการดําเนินการในกิจการความมั่นคง
สภาวะกับความสัมพันธ์ ของกลุ่มอํานาจในสังคมไทย
ภาคประชาสังคมกับสื่อสารมวลชน
  กบบทบาทในการตรวจสอบ
  กับบทบาทในการตรวจสอบ
กองทัพกับความร่ วมมือด้ านความมั่นคงอาเซียน
การประชุุมรั ฐมนตรี กลาโหมอาเซียน
(ASEAN Defence Ministers’ Meeting : ADMM)
• การประชุม ADMM นน ไ ้ ํ
       ป ช             ั ้ ไดกาหนดใหมการประชุมอก 2 เวที เพอ
                                  ใ้ ี ป ช ี              ื่
  เป็ นการรอบรับการประชุม ADMM คือ
   – “การประชุมเจ้ าหน้ าที่อาวุโสกลาโหมอาเซียน” (ASEAN Defence Senior
     Officials’ Meeting: ADSOM) เป็ นการประชุมในระดับเจ้ าหน้ าที่อาวุโส
                                                 ุ                     ุ
     (ปลัดกระทรวงกลาโหม หรื อเทียบเท่า) มีหน้ าที่หลักคือเพื่อเตรี ยมการสําหรับการ
     ประชุม ADMM โดยทัวไปจะพิจารณาความเหมาะสมของหัวข้ อการหารื อ และ
                             ่
     พิจารณาแก้ ไขร่างเอกสารต่าง ๆ ที่จะให้ รัฐมนตรี กลาโหมของประเทศสมาชิกอาเซียน
     รับรองในระหว่างการประชุม ADMM
กองทัพกับความร่ วมมือด้ านความมั่นคงอาเซียน
การประชุุมรั ฐมนตรี กลาโหมอาเซียน
(ASEAN Defence Ministers’ Meeting : ADMM)
   – ก่อนการประชม ADSOM กําหนดให้ มี ”การประชมคณะทํางานเจ้ าหน้ าที่อาวโส
     กอนการประชุม              กาหนดใหม ”การประชุมคณะทางานเจาหนาทอาวุโส
     กลาโหมอาเซียน” (ADSOM Working Group: ADSOM WG) ซึงเป็ นการประชุม
                                                                    ่
     คณะทางาน(ระดบผู านวยการสานกนโยบายและแผนกลาโหม หรอผู
     คณะทํางาน(ระดับผ้ อํานวยการสํานักนโยบายและแผนกลาโหม หรื อผ้ แทน) เพื่อ
                                                                        เพอ
     เตรี ยมการด้ านสารัตถะและธุรการสําหรับการประชุม ADSOM และการประชุม
     ADMM ซึงที่ประชม Working Group จะร่วมกันกําหนดหัวข้ อหรื อการหารื อ
             ซงทประชุม
              ่                            จะรวมกนกาหนดหวขอหรอการหารอ
     เตรี ยมการด้ านเอกสารที่เกี่ยวกับการประชุม รวมทังด้ านธุรการอื่นๆ
                                                     ้
กองทัพกับความร่ วมมือด้ านความมั่นคงอาเซียน
การประชุุมรั ฐมนตรี กลาโหมอาเซียน
(ASEAN Defence Ministers’ Meeting : ADMM)
•ใ ้
  ในหวงระหวางการประชุม ADMM แตละปนน หากประเทศสมาชก
               ่       ป ช                ่ ปี ั ้     ป ศส ชิ
  อาเซียนพิจารณาแล้ วเห็นว่ามีความจําเป็ นเพื่อให้ รัฐมนตรี กลาโหม
  ประเทศสมาชิกอาเซียน หารื อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในประเด็น
  เฉพาะเรองใดเรองหนงเปนพเศษนน อาจจดใหมการประชุมรฐมนตร
  เฉพาะเรื่ องใดเรื่ องหนึงเป็ นพิเศษนัน อาจจัดให้ มีการประชมรัฐมนตรี
                          ่            ้
  กลาโหมอาเซียนอย่างไม่เป็ นทางการ (ADMM Retreat) ขึ ้นได้
ความร่ วมมือด้ านการทหารในอาเซียน
• การให้ ความช่วยเหลือด้ านมนุษยธรรมและการบรรเทาภัยพิบติ
                              ุ                        ั
  (Humanitarian Assistance and Disaster Relief : HADR)
          ่
• ความมันคงทางทะเล (Maritime Security)
• การต่อต้ านการก่อการร้ าย (Counter - Terrorism)
  การตอตานการกอการราย
• การปฏิบตการรักษาสันติภาพ (Peace Keeping)
       ฏ ัิ
• ความร่วมมือทางการแพทย์ทหาร (Military Medicine)
การลาดตระเวนร่ วมในช่ องแคบมะละกา
            • Malacca Strait Sea Patrol (MSSP): เป็ น
            การร่วมมือกันระหว่างสิงคโปร์ มาเลเซียและ
            อนโดนเซยในการสงเรอรบเขาลาดตระเวน
            อินโดนิเซียในการส่งเรื อรบเข้ าลาดตระเวน
            และทําการฝึ กในช่องแคบมะละกา
            • Eyes-in-the Sky (EiS): เป็็ นการร่วมมืือกัน
            ระหว่างสิงคโปร์ มาเลเซียและอินโดนิเซียใน
            การส่งเครื่ องบินเข้ าลาดตระเวนในช่องแคบ
            มล
            มะละกา
            • MSP Intelligence Exchange Group:
            เป็ นการแลกเปลี่ยนข้้ อมูลการข่าวให้้ กบการ
             ป็           ป ี               ่ ใ ั
            ปฏิบติการในช่องแคบ
                  ั
การลาดตระเวนร่ วมในช่ องแคบมะละกา


                      ภูเก็ต

ไทยรับผิดชอบตอนบน
                           5
   (SECTOR 5)                  4

                                   3
                                       2

                                           1
ยึดโยงหน้ าที่ตามรั ฐธรรมนูญ

                        รั ฐธรรมนูญแห่ งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
                                         มาตรา 77
 “รัฐต้ องพิทกษ์ รักษาไว้ ซงสถาบันพระมหากษัตริ ย์ เอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแห่ง
             ั             ึ่
เขตอํานาจรัฐ และ ต้ องจัดให้ มีกําลังทหาร อาวธยทโธปกรณ์ และเทคโนโลยีท่ี
                                                   ุ ุ                  น
ทันสมัย จําเป็ น และเพียงพอ เพื่อพิทักษ์ เอกราช อธิปไตย ความมั่นคงของรั ฐ
สถาบนพระมหากษตรย ผลประโยชน์ แห่ ง ชาติ
สถาบั น พระมหากษั ต ริ ย์ ผลประโยชนแหงชาต และ การปกครองระบอบ
ประชาธิ ป ไตยอั น มี พ ระมหากษั ต ริ ย์ ทรงเป็ นประมุ ข และเพื่ อ การพั ฒ นา
ประเทศ”
การเผชิญภัยคุุกคามแบบดังเดิม
                                      ้
  • มีขีดความสามารถตามโครงสร้ างกําลังรบที่ได้ กาหนดไว้
                                                ํ




ขออธิบายสันๆ ภายในเวลา 3.08 นาที ด้ วย Clip ของเด็กหนุมไทยที่ภมิใจในกองทัพไทยและเห็นเรามีขีด
          ้ๆ                                         ุ่       ู
ความสามารถอย่างไร ใน Youtube : http://www.youtube.com/watch?v=0gbwQ9zeuck&list=UUzo-
SUsWJAuiDzfcX31hKdQ&index=1&feature=plcp
การเผชิญภัยคุุกคามรู ปแบบใหม่
  • มีขีดความสามารถพร้ อมเผชิญภัยคุุกคามรูู ปแบบใหม่ ทุกด้ าน




ขออธิบายด้ วยการ ใช้ โฆษณาของกองทัพบก มาอธิบายบางส่วนของขีดความสามารถที่ต้องมีเพื่อเผชิญภัย
คุกคามรูปแบบใหม่ท่ีจะเกิดขึ ้นในทศวรรษหน้ า
บทส่ งท้ าย

“Accept the challenges so 
   that you can feel the 
 exhilaration of victory”.
    hl         f        ”
 ‐ General George Patton Jr.


                           113
บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า

Contenu connexe

Tendances

สงครามสารสนเทศ 97
สงครามสารสนเทศ 97สงครามสารสนเทศ 97
สงครามสารสนเทศ 97
Kan Yuenyong
 

Tendances (9)

ความมั่นคงแห่งชาติ
ความมั่นคงแห่งชาติความมั่นคงแห่งชาติ
ความมั่นคงแห่งชาติ
 
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
ยุทธศาสตร์การขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศ
 
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืน
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืนใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืน
ใต้สู่สันติสุขที่ยั่งยืน
 
Energy Plus_Oct - Dec 2013
Energy Plus_Oct - Dec 2013Energy Plus_Oct - Dec 2013
Energy Plus_Oct - Dec 2013
 
สงครามสารสนเทศ 97
สงครามสารสนเทศ 97สงครามสารสนเทศ 97
สงครามสารสนเทศ 97
 
Political warfare 55
Political warfare 55Political warfare 55
Political warfare 55
 
Military power
Military powerMilitary power
Military power
 
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
ภูมิรัฐศาสตร์ สกว.
 
National power in_politics
National power in_politicsNational power in_politics
National power in_politics
 

Similaire à บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า

เอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพ
เอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพเอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพ
เอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพ
Junya Yimprasert
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์
Lao-puphan Pipatsak
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์
Jib Dankhunthot
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
Tor Jt
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Suriyakan Yunin
 
บทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
บทที่1.1พื้นฐานพลเมืองบทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
บทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
Natthachai Nimnual
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
Pisan Chueachatchai
 
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติบันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
Junya Yimprasert
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
pentanino
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
pentanino
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Kruwaw-ru Kan
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
Wongduean Phumnoi
 

Similaire à บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า (20)

รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
เบญจศีล
เบญจศีลเบญจศีล
เบญจศีล
 
เอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพ
เอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพเอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพ
เอาชนะความกลัวพระบรมเดชานุภาพ
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์
 
โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์โลกาภิวัตน์
โลกาภิวัตน์
 
2
22
2
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Still coldwar
Still coldwarStill coldwar
Still coldwar
 
law
lawlaw
law
 
บทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
บทที่1.1พื้นฐานพลเมืองบทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
บทที่1.1พื้นฐานพลเมือง
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
 
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
 
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติบันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
 
กุดชุม
กุดชุมกุดชุม
กุดชุม
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 

Plus de Teeranan

Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011
Teeranan
 
Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012
Teeranan
 
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Teeranan
 
Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012
Teeranan
 
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
Teeranan
 

Plus de Teeranan (20)

Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12 1_
Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12  1_Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12  1_
Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12 1_
 
Ambush southern th
Ambush southern thAmbush southern th
Ambush southern th
 
Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012
 
Terrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airportTerrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airport
 
New media and national security contents
New media and national security contentsNew media and national security contents
New media and national security contents
 
Atfl
AtflAtfl
Atfl
 
Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011
 
Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012
 
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
 
Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012
 
Terrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in ThailandTerrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in Thailand
 
Military PR using social network
Military PR using social networkMilitary PR using social network
Military PR using social network
 
Bomb in thailand
Bomb in thailandBomb in thailand
Bomb in thailand
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and asean
 
Militay professionalism
Militay professionalismMilitay professionalism
Militay professionalism
 
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
 
South thailand conflict
South thailand conflictSouth thailand conflict
South thailand conflict
 
The unfamiliar war
The unfamiliar warThe unfamiliar war
The unfamiliar war
 
Political warfare
Political warfarePolitical warfare
Political warfare
 
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียนกองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
กองทัพไทยกับการเตรียมความพร้อมเ่ประชาคมอาเซียน
 

บทบาทของกองทัพในทศวรรษหน้า