SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  5
Télécharger pour lire hors ligne
นิยามศัพท์เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา 
(QA Glossary) 
กระบวนการ (Process): 
กิจกรรม (activity) หรือชุดของกิจกรรมที่สัมพันธ์กัน ที่ทำกำรเปลี่ยนปัจจัยนำเข้ำ (input) ให้เป็นผลผลิต (output) ที่มีมูลค่ำเพิ่ม (value-added) 
กลไก (Mechanism): 
ส่วนย่อย (parts) ของระบบที่มีองค์ประกอบจำนวนหนึ่งทำหน้ำที่ร่วมกัน องค์ประกอบเหล่ำนี้ หมำยรวมถึง ทรัพยำกรบุคคล ทรัพยำกรทำงกำยภำพ วิธีปฏิบัติ (operation method) และ/หรือระเบียบปฏิบัติ (procedures) 
กลยุทธ์ (Strategy): ความหมายเดียวกันกับ ยุทธศาสตร์ 
แนวทำงหรือวิธีทำงำนที่ดีที่สุด เพื่อให้องค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ ภำรกิจและวิสัยทัศน์ที่กำหนดไว้ ตัวอย่ำง เช่น “จัดทำระบบฐำนข้อมูลและระบบเครือข่ำยที่สมบูรณ์และทันสมัย” หรือ“พัฒนำวิธีกำรลดต้นทุนกำรบริหำรจัดกำร” 
การควบคุมคุณภาพ (Quality Control): 
กำรมีระบบและกลไกในแต่ละองค์ประกอบคุณภำพ เพื่อกำกับกำรดำเนินงำนของสถำนศึกษำให้ได้ผลตำมรำยกำร ตรวจสอบและตัวบ่งชี้คุณภำพที่กำหนด 
การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit): 
กระบวนกำรในกำรศึกษำวิเครำะห์ว่ำสถำบันมีระบบและกลไกกำกับและควบคุมคุณภำพ และมีกำรปฏิบัติตำมระบบ และกลไกดังกล่ำว 
การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management): 
ศำสตร์และศิลป์ในกำรดำเนินกำรในสำมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกัน คือ กำรวำงแผนกลยุทธ์ (strategic planning) กำร ปฏิบัติตำมแผนกลยุทธ์ (strategic implementation) และกำรควบคุมและประเมินผลกลยุทธ์ (strategic control and evaluation) 
การประกันคุณภาพการศึกษา (Quality Assurance): 
กำรมีระบบและกลไกในกำรควบคุมตรวจสอบและประเมินกำรดำเนินงำนในแต่ละองค์ประกอบคุณภำพตำม รำยกำรตรวจสอบ (audit checklist) และตัวบ่งชี้คุณภำพ (quality indicators) ที่กำหนด เพื่อเป็นหลักประกันแก่ผู้ที่มี ส่วนเกี่ยวข้องและสำธำรณชนได้มั่นใจว่ำสถำนศึกษำแห่งนั้นสำมำรถให้ผลผลิตทำงกำรศึกษำที่มีคุณภำพ 
การประกันคุณภาพภายใน (Internal Quality Assurance): 
กำรติดตำมตรวจสอบและกำรประเมินคุณภำพและมำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำจำกภำยในโดยบุคลำกรของ สถำนศึกษำนั้นเอง หรือโดยหน่วยงำนต้นสังกัดที่มีหน้ำที่กำกับดูแลสถำนศึกษำนั้น 
การประกันคุณภาพภายนอก (External Quality Assurance): 
กำรติดตำมตรวจสอบและกำรประเมินคุณภำพและมำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำโดยสำนักงำนรับรอง มำตรฐำนและประเมินคุณภำพกำรศึกษำ (สมศ.) หรือบุคคลหรือหน่วยงำนภำยนอกที่ สมศ. รับรองเพื่อเป็น กำรประกันคุณภำพและให้มีกำรพัฒนำคุณภำพและมำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำ 
การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment): 
กระบวนกำรวิเครำะห์และเปรียบเทียบผลกำรดำเนินงำนของสถำนศึกษำตำมรำยกำรตรวจสอบและตัวบ่งชี้ คุณภำพที่กำหนดว่ำอยู่ในระดับใด
การวางแผนเชิงกลยุทธ์ (Strategic Planning): 
กำรวำงแผนที่ครอบคลุมถึงกำรวิเครำะห์เชิงกลยุทธ์ และกำรกำหนดกลยุทธ์ กำรกำหนดวิสัยทัศน์ ภำรกิจ วัตถุประสงค์ และกลยุทธ์ที่จะนำไปสู่กำรบรรลุวิสัยทัศน์ 
การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค (SWOT Analysis): 
กำรวิเครำะห์เพื่อค้นหำจุดแข็ง (strength) และจุดอ่อน (weakness) ซึ่งเป็นสภำพภำยในขององค์กร และวิเครำะห์ โอกำส (opportunities) และอุปสรรค (threat) ซึ่งเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับสภำพแวดล้อม ภำยนอกองค์กร ซึ่งรวมถึง ปัจจัยทำงกำรเมือง เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี 
การวิเคราะห์ปัจจัยทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี (PEST Analysis): 
กำรวิเครำะห์สภำพแวดล้อมภำยนอกองค์กรที่จะมีผลกระทบต่อควำมอยู่รอดและกำรเติบโตอย่ำงยั่งยืนของ องค์กร โดยมุ่งเน้นปัจจัยทำงด้ำนกำรเมือง เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี 
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน: 
กำรรวบรวมและวิเครำะห์ข้อมูลในชั้นเรียน เพื่อหำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงปัจจัยที่มีผลต่อคุณภำพและสัมฤทธิผล กำรเรียนรู้ของนักศึกษำ อำทิ วิธีกำรสอน วิธีกำรเรียนรู้ของนักศึกษำ อุปกรณ์และสื่อกำรสอน แหล่งเรียนรู้ วิธีวัด และประเมินผล เป็นต้น ผลกำรวิจัยจะช่วยให้อำจำรย์ผู้สอนสำมำรถพัฒนำกำรเรียนกำรสอนได้อย่ำงเป็นระบบ ยิ่งขึ้น 
การประเมินหลักสูตร: 
กำรประเมินคุณค่ำ ควำมทันสมัยและควำมสอดคล้องกับควำมต้องกำรของตลำดงำนของหลักสูตรแต่ละสำขำวิชำ โดยอำศัยกำรรวบรวม วิเครำะห์และสรุปผลกำรสำรวจควำมเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ อำจำรย์ บัณฑิต และผู้ว่ำจ้ำง บัณฑิตในสำขำวิชำนั้น ๆ กำรประเมินหลักสูตรควรมีกำรดำเนินกำรเป็นประจำ อย่ำงน้อยหนึ่งครั้งในรอบ 5 ปี และ อำจมีกำรเสนอปรับปรุงหลักสูตรในกรณีจำเป็น 
การวิจัยเชิงนโยบาย (Policy Research): 
กำรวิจัยเพื่อหำแนวทำงและนโยบำยกำรดำเนินกำรที่จะเป็นประโยชน์ต่อชุมชนและประเทศชำติ โดยอำจนำผล กำรวิจัยเสนอแนะต่อรัฐบำลหรือแหล่งทุนวิจัยอื่นๆ ซึ่งจะเป็นกำรสร้ำงสรรค์โอกำสในกำรขอควำมสนับสนุน กำรวิจัยต่อเนื่องที่จะเป็นกำรสร้ำงองค์ควำมรู้ใหม่หรือนวัตกรรมต่ำงๆ ต่อไป 
การศึกษา (Education): 
กระบวนกำรเรียนรู้เพื่อควำมเจริญงอกงำมของบุคคลและสังคม โดยกำรถ่ำยทอดควำมรู้ กำรฝึกอบรม กำรสืบสำนทำงวัฒนธรรม กำรสร้ำงสรรจรรโลงควำมก้ำวหน้ำทำงวิชำกำร กำรสร้ำงองค์ควำมรู้อันเกิดจำก กำรจัด สภำพแวดล้อมสังคม กำรเรียนรู้และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้อย่ำงต่อเนื่องตลอดชีวิต 
กลุ่มวิจัย: 
คณะบุคคลที่ประกอบด้วยผู้วิจัยและผู้ช่วยวิจัยที่ร่วมกันทำงำนเพื่อผลิตผลงำนวิจัยที่คุณภำพและสนอง ควำมต้องกำรของชุมชนและประเทศชำติ โดยดำเนินงำนในลักษณะที่ผู้วิจัยอำวุโสที่มีชื่อเสียง มีควำมสำมำรถและ ประสบกำรณ์สูงคอยให้กำรสนับสนุนเกื้อกูลผู้วิจัยหรือผู้ช่วยวิจัยรุ่นเยำว์ให้มีโอกำสเรียนรู้และพัฒนำตนเองจนเป็น ผู้วิจัยที่มีชื่อเสียงและควำมสำมำรถต่อไปในอนำคต กลุ่มวิจัยในระดับคณะอำจแบ่งเป็น หน่วยวิจัย (research unit) ห้องปฏิบัติกำรวิจัย (research lab) หรือ ศูนย์วิจัย (research centre) 
คุณภาพ (Quality): 
ผลรวมของคุณลักษณะและคุณสมบัติของผลผลิตได้แก่ บัณฑิต ผลงำนวิจัย บริกำรวิชำกำร ที่ทำให้เกิด ควำมพึงพอใจแก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 
จุดประสงค์/ความประสงค์ (Purpose): ดู วัตถุประสงค์ 
จุดมุ่งหมาย (Aim): ดู วัตถุประสงค์
ตัวบ่งชี้คุณภาพ (Quality Indicators): 
ตัวบ่งชี้ว่ำกำรดำเนินงำนในแต่ละองค์ประกอบคุณภำพเป็นไปตำมเกณฑ์หรือมำตรฐำนที่พึงประสงค์ 
นโยบาย (Policy): 
แนวทำงกว้ำง ๆ ที่กำหนดขึ้นสำหรับกำรปฏิบัติและกำรควบคุม ที่จะทำให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร 
ปัจจัยหลักแห่งความสาเร็จ (Key Success Factors): 
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับวิธีกำรรู้จักใช้ควำมสำมำรถอันโดดเด่นหรือควำมสำมำรถหลัก (core competencies) ขององค์กร ให้ถูกต้องและเหมำะสม เพื่อประโยชน์ในกำรสร้ำงควำมสำเร็จให้เกิดขึ้นภำยใต้สภำวะกำรแข่งขันของ องค์กร ต่ำง ๆ โดยพิจำรณำจำกองค์ประกอบทำงกำรบริหำร อำทิ กำรวำงแผน องค์กรและโครงสร้ำง ทรัพยำกร บุคคล ระบบทำงำน ระบบบัญชีและกำรเงิน ระบบพัสดุ ระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศ สถำนภำพในกำรแข่งขัน และกำร พัฒนำองค์กร 
ปรัชญา (Philosophy): 
ระบบควำมเชื่อที่เป็นผลจำกกำรแสวงหำควำมรู้และควำมเข้ำใจเกี่ยวกับธรรมชำติและกำรแสวงหำควำมหมำยของ ชีวิตและสรรพสิ่งต่ำง ๆ 
ประมวลรายวิชา (Course Syllabus): 
เอกสำรแสดงรำยละเอียดของแต่ละกระบวนวิชำ ได้แก่ จำนวนหน่วยกิต เงื่อนไขที่ต้องผ่ำนก่อน คำอธิบำยกระบวน วิชำ วัตถุประสงค์ เนื้อหำ อุปกรณ์กำรศึกษำ สื่อกำรสอน ตำรำ วำรสำร และทรัพยำกรกำรเรียนรู้อื่น ๆ ที่ใช้ประกอบ รวมทั้งวิธีกำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู้ 
ประสิทธิผล (Effectiveness): 
ผลลัพธ์ของกำรปฏิบัติตำมแผนดำเนินกำรจนบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ 
ประสิทธิภาพ (Efficiency): 
ผลลัพธ์ของกำรปฏิบัติตำมแผนดำเนินกำรที่สิ้นเปลืองทรัพยำกรน้อยที่สุด 
ปณิธาน (Will): 
ควำมตั้งใจหรือควำมปรำรถนำอย่ำงแรงกล้ำที่จะบรรลุจุดมุ่งหมำยที่ตนเองให้คุณค่ำและมีควำมเชื่อ ซึ่งก่อให้เกิด พลังจิตที่จะกำหนดควำมคิดและกระทำของตนเอง 
เป้าประสงค์ (Goal): ดู วัตถุประสงค์ 
เป้าหมาย (Target): ดูเปรียบเทียบกับ วัตถุประสงค์ 
ผลสำเร็จที่ต้องกำรภำยในระยะเวลำที่กำหนด โดยมักระบุเป็นจำนวนเลข เพื่อควำมชัดเจนและสะดวกใน กำรติดตำมและประเมินผลแผนงำนหรือโครงกำร 
แผน (Plan): 
ควำมคิดหรือวิธีกำรที่ได้ผ่ำนกำรคิดอย่ำงละเอียดมำแล้วล่วงหน้ำสำหรับชี้นำกำรดำเนินกำรใด ๆ กำรวำงแผนมักมี กำรกำหนดวัตถุประสงค์ เป้ำหมำย และกรอบเวลำของแผนอย่ำงชัดเจน 
แผนการสอน (Teaching Plan): 
เอกสำรแสดงรำยละเอียดของแต่ละบทเรียนในกระบวนวิชำต่ำง ๆ ซึ่งกล่ำวถึง เนื้อหำและวัตถุประสงค์ของ บทเรียน วิธีกำรเรียนกำรสอน อุปกรณ์ สื่อกำรสอน และทรัพยำกรกำรเรียนรู้ที่ใช้ และอำจรวมถึงวิธีกำรวัดและ ประเมินผลกำรเรียนรู้ในแต่ละบทเรียน 
แผนดาเนินการ : ความหมายเดียวกันกับ แผนปฏิบัติการ (Action plan) 
ควำมคิดหรือวิธีกำรที่ได้ผ่ำนกำรคิดและวิเครำะห์เชิงกลยุทธ์ หรือ SWOT Analysis อย่ำงละเอียดมำแล้ว สำหรับชี้นำ กำรดำเนินกำรตำมกลยุทธ์ที่จะนำไปสู่กำรบรรลุวิสัยทัศน์ขององค์กร กำรจัดทำแผนปฏิบัติกำรจะมีกำรระบุ วัตถุประสงค์ เป้ำหมำย กำรจัดสรรทรัพยำกร และกรอบเวลำของแผนอย่ำงชัดเจน
แผนปฏิบัติการ (Operation Plan): ดู แผนดาเนินการ (action plan) 
แผนระยะ 5 ปี: 
แผนระยะ 5 ปี ที่หน่วยงำนจัดทำขึ้นตำมรอบเวลำของแผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ซึ่งปัจจุบันเป็น แผนพัฒนำฯ ระยะที่ 9 ระหว่ำง พ.ศ. 2545-2549 กำรจัดทำแผนระยะ 5 ปีควรเป็นไปตำมกระบวนกำร วำงแผน เชิงกลยุทธ์ 
แผนดาเนินการประจาปี: 
แผนดำเนินกำรที่กำหนดขึ้นสำหรับชี้นำกำรดำเนินกำรในแต่ละปี โดยมีกำรระบุวัตถุประสงค์ เป้ำหมำย กำรจัดสรรทรัพยำกร และกรอบเวลำอย่ำงชัดเจน 
ผลผลิตทางการศึกษา: 
ผลกำรดำเนินตำมภำรกิจหลักประกอบด้วยกำรผลิตบัณฑิต กำรวิจัย กำรบริกำรทำงวิชำกำรแก่ชุมชน กำรทำนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรมและภำรกิจอื่น ๆ ของสถำบันอุดมศึกษำ 
พันธกิจ (Mission): ดู ภารกิจ 
ภารกิจ (Mission): ความหมายเดียวกันกับ พันธกิจ 
ขอบเขตของงำน หรือ บทบำทหน้ำที่ซึ่งองค์กรต้องทำในลักษณะอำณัติ (mandate) เพื่อให้องค์กรบรรลุ วิสัยทัศน์ที่ กำหนดไว้ ตัวอย่ำง “มหำวิทยำลัยเชียงใหม่พึงจัดกำรกำรเรียนกำรสอนที่มีคุณภำพตำมมำตรฐำนสำกล” 
มาตรฐานการจัดการทางการเงิน Seven Hurdles: 
มำตรฐำนเกี่ยวกับกำรจัดกำรทำงกำรเงินที่กำหนดให้หน่วยงำนภำครัฐจะต้องมีขีดควำมสำมำรถตำมเงื่อนไขของ Seven Hurdles คือ กำรวำงแผนงบประมำณ (budget planning) กำรคำนวณต้นทุนผลผลิต (output costing) กำร จัดระบบกำรจัดซื้อจัดจ้ำง (procurement management)กำรบริหำรทำงกำรเงินและควบคุมงบประมำณ (financial management/and fund control) กำรบริหำร สินทรัพย์ (asset management) กำรรำยงำนทำงกำรเงินและผลกำร ดำเนินงำน (financial and performance reporting) และกำรตรวจสอบภำยใน (internal audit) 
มาตรฐานการศึกษา (Education Standards): 
ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะและคุณภำพที่พึงประสงค์ และมำตรฐำนที่ต้องกำรให้เกิดขึ้นในสถำนศึกษำทุกแห่ง เพื่อใช้เป็นหลักในกำรเทียบเคียงสำหรับกำรส่งเสริมและกำกับดูแล กำรตรวจสอบ กำรประเมินผล และ กำรประกันคุณภำพกำรศึกษำ 
ยุทธศาสตร์ (Strategy): ดู กลยุทธ์ 
รายงานการศึกษาตนเอง (Self-Study Report): 
รำยงำนที่แสดงผลกำรปฏิบัติงำนของหน่วยงำนในรอบปีที่ผ่ำนมำว่ำมีกำรดำเนินกำรตำมระบบและกลไก กำรประกันคุณภำพกำรศึกษำหรือไม่ และมีกำรวิเครำะห์จุดแข็ง จุดอ่อนของหน่วยงำน ตลอดจนแนวทำงแก้ไข 
รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report): 
รำยงำนที่แสดงผลกำรปฏิบัติงำนของหน่วยงำน ในรอบปีที่ผ่ำนมำ และมีกำรวิเครำะห์จุดแข็ง จุดอ่อน วำงแผนกำร แก้ไขจุดอ่อน เสริมจุดแข็งของวิธีปฏิบัติงำนให้มีประสิทธิภำพและประสิทธิผลมำกขึ้น 
รายงานการประเมินคุณภาพสถาบัน: 
รำยงำนประจำปีที่สถำบันจัดทำขึ้นเพื่อประเมินกำรดำเนินงำนของสถำบันโดยภำพรวม เสนอสำนักงำนรับรอง มำตรฐำนและประเมินคุณภำพกำรศึกษำ เพื่อขอรับกำรประเมินสถำบัน 
ระบบ (System): 
(1) สภำวะหรือสิ่งที่เกิดจำกกำรรวมตัวกันขององค์ประกอบ (components) ที่มีควำมเชื่อมโยงกัน (interconnectedness) โดยมีรูปแบบ (pattern) หรือโครงสร้ำง (structure) ที่ชัดเจน องค์ประกอบเหล่ำนี้ต่ำงมีหน้ำที่ (function) ของตนเอง พร้อมกับมีปฏิสัมพันธ์ (interaction) และกำรประสำน (co-ordination) กำรทำงำนกับ องค์ประกอบอื่น ๆ
(2) กระบวนกำร (processes) หรือระเบียบปฏิบัติ (procedures) ที่เชื่อมโยงกันอย่ำงเป็นระเบียบ มี รูปแบบ (pattern) หรือโครงสร้ำง (structure) ที่ชัดเจน 
ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน (Performance-Based Budgeting System): 
ระบบงบประมำณที่ให้ควำมสำคัญกับกำรกำหนดภำรกิจ (mission) ขององค์กร วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ แผนงำน งำน/โครงกำร อย่ำงเป็นระบบ มีกำรติดตำม และประเมินผลสม่ำเสมอ เพื่อวัดผลสำเร็จของงำน เป็นระบบที่ เชื่อมโยงกำรบริหำรจัดกำรทรัพยำกร กำรเงิน และพัสดุ ที่สะท้อนให้เห็นถึงผลสำเร็จของงำนหรือ ภำรกิจต่ำง ๆ ขององค์กร หรือ ของรัฐภำยใต้หลักธรรมภิบำล (good governance) เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชำชนและ ทำให้ประเทศชำติมั่งคั่ง มั่นคง และพึ่งตนเองได้ 
ระบบฐานข้อมูล (Database System): 
ระบบกำรจัดเก็บข้อมูลที่สำมำรถทำกำรรวบรวม วิเครำะห์ ประมวลผล และนำเสนอได้สะดวก รวดเร็ว และ ทันกำรณ์ โดยควรจัดทำเป็นระบบฐำนข้อมูลออนไลน์ 
ระบบบริหารคุณภาพ (Quality Management System): 
ระบบบริหำรจัดกำรเพื่อมุ่งให้เกิดกำรพัฒนำคุณภำพกำรดำเนินงำนอย่ำงต่อเนื่อง และมุ่งให้เกิดประสิทธิภำพและ ประสิทธิผลในกำรดำเนินงำนตำมภำรกิจและวัตถุประสงค์ขององค์กร ระบบบริหำรคุณภำพมีหลำยระบบ ได้แก่ ระบบ Input-Process-Output-Outcome (IPOO) ระบบ Total Quality Management (TQM) ระบบ ISO และระบบ Malcolm Baldridge Quality Award (MBQA) ระบบของมหำวิทยำลัยเชียงใหม่เป็นแบบผสมผสำนระหว่ำง ระบบ IPOO กับ TQM 
วัตถุประสงค์ (Objective): ความหมายเดียวกันกับ จุดมุ่งหมาย (aim) จุดประสงค์/ความประสงค์ (purpose) เป้าประสงค์ (goal) 
(1) สิ่งที่ต้องกำรจะบรรลุด้วยควำมมุ่งมั่น ตั้งใจ และเพียรพยำยำม 
(2) ผลสำเร็จที่ต้องกำรจะบรรลุภำยในระยะเวลำที่กำหนด 
วิสัยทัศน์ (Vision): 
ควำมคำดหวังในอนำคตขององค์กรที่ต้องกำรจะเป็น (โดยมิได้กำหนดวิธีกำรไว้) เป็นข้อควำมซึ่งกำหนดทิศทำงของ ภำรกิจ ตัวอย่ำง “ มหำวิทยำลัยเชียงใหม่จักเป็นมหำวิทยำลัยที่มุ่งเน้นกำรวิจัย กำรมีคุณภำพ ควำมเป็นเลิศทำง วิชำกำร และกำรพึ่งพำตนเองได้ภำยใน พ.ศ. 2549” 
สถานศึกษา: 
สถำนพัฒนำเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนย์กำรเรียน วิทยำลัย สถำบัน มหำวิทยำลัย หน่วยงำนกำรศึกษำหรือ หน่วยงำนอื่นของรัฐหรือเอกชนที่มีอำนำจหน้ำที่หรือมีวัตถุประสงค์ในกำรจัดกำรศึกษำ 
แหล่งสารนิเทศ: 
แหล่งควำมรู้ ข้อมูลและสำรสนเทศในรูปแบบต่ำง ๆ ได้แก่ ตำรำ วำรสำร สิ่งพิมพ์ ฐำนข้อมูลออนไลน์ สื่อ อิเล็กโทรนิกส์ และสื่อผสมต่ำง ๆ 
องค์ประกอบคุณภาพ (Quality Factors): 
ปัจจัยหลักในกำรดำเนินงำนของสถำบันที่มีผลต่อคุณภำพกำรศึกษำ ได้แก่ ปรัชญำ ปณิธำน ภำรกิจและ วัตถุประสงค์ กำรเรียนกำรสอน กำรพัฒนำและสนับสนุนนักศึกษำ กำรวิจัย กำรบริกำรวิชำกำรแก่ชุมชน กำรทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม กำรบริหำรและจัดกำร กำรเงินและงบประมำณ และ กำรประกันคุณภำพ

Contenu connexe

Tendances

ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
Nithimar Or
 
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
maruay songtanin
 
Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ
Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญKey factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ
Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ
maruay songtanin
 
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
Development Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 
2016 key theme สรุปสำหรับผู้บริหารสูงสุด
2016 key theme สรุปสำหรับผู้บริหารสูงสุด2016 key theme สรุปสำหรับผู้บริหารสูงสุด
2016 key theme สรุปสำหรับผู้บริหารสูงสุด
maruay songtanin
 
Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553
Areté Partners
 
Workforce from role models การมุ่งเน้นบุคลากร
Workforce from role models การมุ่งเน้นบุคลากรWorkforce from role models การมุ่งเน้นบุคลากร
Workforce from role models การมุ่งเน้นบุคลากร
maruay songtanin
 
Knowledge, learning, and innovation ความรู้ การเรียนรู้ และการสร้างนวัตกรรม
Knowledge, learning, and innovation ความรู้ การเรียนรู้ และการสร้างนวัตกรรม Knowledge, learning, and innovation ความรู้ การเรียนรู้ และการสร้างนวัตกรรม
Knowledge, learning, and innovation ความรู้ การเรียนรู้ และการสร้างนวัตกรรม
maruay songtanin
 
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
Punyapon Tepprasit
 

Tendances (20)

ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
The integrated management system 2015
The integrated management system 2015The integrated management system 2015
The integrated management system 2015
 
Overall requirements in 2015 2016
Overall requirements in 2015 2016Overall requirements in 2015 2016
Overall requirements in 2015 2016
 
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
2016 criteria category and item commentary คำอธิบายเกณฑ์รายหัวข้อ
 
2016 comment guidelines แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น
2016 comment guidelines แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น2016 comment guidelines แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น
2016 comment guidelines แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น
 
Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ
Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญKey factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ
Key factors linkage การเชื่อมโยงปัจจัยสำคัญ
 
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศ
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศHuman Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศ
Human Capital Management ทุนมนุษย์จัดการให้ดีสู่ดีเลิศ
 
Progress level criteria for performance excellence เกณฑ์สู่ความเป็นเลิศขั้นก้...
Progress level criteria for performance excellence เกณฑ์สู่ความเป็นเลิศขั้นก้...Progress level criteria for performance excellence เกณฑ์สู่ความเป็นเลิศขั้นก้...
Progress level criteria for performance excellence เกณฑ์สู่ความเป็นเลิศขั้นก้...
 
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บทความ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
Strategy insights รู้ลึกเรื่องยุทธศาสตร์
Strategy insights รู้ลึกเรื่องยุทธศาสตร์Strategy insights รู้ลึกเรื่องยุทธศาสตร์
Strategy insights รู้ลึกเรื่องยุทธศาสตร์
 
2016 key theme สรุปสำหรับผู้บริหารสูงสุด
2016 key theme สรุปสำหรับผู้บริหารสูงสุด2016 key theme สรุปสำหรับผู้บริหารสูงสุด
2016 key theme สรุปสำหรับผู้บริหารสูงสุด
 
Tqa
TqaTqa
Tqa
 
Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553Thailand Quality Award 2553
Thailand Quality Award 2553
 
Tqa
TqaTqa
Tqa
 
Workforce from role models การมุ่งเน้นบุคลากร
Workforce from role models การมุ่งเน้นบุคลากรWorkforce from role models การมุ่งเน้นบุคลากร
Workforce from role models การมุ่งเน้นบุคลากร
 
Knowledge, learning, and innovation ความรู้ การเรียนรู้ และการสร้างนวัตกรรม
Knowledge, learning, and innovation ความรู้ การเรียนรู้ และการสร้างนวัตกรรม Knowledge, learning, and innovation ความรู้ การเรียนรู้ และการสร้างนวัตกรรม
Knowledge, learning, and innovation ความรู้ การเรียนรู้ และการสร้างนวัตกรรม
 
No1
No1No1
No1
 
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ กับความสำเร็จในการบริหารจัดการองค์กร
 
Swot(sk)
Swot(sk)Swot(sk)
Swot(sk)
 
Po
PoPo
Po
 

Similaire à Cmu qa manual 49 qa-glossary

การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการ
skiats
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1
Saiiew
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
Prakaywan Tumsangwan
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
Natepanna Yavirach
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
053681478
 

Similaire à Cmu qa manual 49 qa-glossary (20)

ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ
 
Po
PoPo
Po
 
Watsubsamosorn
WatsubsamosornWatsubsamosorn
Watsubsamosorn
 
D:\2
D:\2D:\2
D:\2
 
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
2การบริหารองค์การด้วยโครงการ
 
Km16-17
Km16-17Km16-17
Km16-17
 
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
 
ocjee
ocjeeocjee
ocjee
 
Plans
PlansPlans
Plans
 
Mis
MisMis
Mis
 
อาชีพด้านสารสนเทศและการสื่อสาร
อาชีพด้านสารสนเทศและการสื่อสารอาชีพด้านสารสนเทศและการสื่อสาร
อาชีพด้านสารสนเทศและการสื่อสาร
 
L1
L1L1
L1
 
Erp present
Erp presentErp present
Erp present
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการ
 
Mechanical Engineering QA vs PA Alignment
Mechanical Engineering QA vs PA AlignmentMechanical Engineering QA vs PA Alignment
Mechanical Engineering QA vs PA Alignment
 
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัด
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัดPresentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัด
Presentation 2012-11-13 การพัฒนาประสิทธิภาพด้านโลจิสติกส์ด้วยตัวชี้วัด
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1
 
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศบทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
บทที่ 4 การพัฒนาระบบสารสนเทศ
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 

Cmu qa manual 49 qa-glossary

  • 1. นิยามศัพท์เกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษา (QA Glossary) กระบวนการ (Process): กิจกรรม (activity) หรือชุดของกิจกรรมที่สัมพันธ์กัน ที่ทำกำรเปลี่ยนปัจจัยนำเข้ำ (input) ให้เป็นผลผลิต (output) ที่มีมูลค่ำเพิ่ม (value-added) กลไก (Mechanism): ส่วนย่อย (parts) ของระบบที่มีองค์ประกอบจำนวนหนึ่งทำหน้ำที่ร่วมกัน องค์ประกอบเหล่ำนี้ หมำยรวมถึง ทรัพยำกรบุคคล ทรัพยำกรทำงกำยภำพ วิธีปฏิบัติ (operation method) และ/หรือระเบียบปฏิบัติ (procedures) กลยุทธ์ (Strategy): ความหมายเดียวกันกับ ยุทธศาสตร์ แนวทำงหรือวิธีทำงำนที่ดีที่สุด เพื่อให้องค์กรบรรลุวัตถุประสงค์ ภำรกิจและวิสัยทัศน์ที่กำหนดไว้ ตัวอย่ำง เช่น “จัดทำระบบฐำนข้อมูลและระบบเครือข่ำยที่สมบูรณ์และทันสมัย” หรือ“พัฒนำวิธีกำรลดต้นทุนกำรบริหำรจัดกำร” การควบคุมคุณภาพ (Quality Control): กำรมีระบบและกลไกในแต่ละองค์ประกอบคุณภำพ เพื่อกำกับกำรดำเนินงำนของสถำนศึกษำให้ได้ผลตำมรำยกำร ตรวจสอบและตัวบ่งชี้คุณภำพที่กำหนด การตรวจสอบคุณภาพ (Quality Audit): กระบวนกำรในกำรศึกษำวิเครำะห์ว่ำสถำบันมีระบบและกลไกกำกับและควบคุมคุณภำพ และมีกำรปฏิบัติตำมระบบ และกลไกดังกล่ำว การบริหารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management): ศำสตร์และศิลป์ในกำรดำเนินกำรในสำมกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกัน คือ กำรวำงแผนกลยุทธ์ (strategic planning) กำร ปฏิบัติตำมแผนกลยุทธ์ (strategic implementation) และกำรควบคุมและประเมินผลกลยุทธ์ (strategic control and evaluation) การประกันคุณภาพการศึกษา (Quality Assurance): กำรมีระบบและกลไกในกำรควบคุมตรวจสอบและประเมินกำรดำเนินงำนในแต่ละองค์ประกอบคุณภำพตำม รำยกำรตรวจสอบ (audit checklist) และตัวบ่งชี้คุณภำพ (quality indicators) ที่กำหนด เพื่อเป็นหลักประกันแก่ผู้ที่มี ส่วนเกี่ยวข้องและสำธำรณชนได้มั่นใจว่ำสถำนศึกษำแห่งนั้นสำมำรถให้ผลผลิตทำงกำรศึกษำที่มีคุณภำพ การประกันคุณภาพภายใน (Internal Quality Assurance): กำรติดตำมตรวจสอบและกำรประเมินคุณภำพและมำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำจำกภำยในโดยบุคลำกรของ สถำนศึกษำนั้นเอง หรือโดยหน่วยงำนต้นสังกัดที่มีหน้ำที่กำกับดูแลสถำนศึกษำนั้น การประกันคุณภาพภายนอก (External Quality Assurance): กำรติดตำมตรวจสอบและกำรประเมินคุณภำพและมำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำโดยสำนักงำนรับรอง มำตรฐำนและประเมินคุณภำพกำรศึกษำ (สมศ.) หรือบุคคลหรือหน่วยงำนภำยนอกที่ สมศ. รับรองเพื่อเป็น กำรประกันคุณภำพและให้มีกำรพัฒนำคุณภำพและมำตรฐำนกำรศึกษำของสถำนศึกษำ การประเมินคุณภาพ (Quality Assessment): กระบวนกำรวิเครำะห์และเปรียบเทียบผลกำรดำเนินงำนของสถำนศึกษำตำมรำยกำรตรวจสอบและตัวบ่งชี้ คุณภำพที่กำหนดว่ำอยู่ในระดับใด
  • 2. การวางแผนเชิงกลยุทธ์ (Strategic Planning): กำรวำงแผนที่ครอบคลุมถึงกำรวิเครำะห์เชิงกลยุทธ์ และกำรกำหนดกลยุทธ์ กำรกำหนดวิสัยทัศน์ ภำรกิจ วัตถุประสงค์ และกลยุทธ์ที่จะนำไปสู่กำรบรรลุวิสัยทัศน์ การวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค (SWOT Analysis): กำรวิเครำะห์เพื่อค้นหำจุดแข็ง (strength) และจุดอ่อน (weakness) ซึ่งเป็นสภำพภำยในขององค์กร และวิเครำะห์ โอกำส (opportunities) และอุปสรรค (threat) ซึ่งเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับสภำพแวดล้อม ภำยนอกองค์กร ซึ่งรวมถึง ปัจจัยทำงกำรเมือง เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี การวิเคราะห์ปัจจัยทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี (PEST Analysis): กำรวิเครำะห์สภำพแวดล้อมภำยนอกองค์กรที่จะมีผลกระทบต่อควำมอยู่รอดและกำรเติบโตอย่ำงยั่งยืนของ องค์กร โดยมุ่งเน้นปัจจัยทำงด้ำนกำรเมือง เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน: กำรรวบรวมและวิเครำะห์ข้อมูลในชั้นเรียน เพื่อหำควำมสัมพันธ์ระหว่ำงปัจจัยที่มีผลต่อคุณภำพและสัมฤทธิผล กำรเรียนรู้ของนักศึกษำ อำทิ วิธีกำรสอน วิธีกำรเรียนรู้ของนักศึกษำ อุปกรณ์และสื่อกำรสอน แหล่งเรียนรู้ วิธีวัด และประเมินผล เป็นต้น ผลกำรวิจัยจะช่วยให้อำจำรย์ผู้สอนสำมำรถพัฒนำกำรเรียนกำรสอนได้อย่ำงเป็นระบบ ยิ่งขึ้น การประเมินหลักสูตร: กำรประเมินคุณค่ำ ควำมทันสมัยและควำมสอดคล้องกับควำมต้องกำรของตลำดงำนของหลักสูตรแต่ละสำขำวิชำ โดยอำศัยกำรรวบรวม วิเครำะห์และสรุปผลกำรสำรวจควำมเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ อำจำรย์ บัณฑิต และผู้ว่ำจ้ำง บัณฑิตในสำขำวิชำนั้น ๆ กำรประเมินหลักสูตรควรมีกำรดำเนินกำรเป็นประจำ อย่ำงน้อยหนึ่งครั้งในรอบ 5 ปี และ อำจมีกำรเสนอปรับปรุงหลักสูตรในกรณีจำเป็น การวิจัยเชิงนโยบาย (Policy Research): กำรวิจัยเพื่อหำแนวทำงและนโยบำยกำรดำเนินกำรที่จะเป็นประโยชน์ต่อชุมชนและประเทศชำติ โดยอำจนำผล กำรวิจัยเสนอแนะต่อรัฐบำลหรือแหล่งทุนวิจัยอื่นๆ ซึ่งจะเป็นกำรสร้ำงสรรค์โอกำสในกำรขอควำมสนับสนุน กำรวิจัยต่อเนื่องที่จะเป็นกำรสร้ำงองค์ควำมรู้ใหม่หรือนวัตกรรมต่ำงๆ ต่อไป การศึกษา (Education): กระบวนกำรเรียนรู้เพื่อควำมเจริญงอกงำมของบุคคลและสังคม โดยกำรถ่ำยทอดควำมรู้ กำรฝึกอบรม กำรสืบสำนทำงวัฒนธรรม กำรสร้ำงสรรจรรโลงควำมก้ำวหน้ำทำงวิชำกำร กำรสร้ำงองค์ควำมรู้อันเกิดจำก กำรจัด สภำพแวดล้อมสังคม กำรเรียนรู้และปัจจัยเกื้อหนุนให้บุคคลเรียนรู้อย่ำงต่อเนื่องตลอดชีวิต กลุ่มวิจัย: คณะบุคคลที่ประกอบด้วยผู้วิจัยและผู้ช่วยวิจัยที่ร่วมกันทำงำนเพื่อผลิตผลงำนวิจัยที่คุณภำพและสนอง ควำมต้องกำรของชุมชนและประเทศชำติ โดยดำเนินงำนในลักษณะที่ผู้วิจัยอำวุโสที่มีชื่อเสียง มีควำมสำมำรถและ ประสบกำรณ์สูงคอยให้กำรสนับสนุนเกื้อกูลผู้วิจัยหรือผู้ช่วยวิจัยรุ่นเยำว์ให้มีโอกำสเรียนรู้และพัฒนำตนเองจนเป็น ผู้วิจัยที่มีชื่อเสียงและควำมสำมำรถต่อไปในอนำคต กลุ่มวิจัยในระดับคณะอำจแบ่งเป็น หน่วยวิจัย (research unit) ห้องปฏิบัติกำรวิจัย (research lab) หรือ ศูนย์วิจัย (research centre) คุณภาพ (Quality): ผลรวมของคุณลักษณะและคุณสมบัติของผลผลิตได้แก่ บัณฑิต ผลงำนวิจัย บริกำรวิชำกำร ที่ทำให้เกิด ควำมพึงพอใจแก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง จุดประสงค์/ความประสงค์ (Purpose): ดู วัตถุประสงค์ จุดมุ่งหมาย (Aim): ดู วัตถุประสงค์
  • 3. ตัวบ่งชี้คุณภาพ (Quality Indicators): ตัวบ่งชี้ว่ำกำรดำเนินงำนในแต่ละองค์ประกอบคุณภำพเป็นไปตำมเกณฑ์หรือมำตรฐำนที่พึงประสงค์ นโยบาย (Policy): แนวทำงกว้ำง ๆ ที่กำหนดขึ้นสำหรับกำรปฏิบัติและกำรควบคุม ที่จะทำให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร ปัจจัยหลักแห่งความสาเร็จ (Key Success Factors): ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับวิธีกำรรู้จักใช้ควำมสำมำรถอันโดดเด่นหรือควำมสำมำรถหลัก (core competencies) ขององค์กร ให้ถูกต้องและเหมำะสม เพื่อประโยชน์ในกำรสร้ำงควำมสำเร็จให้เกิดขึ้นภำยใต้สภำวะกำรแข่งขันของ องค์กร ต่ำง ๆ โดยพิจำรณำจำกองค์ประกอบทำงกำรบริหำร อำทิ กำรวำงแผน องค์กรและโครงสร้ำง ทรัพยำกร บุคคล ระบบทำงำน ระบบบัญชีและกำรเงิน ระบบพัสดุ ระบบเทคโนโลยีสำรสนเทศ สถำนภำพในกำรแข่งขัน และกำร พัฒนำองค์กร ปรัชญา (Philosophy): ระบบควำมเชื่อที่เป็นผลจำกกำรแสวงหำควำมรู้และควำมเข้ำใจเกี่ยวกับธรรมชำติและกำรแสวงหำควำมหมำยของ ชีวิตและสรรพสิ่งต่ำง ๆ ประมวลรายวิชา (Course Syllabus): เอกสำรแสดงรำยละเอียดของแต่ละกระบวนวิชำ ได้แก่ จำนวนหน่วยกิต เงื่อนไขที่ต้องผ่ำนก่อน คำอธิบำยกระบวน วิชำ วัตถุประสงค์ เนื้อหำ อุปกรณ์กำรศึกษำ สื่อกำรสอน ตำรำ วำรสำร และทรัพยำกรกำรเรียนรู้อื่น ๆ ที่ใช้ประกอบ รวมทั้งวิธีกำรวัดและประเมินผลกำรเรียนรู้ ประสิทธิผล (Effectiveness): ผลลัพธ์ของกำรปฏิบัติตำมแผนดำเนินกำรจนบรรลุวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้ ประสิทธิภาพ (Efficiency): ผลลัพธ์ของกำรปฏิบัติตำมแผนดำเนินกำรที่สิ้นเปลืองทรัพยำกรน้อยที่สุด ปณิธาน (Will): ควำมตั้งใจหรือควำมปรำรถนำอย่ำงแรงกล้ำที่จะบรรลุจุดมุ่งหมำยที่ตนเองให้คุณค่ำและมีควำมเชื่อ ซึ่งก่อให้เกิด พลังจิตที่จะกำหนดควำมคิดและกระทำของตนเอง เป้าประสงค์ (Goal): ดู วัตถุประสงค์ เป้าหมาย (Target): ดูเปรียบเทียบกับ วัตถุประสงค์ ผลสำเร็จที่ต้องกำรภำยในระยะเวลำที่กำหนด โดยมักระบุเป็นจำนวนเลข เพื่อควำมชัดเจนและสะดวกใน กำรติดตำมและประเมินผลแผนงำนหรือโครงกำร แผน (Plan): ควำมคิดหรือวิธีกำรที่ได้ผ่ำนกำรคิดอย่ำงละเอียดมำแล้วล่วงหน้ำสำหรับชี้นำกำรดำเนินกำรใด ๆ กำรวำงแผนมักมี กำรกำหนดวัตถุประสงค์ เป้ำหมำย และกรอบเวลำของแผนอย่ำงชัดเจน แผนการสอน (Teaching Plan): เอกสำรแสดงรำยละเอียดของแต่ละบทเรียนในกระบวนวิชำต่ำง ๆ ซึ่งกล่ำวถึง เนื้อหำและวัตถุประสงค์ของ บทเรียน วิธีกำรเรียนกำรสอน อุปกรณ์ สื่อกำรสอน และทรัพยำกรกำรเรียนรู้ที่ใช้ และอำจรวมถึงวิธีกำรวัดและ ประเมินผลกำรเรียนรู้ในแต่ละบทเรียน แผนดาเนินการ : ความหมายเดียวกันกับ แผนปฏิบัติการ (Action plan) ควำมคิดหรือวิธีกำรที่ได้ผ่ำนกำรคิดและวิเครำะห์เชิงกลยุทธ์ หรือ SWOT Analysis อย่ำงละเอียดมำแล้ว สำหรับชี้นำ กำรดำเนินกำรตำมกลยุทธ์ที่จะนำไปสู่กำรบรรลุวิสัยทัศน์ขององค์กร กำรจัดทำแผนปฏิบัติกำรจะมีกำรระบุ วัตถุประสงค์ เป้ำหมำย กำรจัดสรรทรัพยำกร และกรอบเวลำของแผนอย่ำงชัดเจน
  • 4. แผนปฏิบัติการ (Operation Plan): ดู แผนดาเนินการ (action plan) แผนระยะ 5 ปี: แผนระยะ 5 ปี ที่หน่วยงำนจัดทำขึ้นตำมรอบเวลำของแผนพัฒนำเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ ซึ่งปัจจุบันเป็น แผนพัฒนำฯ ระยะที่ 9 ระหว่ำง พ.ศ. 2545-2549 กำรจัดทำแผนระยะ 5 ปีควรเป็นไปตำมกระบวนกำร วำงแผน เชิงกลยุทธ์ แผนดาเนินการประจาปี: แผนดำเนินกำรที่กำหนดขึ้นสำหรับชี้นำกำรดำเนินกำรในแต่ละปี โดยมีกำรระบุวัตถุประสงค์ เป้ำหมำย กำรจัดสรรทรัพยำกร และกรอบเวลำอย่ำงชัดเจน ผลผลิตทางการศึกษา: ผลกำรดำเนินตำมภำรกิจหลักประกอบด้วยกำรผลิตบัณฑิต กำรวิจัย กำรบริกำรทำงวิชำกำรแก่ชุมชน กำรทำนุบำรุง ศิลปวัฒนธรรมและภำรกิจอื่น ๆ ของสถำบันอุดมศึกษำ พันธกิจ (Mission): ดู ภารกิจ ภารกิจ (Mission): ความหมายเดียวกันกับ พันธกิจ ขอบเขตของงำน หรือ บทบำทหน้ำที่ซึ่งองค์กรต้องทำในลักษณะอำณัติ (mandate) เพื่อให้องค์กรบรรลุ วิสัยทัศน์ที่ กำหนดไว้ ตัวอย่ำง “มหำวิทยำลัยเชียงใหม่พึงจัดกำรกำรเรียนกำรสอนที่มีคุณภำพตำมมำตรฐำนสำกล” มาตรฐานการจัดการทางการเงิน Seven Hurdles: มำตรฐำนเกี่ยวกับกำรจัดกำรทำงกำรเงินที่กำหนดให้หน่วยงำนภำครัฐจะต้องมีขีดควำมสำมำรถตำมเงื่อนไขของ Seven Hurdles คือ กำรวำงแผนงบประมำณ (budget planning) กำรคำนวณต้นทุนผลผลิต (output costing) กำร จัดระบบกำรจัดซื้อจัดจ้ำง (procurement management)กำรบริหำรทำงกำรเงินและควบคุมงบประมำณ (financial management/and fund control) กำรบริหำร สินทรัพย์ (asset management) กำรรำยงำนทำงกำรเงินและผลกำร ดำเนินงำน (financial and performance reporting) และกำรตรวจสอบภำยใน (internal audit) มาตรฐานการศึกษา (Education Standards): ข้อกำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะและคุณภำพที่พึงประสงค์ และมำตรฐำนที่ต้องกำรให้เกิดขึ้นในสถำนศึกษำทุกแห่ง เพื่อใช้เป็นหลักในกำรเทียบเคียงสำหรับกำรส่งเสริมและกำกับดูแล กำรตรวจสอบ กำรประเมินผล และ กำรประกันคุณภำพกำรศึกษำ ยุทธศาสตร์ (Strategy): ดู กลยุทธ์ รายงานการศึกษาตนเอง (Self-Study Report): รำยงำนที่แสดงผลกำรปฏิบัติงำนของหน่วยงำนในรอบปีที่ผ่ำนมำว่ำมีกำรดำเนินกำรตำมระบบและกลไก กำรประกันคุณภำพกำรศึกษำหรือไม่ และมีกำรวิเครำะห์จุดแข็ง จุดอ่อนของหน่วยงำน ตลอดจนแนวทำงแก้ไข รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report): รำยงำนที่แสดงผลกำรปฏิบัติงำนของหน่วยงำน ในรอบปีที่ผ่ำนมำ และมีกำรวิเครำะห์จุดแข็ง จุดอ่อน วำงแผนกำร แก้ไขจุดอ่อน เสริมจุดแข็งของวิธีปฏิบัติงำนให้มีประสิทธิภำพและประสิทธิผลมำกขึ้น รายงานการประเมินคุณภาพสถาบัน: รำยงำนประจำปีที่สถำบันจัดทำขึ้นเพื่อประเมินกำรดำเนินงำนของสถำบันโดยภำพรวม เสนอสำนักงำนรับรอง มำตรฐำนและประเมินคุณภำพกำรศึกษำ เพื่อขอรับกำรประเมินสถำบัน ระบบ (System): (1) สภำวะหรือสิ่งที่เกิดจำกกำรรวมตัวกันขององค์ประกอบ (components) ที่มีควำมเชื่อมโยงกัน (interconnectedness) โดยมีรูปแบบ (pattern) หรือโครงสร้ำง (structure) ที่ชัดเจน องค์ประกอบเหล่ำนี้ต่ำงมีหน้ำที่ (function) ของตนเอง พร้อมกับมีปฏิสัมพันธ์ (interaction) และกำรประสำน (co-ordination) กำรทำงำนกับ องค์ประกอบอื่น ๆ
  • 5. (2) กระบวนกำร (processes) หรือระเบียบปฏิบัติ (procedures) ที่เชื่อมโยงกันอย่ำงเป็นระเบียบ มี รูปแบบ (pattern) หรือโครงสร้ำง (structure) ที่ชัดเจน ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน (Performance-Based Budgeting System): ระบบงบประมำณที่ให้ควำมสำคัญกับกำรกำหนดภำรกิจ (mission) ขององค์กร วัตถุประสงค์ กลยุทธ์ แผนงำน งำน/โครงกำร อย่ำงเป็นระบบ มีกำรติดตำม และประเมินผลสม่ำเสมอ เพื่อวัดผลสำเร็จของงำน เป็นระบบที่ เชื่อมโยงกำรบริหำรจัดกำรทรัพยำกร กำรเงิน และพัสดุ ที่สะท้อนให้เห็นถึงผลสำเร็จของงำนหรือ ภำรกิจต่ำง ๆ ขององค์กร หรือ ของรัฐภำยใต้หลักธรรมภิบำล (good governance) เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชำชนและ ทำให้ประเทศชำติมั่งคั่ง มั่นคง และพึ่งตนเองได้ ระบบฐานข้อมูล (Database System): ระบบกำรจัดเก็บข้อมูลที่สำมำรถทำกำรรวบรวม วิเครำะห์ ประมวลผล และนำเสนอได้สะดวก รวดเร็ว และ ทันกำรณ์ โดยควรจัดทำเป็นระบบฐำนข้อมูลออนไลน์ ระบบบริหารคุณภาพ (Quality Management System): ระบบบริหำรจัดกำรเพื่อมุ่งให้เกิดกำรพัฒนำคุณภำพกำรดำเนินงำนอย่ำงต่อเนื่อง และมุ่งให้เกิดประสิทธิภำพและ ประสิทธิผลในกำรดำเนินงำนตำมภำรกิจและวัตถุประสงค์ขององค์กร ระบบบริหำรคุณภำพมีหลำยระบบ ได้แก่ ระบบ Input-Process-Output-Outcome (IPOO) ระบบ Total Quality Management (TQM) ระบบ ISO และระบบ Malcolm Baldridge Quality Award (MBQA) ระบบของมหำวิทยำลัยเชียงใหม่เป็นแบบผสมผสำนระหว่ำง ระบบ IPOO กับ TQM วัตถุประสงค์ (Objective): ความหมายเดียวกันกับ จุดมุ่งหมาย (aim) จุดประสงค์/ความประสงค์ (purpose) เป้าประสงค์ (goal) (1) สิ่งที่ต้องกำรจะบรรลุด้วยควำมมุ่งมั่น ตั้งใจ และเพียรพยำยำม (2) ผลสำเร็จที่ต้องกำรจะบรรลุภำยในระยะเวลำที่กำหนด วิสัยทัศน์ (Vision): ควำมคำดหวังในอนำคตขององค์กรที่ต้องกำรจะเป็น (โดยมิได้กำหนดวิธีกำรไว้) เป็นข้อควำมซึ่งกำหนดทิศทำงของ ภำรกิจ ตัวอย่ำง “ มหำวิทยำลัยเชียงใหม่จักเป็นมหำวิทยำลัยที่มุ่งเน้นกำรวิจัย กำรมีคุณภำพ ควำมเป็นเลิศทำง วิชำกำร และกำรพึ่งพำตนเองได้ภำยใน พ.ศ. 2549” สถานศึกษา: สถำนพัฒนำเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนย์กำรเรียน วิทยำลัย สถำบัน มหำวิทยำลัย หน่วยงำนกำรศึกษำหรือ หน่วยงำนอื่นของรัฐหรือเอกชนที่มีอำนำจหน้ำที่หรือมีวัตถุประสงค์ในกำรจัดกำรศึกษำ แหล่งสารนิเทศ: แหล่งควำมรู้ ข้อมูลและสำรสนเทศในรูปแบบต่ำง ๆ ได้แก่ ตำรำ วำรสำร สิ่งพิมพ์ ฐำนข้อมูลออนไลน์ สื่อ อิเล็กโทรนิกส์ และสื่อผสมต่ำง ๆ องค์ประกอบคุณภาพ (Quality Factors): ปัจจัยหลักในกำรดำเนินงำนของสถำบันที่มีผลต่อคุณภำพกำรศึกษำ ได้แก่ ปรัชญำ ปณิธำน ภำรกิจและ วัตถุประสงค์ กำรเรียนกำรสอน กำรพัฒนำและสนับสนุนนักศึกษำ กำรวิจัย กำรบริกำรวิชำกำรแก่ชุมชน กำรทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม กำรบริหำรและจัดกำร กำรเงินและงบประมำณ และ กำรประกันคุณภำพ