SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  107
การเจ็บป่วยเนื่องจากความร้อนHeat-related Illness พันโท ฐิติศักดิ์ กิจทวีสิน พบ.,วว.อายุรศาสตร์,วว.อายุรศาสตร์โรคไต, อว.อายุรศาสตร์พิษวิทยาคลินิก หน่วยเวชพิษวิทยา กองอายุรกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
อุณหภูมิโลก
ข้อมูลจาก กรมอุตุนิยมวิทยา
Military Operations Military deployments Military training exercises Military operations
Heat Exchange Heat stress : environment and host condition that tend to increase body temperature Heat strain : physiological and psychological consequence of heat stress Body heat exchange Convection Radiation  Conduction  Evaporation
Heat Transfer of Soldier
Environmental Heat Stress High air temperature High humidity Thermal radiation Low air movement
Thermoregulatory Response
Fever Vs Hyperthermia
Heat loss response Conduction Convection Radiation  Evaporation Physiological thermoregulation ↑ Skin Blood Flow Sweating
Effects of Skin Vasodilatation
High Sweating Rate Water loss Vs Water replacement 0.3-1 L/hr in most activity Dehydration  ↓ evaporative and convective heat loss ↑ body temperature 0.2 °C per % BW loss ↑ cardiovascular strain ↑ HR 5 bpm per % BW loss ↓ core temp that can be tolerated ↑ risk of heat injury
Effects of Heat and Dehydration on Physical Work Output
Heat Acclimatization Heart Rate Core Temperature Skin Temperature
Heat Acclimatization Sweat Rate
Benefits of Heat Acclimatization
Heat Stress Management
Heat Stress Index used to demonstrate environmental heat stress Wet Bulb Glove Temperature index (WBGT) Threshold limit values (TLVs) Corrected effective temperatures (CET) Thermal work limit (TWL) Heat Index Relative Humidity Air Temperatures
• Wet Bulb (WB temperature) • Wet Bulb Natural evaporation of Natural evaporation of water/sweat water/sweat • Black Globe (GT temperature) • Black Globe The radiant heat load The radiant heat load • Shaded Dry Bulb • Shaded Dry Bulb (DB temperature) The actual air temperature The Wet Bulb Glove Temperature (WBGT) 0.2 GT+0.1DB+0.7WB
WBGT WBGT greater than 33oC …increase the incidence of heat injury and heatstroke Wet-bulb temperature is the most significant variable in WBGT equation Emphasize the important of humidity in heat injury
Heat Index Measurement of how hot it actually feels when relative humidity is combined with air temperature If there is exposure to direct sunlight, heat index should be adjusted by adding 0.9oC
ดัชนีความร้อน (Heat Index)
Heat Stress Measurement in Thai Army
ธงสัญญาณ
วิธีใช้เครื่องวัดความชื้นสัมพัทธ์
การใช้ธงสัญญาณ
Heat Strain Index Core Temperature Heart Rate Physiological Strain Index (PSI) Heat Strain Index (HSI) Cumulative Heat Strain Index (CHSI) Predicted 4-h sweat rate index (P4SR)
Core Temperature Esophageal temperature Most accurate Response rapidly and quantitatively to changes in core temp Rectal temperature Most practical  Typically higher ~ 0.4 °C Oral temperature Tympanic and ear canal temperature NOT RECOMMENDED
Physiological Strain Index (PSI) PSI = 5(Tret-Tre0).(39.5-Tre0) -1+ 5(HRt-HR0).(180-HR0) -1 Moran et al. Am J Physiol Regulatory Integrative Comp Physiol 275:129-134, 1998.
Core Temperature Response during Heat Stress Compensated Heat Stress (CHS) Uncompensated Heat Stress(UCHS)
Core Temperature and Incidence of Exhaustion
Heat Stress Management Heat acclimatization Hydration  Work rate
Heat Acclimatization Progressive heat exposure and physical work Two weeks duration Minimum exposure 2 hours/day Reduction in physiological strain 50, 80% in week 1 and 2 Adequate water replacement during and after acclimatization period
Hydration Assessment “WUT” law Dehydrated? Two or more simple markers T
Factors that Reduce Tolerance for Work in Heat
Heat-related Illness
Myths about Heat Stress  Real men don’t drink water Don’t drink unless you’re thirsty Training decreases need for water You can get a lot of cooling from a damp cloth on forehead, neck or wrists Sport drinks are better than water Salt counteract dehydration Women are more vulnerable to heat than men
คุณสมบัติของทหาร ความสมบูรณ์ของร่างกาย ความเคยชินกับการออกกำลังกายในสภาพอากาศร้อน การปรับตัวกับการออกกำลังกายและอากาศร้อน
ปัจจัยเสี่ยง เด็กเล็ก คนชรา ผู้ป่วยเคลื่อนไหวด้วยตัวเองไม่ได้ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ขาดการออกกำลังกาย อ้วน ไม่มีต่อมเหงื่อ ดื่มน้ำไม่เพียงพอ ยาบางชนิด ทหาร ถูกบังคับให้ออกกำลังกายเกินกว่าที่ทนได้ ความตั้งใจที่จะทำให้ดีที่สุด เคยเป็นโรคลมร้อนมาก่อน
Pre-existing conditions that may contribute to Heat-related Illnesses Hypokalemia  Obesity Poor of acclimatization Sleep deprivation Sunburn Sweat gland dysfunction Uncontrolled diabetes Uncontrolled HT Uncontrolled thyroid disorder Upper respiratory tract infection Alcoholism Anorexia Cardiac disease Cystic fibrosis Dehydration Diabetes insipidus Eating disorders Extremes of age Febrile illness Gastroenteritis Hx of Heatstroke
Medications That May Contribute to Heat-Related Illnesses Calcium channel blockers Diuretics Lithium   Neuroleptics Phenothiazine Salicylate Thyroid hormone  Alcohol Alpha-adrenergics Anti-cholinergics Anti-depressants Anti-histamines Benzodiazepines Beta blockers
Factors predisposing to Heatstroke
Odd ratio for developing Exertional Heat illness during Marine Corps Basic Training 1988-1992 1.5 Mile Run-Time (min)
High Risk BMI ≥ 22  1.5-mile run-time ≥ 12 min
รูปแบบการเจ็บป่วยจากความร้อน Prickly Heat (Heat Rash) Heat Edema Heat Syncope Heat Cramp Heat Tetany Heat Exhaustion “Heatstroke”
Prickly Heat (Heat Rash) Lichen tropicus, miliariarubra Itching is predominated Pruriticmaculopapular rash over clothed areas  Acute inflammation of sweat ducts caused by blockage of sweat pores by macerated stratum corneum Ducts become dilated and ruptured
Prickly Heat (Heat Rash) Rx with antihistamine Prevented by wearing clean, light and loose clothing and avoid sweat generating situations
Heat Edema Mild swelling and tightness of hands and feet Appear within first few days of exposure to hot environment Cutaneous vasodilatation and orthostatic pooling of interstitial fluid in the extremities Aldosterone and ADH effects Mild edema , rarely on the ankle Usually resolves in a few days Diuretics are not effective
Heat Edema Usually resolves in a few days Diuretics are not effective
Heat Syncope Cumulative effect of peripheral vasodilatation, decreased vasomotor tone and relative volume depletion Most common in non-acclimatized person during early stage of heat exposure Removal from heat source, oral or IV rehydration, rest Most patients recover with fluid
Heat Cramps Painful, involuntary, spasmodic contraction of skeletal muscles…calves >> thighs, shoulders Usually occur in individuals who are sweat liberally and replace fluid loss with water or hypotonic solution Rest in cool environment, fluid and salt replacement orally or IV
HeatTetany Hyperventilation resulting in respiratory alkalosis, paresthesia, carpo-pedal spasm Usually associated with short period of intense heat stress Removal from heat Decreasing RR
Heat Exhaustion Nonspecific symptoms..dizziness, fatigue, light-headedness, nausea, vomiting, myalgia Clinical  Syncope, orthostatic hypotension  Sinus tachycardia, tachypnea Diaphoresis and hyperthermia Core temp..variable from normal to 40oC Mental status remains normal Combination of salt and water deletion Treated by rest, volume and electrolyte replacement
Heat stroke Elevated body temperature (core temperature > 40 oC) and CNS dysfunction (delirium, convulsion or coma) Catatrophic medical emergency resulting from a failure of thermoregulatory mechanism Extreme elevation of body temperature Multi-organ dysfunction
ขบวนการปรับสภาพร่างกายต่อความร้อน การสะสมความร้อน มากกว่า การระบายความร้อน อุณหภูมิผิวหนังเพิ่มสูงขึ้น ดื่มน้ำมากพอ ปลายประสาทถูกกระตุ้น หลอดเลือดที่ผิวหนังขยายตัว เหงื่อออก เหงื่อระเหย ระบายความร้อน ระบายความร้อน ที่ผิวหนังมากขึ้น ปรับตัวให้ปริมาตร เลือดเพิ่มมากขึ้น
ปฏิบัติงานหรือฝึกในที่ร้อนจัด อุณหภูมิร่างกายสูงขึ้น หลอดเลือดที่ผิวหนังไม่ขยายตัว ไม่มีเหงื่อออก อุณหภูมิร่างกายสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว สมองได้รับอันตรายจากความร้อน ระบบการทำงานของอวัยวะต่างๆล้มเหลว Heat Stroke
ปี พศ.	จำนวนผู้ป่วย               ทภ.1	            ทภ.2	    ทภ.3                ทภ.4 254753-2		- 25484--13 2549             5--	      2		3 2550 65-	      -		1 2551             54-	      -		1 2552             8                          8 สถิติผู้ป่วย Heatstroke (กสวป.พบ.) Updated 12 มิ.ย .2552
ปี พศ.	จำนวนผู้ป่วย               ทภ.1	            ทภ.2	    ทภ.3                ทภ.4 2533	      20		  14		2	      4		- 2534	      33		  20		4	      9		- 2535             51		  38		11	      2		- 2536             21		  17		1	      -		3 2537             15		  10		2	      -		3 2538             15		  14		1	      -		- 2539             16		   8		2	      5		1 2540             16		  10		-	      6		- 2541	     30		  16		8	      5		1 2542	     10                 	   3                          1                    4                       2 2543	     19                         5                        10                    3                      1 2544         2545            22                         11                         5                   4                       2 2546            47                         37                         3                   5                       2
การวินิจฉัย ไข้สูง...core temperature มากกว่า 40.5 องศาเซลเซียส อาการทางสมอง...เป็นลม หมดสติ กระวนกระวาย ก้าวร้าว ประสาทหลอน ชัก  กลไกระบายความร้อนล้มเหลว...ทำให้อาจไม่มีเหงื่อได้
Outcome
Heatstroke มี 2 แบบ ได้แก่ Classical heatstroke Exertional heatstroke
Heat Stroke Classical HS เกิดจากคลื่นความร้อนในหน้าร้อน พบมากในประเทศตะวันตก เกิดอาการช้า คนแก่, เด็กเล็ก, ผู้ป่วยเรื้อรัง Exertional HS พบในคนอายุน้อย ผู้ที่ทำงานในที่ร้อน กลางแจ้ง กรรมกร, ทหารใหม่
Prevention Attention to environmental conditions Acclimatization for workers, military and others Adequate hydration Work schedules for those who need to work under adverse conditions Social service care for elderly and the chronically ill
Heat Injury Prevention Guide คำแนะนำเพื่อป้องกันการบาดเจ็บจากความร้อน ภยันตรายจากความร้อนเกิดขึ้นได้จาก 4 ปัจจัย ระดับความร้อน  จัดแบ่งตามระดับความรุนแรงหรือธงสัญญาณโดยใช้อุณหภูมิ,ความชื้นสัมพัทธ์ หรือ ค่าดัชนีความร้อน ระดับความหนักของกิจกรรม,การออกกำลังกายหรือการฝึก การปรับตัวต่อการออกกำลังกาย หรือการฝึก ในอากาศ ร้อน            เวลาที่สัมผัสกับอากาศร้อน ในแต่ละห้วงเวลา
การควบคุมป้องกันการเกิดโรคลมร้อน ตระหนักถึงความเสี่ยงต่อการเกิดโรคลมร้อน  ประสานกับหน่วยแพทย์ในพื้นที่เพื่อเตรียมพร้อม เตรียมความพร้อมในการป้องกันระดับหน่วย ตรวจสอบอุปกรณ์สำหรับวัดอุณหภูมิ – ความชื้นสัมพัทธ์ ติดตามค่าดัชนีความร้อนในพื้นที่การฝึก จัดการฝึกโดยยึดตามตารางการฝึกตามระดับความร้อน ให้มีระยะพักที่เพียงพอ ตรวจสอบให้มีการให้น้ำทดแทนที่เพียงพอ จัดให้มีการให้น้ำทดแทน โดยยึดตามตารางคำแนะนำการให้น้ำทดแทน ตรวจสอบว่าทหารทุกคนมีน้ำเพียงพอในภาชนะบรรจุ ไม่อนุญาตให้ทหารลดน้ำหนักสัมภาระโดยการเทน้ำทิ้งจากภาชนะ ตรวจสอบว่าทหารทุกนายไม่อยู่ในสภาพขาดน้ำ
ตรวจสอบว่ามีห้วงเวลานอนและรับประทานอาหารที่เพียงพอ จัดเวลาการรับประทานอาหารตามมื้อ จัดห้วงเวลาการนอนให้เพียงพอ จัดเครื่องแต่งกายให้เหมาะสม การฝึกในระดับความร้อนที่ 1-2  (ธงขาว-ธงเขียว)  ไม่มีข้อจำกัด การฝึกในระดับความร้อนที่ 3-5  (ธงเหลือง-ธงแดงและธงดำ) ควรแต่งชุดครึ่งท่อนและถอดหมวก ในการฝึก จัดให้มีระบบการตรวจสอบภายในหน่วย ใช้ระบบ ให้ทหารดูแลกันเอง จัดเจ้าหน้าที่รับผิดชอบและตรวจความพร้อมในการจัดการป้องกันระดับหน่วย ประสานหน่วยสายแพทย์หากมีข้อสงสัย
ธงสัญญาณ
อันตรายจากความร้อน  ศูนย์ป้องกันการเกิดโรคลมร้อน หน่วยเวชพิษวิทยา กองอายุรกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
ภาพโดย : พ.อ.ถนอม สุภาพร Airtemp oC Relative Humidity Heat Index Chart: Modified from US National Weather Service Source: Walker JS and Barnes SB. Heat Emergency in Emergency Medicine:  A Comprehensive Study Guide for the American College of Emergency Physicians 5th Edition, edited by Tintinalli. McGraw-Hill 2000: page 1237 Add 0.9oC if under direct sunlight
เว็บไซต์ที่สามารถใช้ตรวจสอบสภาพอากาศและประเมินค่าดัชนีความร้อนได้ http://www.wunderground.com/global/stations/48456.html http://mobile.wunderground.com/global/stations/48456.html http://www.tmd.go.th/index.php
www.heatstrokecenter.com
Management นอกโรงพยาบาล เคลื่อนย้ายสู่สถานที่ๆอากาศเย็นกว่า ลดอุณหภูมิร่างกายโดย  ถอดเสื้อผ้า  ประคบเย็นที่คอ รักแร้ ขาหนีบ,  พ่นผิวหนังด้วยสเปรย์ ใช้น้ำอุณหภูมิ 25-30 C เป่าด้วยพัดลม หรือเปิดหน้าต่างรถพยาบาล หากหมดสติ ให้จัดท่าให้เหมาะสม ออกซิเจน น้ำเกลือชนิด NSS รีบส่งต่อไปโรงพยาบาลในพื้นที่
Management In Hospital ABCDE IV NSS or RLS 10-20 mm/kg/hr Retain F/C, record urine output Core temp by rectal probe
Treatment of Heatstroke Initial resuscitation Cooling technique Treatment of complication
Initial Resuscitation ABCs Oxygen supplement, pulse oximetry, cardiac monitoring Intravenous access Foley’s catheter Thermometer  Diagnostic lab studies
Cooling  Rapid reduction of core temperature to 38oC is primary goal of treatment Antipyretics are not effective Physical cooling techniques Technique of choice is Evaporative Cooling Cooling efforts should be discontinued when rectal temperature reaches 38oC to avoid “overshoot hypothermia”
Applied Essential Devices for Proper Cooling Technique in PMK Cont Temp monitors(rectal, skin) Water sprays Electric fans A warm-air blower
Cooling Management
Monthly Incidence
แผนการดูแลผู้ป่วยโรคลมร้อน Heat StrokeCPGประจำปี 2552 คณะทำงาน ศูนย์ปฏิบัติการโรคลมร้อน  โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
ER รับแจ้งมีผู้ป่วย Notify เวรประจำวัน -แพทย์เวรเวชศาสตร์ฉุกเฉิน, แพทย์เวรอายุรกรรม -หัวหน้าแพทย์เวรอายุรกรรม -Fellow Critical Care และหน่วยที่เกี่ยวข้อง (หัวหน้าแพทย์เวรอายุรกรรมพิจารณา) -ผอ.กองอายุรกรรม หรือ Staffเวรอายุรกรรม -ผอ. หรือ ผอ.นอกเวลา -พยาบาลเวรนิเทศประจำวัน -หน.พยาบาล ICUอายุรกรรม หรือ ICUราชการสนาม -เลขานุการ คณะทำงาน ศูนย์ปฏิบัติการโรคลมร้อน หรือ ผู้แทน เตรียมอุปกรณ์ -Resussitation Area และ Resussitation Cart -พัดลม 2-3 เครื่อง -ที่พรมน้ำบรรจุน้ำอุณหภูมิห้อง 2-3 อัน -Hair dryer 1-2 เครื่อง -Hypothermic blanket พร้อม rectal probe
Care-map เมื่อผู้ป่วยมาถึง ประเมินความรุนแรงและการช่วยเหลือเบื้องต้นที่ ER Airway Breathing ดูการหายใจ, ติด  pulse oxymeter ถ้ามี signsของ respiratory failure ให้ intubate และ เริ่มใช้ respiratorพร้อม monitor oxygen saturation Circulation ดู blood pressure, pulse เปิดเส้นเลือด ด้วย NSSอัตราความเร็ว fluid ตามคำสั่งแพทย์ ส่งเลือดตรวจ HEAT PANEL (CBC, coagulogram, BUN, Cr, electrolyte, BS,CPK, Ca, P, Mg, uric acid, LFT) Hemoculture x 2 specimens เก็บ clotted blood 10 ซีซี  สำหรับการตรวจเพิ่มเติม ถ้าผู้ป่วยมี hypotensionให้แพทย์เวรเวชศาสตร์ฉุกเฉิน หรือแพทย์เวรอายุรกรรม  เริ่ม fluid resussitation และ monitorCVP ปรับประเภท fluidตามผลตรวจ blood sugar และelectrolytes 0-5  นาทีแรก 5-10  นาทีแรก

Contenu connexe

Tendances

11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
Cerebrovascular accident(cva) stroke
Cerebrovascular accident(cva) strokeCerebrovascular accident(cva) stroke
Cerebrovascular accident(cva) strokeMUHAMMED MUHSIN KK
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...Utai Sukviwatsirikul
 
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจหลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจPadvee Academy
 
แนวทางรักษา stroke-fast-track 2007
แนวทางรักษา stroke-fast-track 2007แนวทางรักษา stroke-fast-track 2007
แนวทางรักษา stroke-fast-track 2007Utai Sukviwatsirikul
 
Newborn nt ปี 5
Newborn nt ปี 5Newborn nt ปี 5
Newborn nt ปี 5Hummd Mdhum
 
สารสนเทศโรงเรียนแม่สะเรียง"บริพัตรศึกษา" ปี2563
สารสนเทศโรงเรียนแม่สะเรียง"บริพัตรศึกษา" ปี2563สารสนเทศโรงเรียนแม่สะเรียง"บริพัตรศึกษา" ปี2563
สารสนเทศโรงเรียนแม่สะเรียง"บริพัตรศึกษา" ปี2563Somchart Phaeumnart
 
รูใหว่โอโซน
รูใหว่โอโซนรูใหว่โอโซน
รูใหว่โอโซนdnavaroj
 
โครงการทานตะวันงอก P sinchai
โครงการทานตะวันงอก   P sinchaiโครงการทานตะวันงอก   P sinchai
โครงการทานตะวันงอก P sinchaiSnnutch Sinchai
 
TRAUMATIC BRAIN INJURY NEurosugery presentation.pptx
TRAUMATIC BRAIN INJURY NEurosugery presentation.pptxTRAUMATIC BRAIN INJURY NEurosugery presentation.pptx
TRAUMATIC BRAIN INJURY NEurosugery presentation.pptxRUTAYISIRE François Xavier
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวJitrapron Tongon
 

Tendances (20)

Febrile seizures
Febrile seizuresFebrile seizures
Febrile seizures
 
เนื้อหา
เนื้อหาเนื้อหา
เนื้อหา
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
Acute Mi
Acute MiAcute Mi
Acute Mi
 
Cerebrovascular accident(cva) stroke
Cerebrovascular accident(cva) strokeCerebrovascular accident(cva) stroke
Cerebrovascular accident(cva) stroke
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
 
Cpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in childrenCpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in children
 
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจหลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
 
แนวทางรักษา stroke-fast-track 2007
แนวทางรักษา stroke-fast-track 2007แนวทางรักษา stroke-fast-track 2007
แนวทางรักษา stroke-fast-track 2007
 
57 submath
57 submath57 submath
57 submath
 
Newborn nt ปี 5
Newborn nt ปี 5Newborn nt ปี 5
Newborn nt ปี 5
 
สารสนเทศโรงเรียนแม่สะเรียง"บริพัตรศึกษา" ปี2563
สารสนเทศโรงเรียนแม่สะเรียง"บริพัตรศึกษา" ปี2563สารสนเทศโรงเรียนแม่สะเรียง"บริพัตรศึกษา" ปี2563
สารสนเทศโรงเรียนแม่สะเรียง"บริพัตรศึกษา" ปี2563
 
Head Injuries
Head InjuriesHead Injuries
Head Injuries
 
รูใหว่โอโซน
รูใหว่โอโซนรูใหว่โอโซน
รูใหว่โอโซน
 
Head injury
Head injuryHead injury
Head injury
 
ฝึกคิดเลขเร็ว ป4(1)
ฝึกคิดเลขเร็ว   ป4(1)ฝึกคิดเลขเร็ว   ป4(1)
ฝึกคิดเลขเร็ว ป4(1)
 
Warning sign iicp
Warning sign iicpWarning sign iicp
Warning sign iicp
 
โครงการทานตะวันงอก P sinchai
โครงการทานตะวันงอก   P sinchaiโครงการทานตะวันงอก   P sinchai
โครงการทานตะวันงอก P sinchai
 
TRAUMATIC BRAIN INJURY NEurosugery presentation.pptx
TRAUMATIC BRAIN INJURY NEurosugery presentation.pptxTRAUMATIC BRAIN INJURY NEurosugery presentation.pptx
TRAUMATIC BRAIN INJURY NEurosugery presentation.pptx
 
กากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิวกากกาแฟสครับผิว
กากกาแฟสครับผิว
 

En vedette

Occupational health 23 nov 2012
Occupational  health 23 nov 2012Occupational  health 23 nov 2012
Occupational health 23 nov 2012drahmadflash
 
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยSumon Kananit
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นJanjira Majai
 
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยNarenthorn EMS Center
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลSumon Kananit
 
occupational health overview
occupational health overviewoccupational health overview
occupational health overviewladdha1962
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆDashodragon KaoKaen
 
Cold Injuries - Donald Pelto, DPM
Cold Injuries - Donald Pelto, DPMCold Injuries - Donald Pelto, DPM
Cold Injuries - Donald Pelto, DPMDonald Pelto
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยtechno UCH
 
โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014Hospital for Health
 
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)Sureerut Physiotherapist
 
บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์Wanphen Wirojcharoenwong
 

En vedette (20)

Heat Stroke
Heat Stroke Heat Stroke
Heat Stroke
 
Occupational health 23 nov 2012
Occupational  health 23 nov 2012Occupational  health 23 nov 2012
Occupational health 23 nov 2012
 
Heat Injury Prevention
Heat Injury PreventionHeat Injury Prevention
Heat Injury Prevention
 
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
 
heat stroke
heat strokeheat stroke
heat stroke
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
 
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
 
ปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาลปฐมพยาบาล
ปฐมพยาบาล
 
Ppt+การยศ..
Ppt+การยศ..Ppt+การยศ..
Ppt+การยศ..
 
occupational health overview
occupational health overviewoccupational health overview
occupational health overview
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
Cold Injuries - Donald Pelto, DPM
Cold Injuries - Donald Pelto, DPMCold Injuries - Donald Pelto, DPM
Cold Injuries - Donald Pelto, DPM
 
Stroke
StrokeStroke
Stroke
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Heat illness
Heat illnessHeat illness
Heat illness
 
โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014
 
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
Stroke(ปรับปรุงครั้งที่2)
 
บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์
 
Heat stroke
Heat strokeHeat stroke
Heat stroke
 

Plus de Thitisak Kitthaweesin (6)

Toxic alcohol
Toxic alcohol Toxic alcohol
Toxic alcohol
 
Herbs and kidney
Herbs and kidneyHerbs and kidney
Herbs and kidney
 
CKD prevention
CKD prevention CKD prevention
CKD prevention
 
Food poisoning
Food poisoningFood poisoning
Food poisoning
 
Hydrofluoric acid
Hydrofluoric acidHydrofluoric acid
Hydrofluoric acid
 
Supra Rx Dose of ARBs
Supra Rx Dose of ARBsSupra Rx Dose of ARBs
Supra Rx Dose of ARBs
 

Heatstroke update