SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  27
Télécharger pour lire hors ligne
หน่วยการเรียนที่ 1
เรื่อง ความหมายและองค์ประกอบของอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. จุดประสงค์การเรียนรู้ (ปลายทาง)
นักศึกมีความรู้ความเข้าใจความหมายและองค์ประกอบของอาชีวอนามัยและความ
ปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน ด้วยการปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย
อย่างเคร่งครัด ปรับปรุงสภาพงานและจัดกฎระเบียบในการทางานให้เป็นมาตรฐานได้อย่างถูกต้อง
2. จุดประสงค์การเรียนรู้ (นาทาง)
2.1 รู้และเข้าใจความหมายของอาชีวอนามัย
2.2 บอกความหมาย และองค์ประกอบของความปลอดภัยในการทางานได้ถูกต้อง
2.3 บอกหลักความปลอดภัยในการทางานโดยทั่วไปได้ถูกต้อง
2.4 บอกเครื่องป้องกันอันตรายส่วนบุคคลได้ถูกต้อง
2.5 บอกองค์ประกอบของความปลอดภัยในการทางานได้ถูกต้อง
1. การปฐมนิเทศวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
การเรียนอาชีวอนามัยและความปลอดภัย รหัส 10300101 ให้ประสบความสาเร็จนั้น ผู้เรียน
จะต้องทราบข้อมูลการเรียนการสอน การวัดผลและการประเมินผล เมื่อทราบข้อมูลเบื้องต้นแล้วผู้เรียนก็จะ
ได้มีเวลาเตรียมตัวในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลไว้ล่วงหน้า
 1.1 เรื่องที่สอน
 ในการเรียนการสอนวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย รหัส 10300101 มีทั้งหมด 16 หน่วย การเรียนโดยจัดเป็น 1 หน่วยการเรียนต่อ 1
สัปดาห์ ดังนี้
 หน่วยการเรียนที่ 1 เรื่อง ความหมายและองค์ประกอบของอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 หน่วยการเรียนที่ 2 เรื่อง การป้ องกันและควบคุมมลพิษ
 หน่วยการเรียนที่ 3 เรื่อง เครื่องหมายและสัญลักษณ์ความปลอดภัย
 หน่วยการเรียนที่ 4 เรื่อง เครื่องป้ องกันอันตราย
 หน่วยการเรียนที่ 5 เรื่อง ความปลอดภัยในการใช้เครื่องจักร
 หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การเคลื่อนย้ายและจัดเก็บวัสดุอุปกรณ์
 หน่วยการเรียนที่ 7 เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับงานก่อสร้าง
 หน่วยการเรียนที่ 8 เรื่อง ความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้ า
 หน่วยการเรียนที่ 9 เรื่อง การป้ องกันและระงับอัคคีภัย
 หน่วยการเรียนที่ 10 เรื่อง การส่งเสริมสุขภาพอนามัยพนักงาน
 หน่วยการเรียนที่ 11 เรื่อง การปฐมพยาบาล
 หน่วยการเรียนที่ 12 เรื่อง การป้ องกันและเฝ้ าระวังโรคจากการทางาน
 หน่วยการเรียนที่ 13 เรื่อง การวิเคราะห์และปรับปรุงสภาพทางานตามหลักการยศาสตร์
 หน่วยการเรียนที่ 14 เรื่อง การสอบสวนและวิเคราะห์อุบัติเหตุในการทางาน
 หน่วยการเรียนที่ 15 เรื่อง การตรวจความปลอดภัยและการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
 หน่วยการเรียนที่ 16 เรื่อง กฎหมายที่เกี่ยวกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน
1.2 การเรียน
การเรียนการสอนวิชาชีวอนามัยและความปลอดภัย รหัส 10300101ใช้เวลาทั้งหมด 18 สัปดาห์ ๆ ละ 3
คาบ (คาบละ 60 นาที) รวมคาบทั้งหมด 54 คาบต่อภาคเรียนโดยเรียนทฤษฏี 2 คาบ
ปฏิบัติงานลงในแบบฝึกหัด 1 คาบ จานวน 2 หน่วยกิต นักศึกษาจะต้องมีเวลาเรียนไม่ น้อยกว่า 80%
ของเวลาเรียนทั้งหมด ถ้าเวลาเรียนไม่ถึง 80% ผู้เรียนจะไม่มีสิทธิ์ในการเข้าสอบปลายภาคเรียน หรือ
ขาดเรียนเกินกาหนด (ขร.) ต้องลงทะเบียนเรียนใหม่ในภาคเรียนต่อไป
 1.3 การวัดผลระหว่างเรียน
การวัดผลระหว่างภาคเรียนวิชาชีวอนามัยและความปลอดภัย รหัส
10300101 มีคะแนนทั้งหมด 100 คะแนนเต็ม ซึ่งมีการให้
คะแนนดังนี้
1.3.1 คะแนนจากการปฏิบัติงานจากหน่วยการเรียนที่ 1 ถึง
หน่วยการเรียนที่ 16 จานวน 180 คะแนน ดังตารางที่ 1.1
หน่วยการเรียนที่ เรื่อง สัปดาห์ที่ คะแนนดิบ คะแนนเก็บ
1
การปฐมนิเทศ ความหมายของอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 20
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในการทางาน
1 10
หน่วยการเรียนที่ เรื่อง สัปดาห์ที่ คะแนนดิบ คะแนนเก็บ
2 การป้ องกันและควบคุมมลพิษ 2 10
30
3 เครื่องหมายและสัญลักษณ์ความปลอดภัย 3 10
4 เครื่องป้ องกันอันตราย 4 10
5 ความปลอดภัยในการใช้เครื่องจักร 5-6 20
6 การเคลื่อนย้ายและจัดเก็บวัสดุอุปกรณ์ 7 10
7 ความรู้เกี่ยวกับงานก่อสร้าง 8 10
8 ความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้า 9 10
9 การป้ องกันและระงับอัคคีภัย 10 10
10 การส่งเสริมสุขภาพอนามัยพนักงาน 11 10
11 การปฐมพยาบาล 12 10
12 การป้ องกันและเฝ้าระวังโรคจากการทางาน 13 10
13
การวิเคราะห์และปรับปรุงสภาพทางาน
ตามหลักการยศาสตร์
14 10
14 การสอบสวนและวิเคราะห์อุบัติเหตุในการทางาน 15 10
15 การตรวจความปลอดภัยและการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย 16 10
16 กฎหมายที่เกี่ยวกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน 17 10
สอบปลายภาค 20 30
รวม 180 80
ตารางที่ 1.1 แสดงคะแนนภาคปฏิบัติของแต่ละหน่วยการเรียน
หมายเหตุ การคิดคะแนนดิบเป็นคะแนนเก็บโดยใช้วิธีเทียบบัญญัติไตรยางศ์
คะแนนเก็บของแบบฝึกหัด x ผลรวมของคะแนนดิบที่ได้
1.3.2 คะแนนจากจิตพิสัย จานวน 20 คะแนนเต็ม มีการให้คะแนน ดังนี้
การเรียนตรงเวลา 2 คะแนน
การแต่งกายถูกระเบียบ 2 คะแนน
ช่วยเหลือผู้อื่น 2 คะแนน
ซื่อสัตย์สุจริต 2 คะแนน
ส่งงานตรงเวลา 2 คะแนน
ความรับผิดชอบต่องานที่มอบหมาย 2 คะแนน
ความมีระเบียบวินัย 2 คะแนน
มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี 2 คะแนน
พูดจาสุภาพ 2 คะแนน
ประหยัด 2 คะแนน
โดยหน่วยการเรียนมี 16 หน่วยการเรียน รวมคะแนนทั้งหมด 180 คะแนน การหาคะแนนเก็บ จิตพิสัย โดย
ใช้วิธีเทียบบัญญัติไตรยางศ์ดังนี้
คะแนนเก็บของจิตพิสัย x ผลรวมของคะแนนดิบที่ได้
1.4 การวัดผลปลายภาค
การวัดผลปลายภาคมีคะแนนทั้งหมด 30 คะแนนเต็ม การวัดผลจะใช้ข้อสอบเป็นแบบปรนัยจานวน 60 ข้อ มี 4 ตัวเลือก โดยวัดตามจุดประสงค์เชิง
พฤติกรรมจากหน่วยการเรียนที่ 1 ถึงหน่วยการเรียนที่ 16
1.5 เกณฑ์การตัดเกรด
โดยนาคะแนนเก็บของแบบฝึกหัดและจิตพิสัยมารวมกับคะแนนสอบปลายภาค การตัดเกรดใช้แบบอิงเกณฑ์ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีคะแนนตั้งแต่ 50 คะแนน
ขึ้นไป ถ้าคะแนนต่ากว่านี้ถือว่าไม่ผ่านต้องลงทะเบียนเรียนใหม่
2. ความหมายและองค์ประกอบของอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัย (Occupational Health)
อาชีว หมายถึง การประกอบอาชีพในแต่ละสาขาไม่ว่าจะเป็นด้านอุตสาหกรรม เกษตรกรรมและอื่น ๆ
อนามัย หมายถึง การที่มีสุขภาพที่ดี แข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และมีภูมิคุ้มกันต่อสิ่งต่าง ๆ ที่ทาให้ร่างกายได้รับอันตรายจากการประกอบอาชีพ
อาชีวอนามัย จึงหมายถึง การที่บุคลากรที่ทางานในการประกอบอาชีพในด้านต่าง ๆ ที่มีสุขภาพอนามัยที่ดี มีร่างกายแข็งแรงปราศจากโรค และมี
ภูมิคุ้มกันจากสิ่งต่าง ๆ ที่ทาให้ร่างกายได้รับอันตรายจากการประกอบอาชีพ ซึ่งทางองค์การอนามัยโลก (WHO) ร่วมกับองค์การแรงงานระหว่าง
ประเทศ (ILO) ได้สรุปองค์ประกอบของอาชีวอนามัยไว้ 5 ลักษณะ ดังต่อไปนี้
1. การส่งเสริม (Promotion) เป็นการส่งเสริมให้ผู้ประกอบอาชีพทุกสาขาอาชีพ มีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่แข็งแรงสมบูรณ์ตลอดจนมี
ความเป็นอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
2. การปกป้ องคุ้มครอง (Protection) เพื่อไม่ให้ผู้ประกอบอาชีพในสาขางานต่าง ๆ ทางานที่เสี่ยงต่ออันตราย เช่น สภาพแวดล้อมเกี่ยวกับ เสียง สี
แสง ไอพิษ ฯลฯ
3. การป้ องกัน (Prevention) เพื่อป้ องกันไม่ให้สุขภาพอนามัยของพนักงานทรุดโทรม และมีความผิดปกติของร่างกายและจิตใจ อันเป็นบ่อเกิดจาก
การทางาน
4. การจัดหรือปรับสภาพ (Placing) เพื่อเป็นการปรับสภาพแวดล้อม จากการทางานให้เหมาะสมกับสภาพร่างกาย เพื่อไม่ให้ได้รับผลกระทบจากการ
ทางาน
5. การปรับงานให้เข้ากับคน (Adaptation) ในการทางานทุกอย่าง ต้องมีการจัดหางานที่เหมาะสมกับคน เพื่อให้ได้งานที่ออกมาอย่างมีคุณภาพ และ
สามารถทางานเต็มความสามารถของตัวเอง
ความหมาย และองค์ประกอบของความปลอดภัยในการทางาน
ความปลอดภัยในการทางาน (Occuptional Safety and Health) หมายถึง การ
สร้าง ทัศนคติที่ดีต่อการทางานด้วยความปลอดภัย ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญยิ่งในการประกอบอาชีพ
ความปลอดภัยจึงนับได้ว่าเป็นหัวใจของการทางาน ผู้ปฏิบัติงานจึงต้องมีความระมัดระวังอยู่เสมอไม่
ว่างานที่ทาจะเป็นงานใหญ่หรืองานเล็กก็ตาม
อุบัติเหตุ (Accident) หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้คาดคิดไว้ล่วงหน้า อันเป็นผลมาจากการ
กระทาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง สาเหตุโดยทั่วไปของอุบัติเหตุมีดังต่อไปนี้
1. ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์
มักเกิดกับบุคคลที่เข้าทางานใหม่ ๆ หรือเข้าทางานกับเครื่องมือ เครื่องจักรใหม่โดย
ไม่ได้รับคาอธิบายถึงการปฏิบัติและการทางานของเครื่องมือเครื่องจักรโดย
ละเอียด จึงมักจะทาให้เกิดอุบัติเหตุขึ้นบ่อย ๆ
การสอนเกี่ยวกับความปลอดภัยยังไม่ดีพอ
กฎความปลอดภัยไม่มีผลบังคับใช้
ไม่ได้วางแผนงานความปลอดภัยไว้เป็นส่วนหนึ่งของงาน
จุดอันตรายต่าง ๆ ไม่ได้ทาการแก้ไข
อุปกรณ์ความปลอดภัยไม่ได้จัดให้
ขาดความรู้หรือไม่ได้ตระหนักในเรื่องความปลอดภัย
2. ความประมาท
เกิดจากมีความเชื่อมั่นมากเกินไปเนื่องจากทางานมานาน
การละเลยไม่เอาใจใส่หรือมีทัศนคติผิด ๆ ในเรื่องความปลอดภัย
เครื่องป้ องกันอันตรายหรือเครื่องกั้นจัดไว้ให้ แต่ไม่ใช้หรือถอดออก
ใช้เครื่องมือเครื่องใช้ไม่ถูกต้องกับลักษณะของงานที่ทา ถึงแม้ว่าจะมีเครื่องมือ
ที่ถูกต้องให้เลือกใช้ได้เหมาะสมก็ตาม
ยกของด้วยวิธีผิด ๆ จนเกิดอันตราย
อิริยาบถในการเคลื่อนไหวที่อาจเกิดอันตราย เช่น การเดิน การวิ่ง การก้าว
กระโดด การปีนป่าย
การหยอกล้อ หรือล้อเล่นในระหว่างการทางาน
3. สภาวะร่างกายของบุคคล
เมื่อยล้า เนื่องจากทางานตลอดเวลาโดยไม่มีการหยุดพัก
อ่อนเพลีย เนื่องจากไม่สบายเป็นไข้แล้วเข้าทางานหนัก
หูหนวก
สายตาไม่ดี
โรคหัวใจ
สภาพร่างกายไม่เหมาะกับงาน
4. สภาวะจิตใจ
ขาดความความตั้งใจในการทางาน
ขากความสามารถในการควบคุมอารมณ์ในขณะทางาน
ตื่นเต้นง่าย ขวัญอ่อน ตกใจง่าย
5. ด้านอุปกรณ์
ใช้เครื่องมือไม่ถูกขนาด
ใช้เครื่องมือที่สึกหรอชารุด ทื่อ หรือหัก
ใช้เครื่องมือที่ปราศจากด้ามหรือที่จับที่เหมาะสม
ไม่ใช้เครื่องป้ องกันอันตราย
จับตั้งงานไม่ได้ขนาด และไม่มั่นคง
ละเลยต่อการบารุงรักษา เช่น น้ามันหล่อลื่นไม่เพียงพอ
6. สภาพของบริเวณปฏิบัติงานที่ไม่ปลอดภัย เช่น
แสงสว่างไม่เพียงพอ
เสียงดังมากเกินไป
การระบายอากาศที่ไม่เหมาะสม
ความสกปรก
บริเวณที่คับแคบ
มีสารเคมี และเชื้อเพลิง
พื้นที่ลื่น เนื่องจากคราบน้ามัน
หลุมและสิ่งกีดขวางทางเดิน
การสูญเสียเนื่องจากการเกิดอุบัติเหตุ
การเกิดอุบัติเหตุขึ้นแต่ละครั้งย่อมหมายถึงจะเกิดการสูญเสียขึ้นทุกครั้ง ได้แก่
1. การสูญเสียโดยตรง
1.1 ตนเองได้รับบาดเจ็บ พิการ หรือตาย และอาจทาให้ผู้อื่น ได้รับอันตราย ตลอดจนทาให้อุปกรณ์
เครื่องมือ เครื่องจักร ทรัพย์สินอื่น ๆ ชารุดเสียหาย
1.2 การสูญเสียที่คิดเป็นเงินที่นายจ้างหรือรัฐบาลต้องจ่ายโดยตรง ให้แก่ผู้ที่ได้รับอุบัติเหตุจากการ
ทางาน เช่น ค่ารักษาพยาบาล เงินทดแทนที่ต้องจ่ายโดยรัฐหรือเจ้าของโรงงาน
2. การสูญเสียโดยทางอ้อม
2.1 การสูญเสียซึ่งมักจะคิดไม่ถึง หรือไม่ค่อยได้คิดว่าเป็นการสูญเสียเป็นลักษณะการสูญเสียที่แฝงอยู่
ไม่ปรากฏเด่นชัด
2.2 สูญเสียแรงงานของลูกจ้างที่ได้รับบาดเจ็บ จะต้องใช้เวลาพักฟื้นจนกว่าจะหาย
2.3 สูญเสียเวลาของลูกจ้างคนอื่น ๆ ซึ่งหยุดทางานในขณะเกิดอุบัติเหตุด้วยเหตุผลต่อไปนี้ความ
อยากรู้อยากเห็นเข้าไปมุงดู ซักถามเหตุการณ์ด้วยความเห็นใจลูกจ้างผู้บาดเจ็บ ตื่นเต้น หรือช่วยเหลือผู้บาดเจ็บในการ
ทาปฐมพยาบาลหรือนาส่งโรงพยาบาล
2.4 สูญเสียเวลาของแพทย์หรือพยาบาล หรือเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ในการปฐมพยาบาล
2.5 ค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมเครื่องจักรกล เครื่องมือ
2.6 ทาให้ปริมาณผลผลิตขาดหายไป ผลิตให้ผู้ใช้ไม่ทันเวลา ส่งผลให้เงินรางวัล โบนัสประจาปีลด
น้อยลงไป
2.7 สูญเสียผลกาไรส่วนหนึ่งไป เนื่องจากลูกจ้างบาดเจ็บและเครื่องจักรหยุดทางาน
2.8 ทาให้คนงานขวัญเสียเกิดความกลัว ประสิทธิภาพการทางานลดลง
 การทางานในชีวิตประจาวันของคนเรานั้น จะต้องสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกันไป ทาให้แต่
ละคนได้รับพิษภัย และเกิดโรคอันเนื่องมาจากการทางานแตกต่างกันไปตามสถานภาพ ใน
หน้าที่การงานของแต่ละคน อันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทางานพิจารณาได้ดังนี้
 1. เสียงดัง คนทางานโดยทั่วไปประมาณวันละ 8 ชั่วโมง จะรับระดับเสียงได้ไม่เกิน 90
เดซิเบล ถ้าดังเกินไปจะทาให้หูตึง และอาจหูหนวกได้
 2. แสงสว่าง ได้รับมากเกินไปทาให้ตาได้รับอันตราย อาทิ เช่น จากเตาหลอม ไฟเชื่อม ทาให้
ตาพร่ามัว และอาจตาบอดได้
 3. ความร้อน ถ้าไม่มีการป้ องกันความร้อนที่ดีแล้วอาจได้รับอันตราย เช่น ทาให้อ่อนเพลียไม่มี
แรง หน้ามืดบ่อย ๆ และอาจเป็นลมสลบได้
 4. ความกดดัน อากาศในบริเวณปฏิบัติงานที่มีความกดดันสูงกว่าปกติ จะทาให้เกิดอาการปวด
หู อาจทาให้เยื่อหูฉีกขาด และทาให้หูหนวกในที่สุด
 5. ความสั่นสะเทือน อาจทาให้เนื้อเยื่ออ่อนของมือ เกิดอาการอักเสบลุกลามไปถึงกระดูกข้อมือ
หรือทาให้กล้ามเนื้อมือเป็นอัมพาต
 6. สารเคมี ฝุ่น ไอ ควัน ละอองแก๊สของสารพิษสามารถเข้าสู่ร่างกายได้ 3 ทาง คือ โดย
การหายใจ การหายใจเอาสารเคมีเข้าไป เมื่อถึงปอดจะถูกดูดซึมอย่างรวดเร็วทาให้เกิดโรคปอด
ได้ โดยการดูดซึมทางผิวหนัง ทาให้ผิวหนังเป็นแผล เกิดอาการเป็นพิษต่อระบบหมุนเวียนโลหิต
ของร่างกาย และโดยการกินสิ่งที่อาจก่อให้เกิดอันตรายเข้าไป
การปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับวัสดุบางชนิดอาจก่อให้เกิดอันตราย ได้แก่
1. วัสดุที่มีขอบแหลมคม ซึ่งวางไว้ในที่ที่ไม่เหมาะสม เช่น ไม่มีสิ่งจับยึด แขวนไว้เหนือ ศีรษะโดยไม่มีเครื่องป้ องกันอันตราย หรือวางไว้เกะกะบน
พื้น
2. วัสดุที่ติดไฟได้ง่าย เช่น น้ามันเชื้อเพลิง ขยะมูลฝอย
3. สารเคมีที่เป็นพิษ
4. วัสดุที่มีอุณหภูมิสูง เช่น โลหะที่เผาจนร้อนจัด น้าร้อน
5. ไอน้าหรืออากาศที่มีความดันสูง เช่น หม้อไอน้า เครื่องปั้มลม
6. สื่อไฟฟ้ าที่ปราศจากฉนวนหุ้ม
7. บันไดที่หัก หรือนั่งร้านที่ไม่แข็งแรง
หลักความปลอดภัยในการทางานโดยทั่วไป
1. จะต้องยอมรับ และปฏิบัติตามกฎความปลอดภัยของโรงงานโดยเคร่งครัด
2. ใช้เครื่องมือให้ถูกวิธี ถูกขนาด และถูกกับงาน
3. แต่งกายให้ถูกต้องตามระเบียบของโรงงาน และใช้เครื่องป้ องกันอันตรายทุกครั้งที่ปฏิบัติงานที่กาหนดให้ใช้เครื่องป้ องกัน
4. หลีกเลี่ยงการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ หรือเครื่องจักรที่ชารุดเสียหาย หรืออยู่ในสภาพที่ ไม่เหมาะสมต่อการใช้งาน
5. เก็บรักษาอุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้ในการทางานให้เป็นระเบียบเรียบร้อยอยู่เสมอ เมื่อนาไปใช้งานต้องเก็บไว้ให้ถูกจุดทุกครั้ง
6. รักษาความสะอาดทางเดินในโรงงาน และติดป้ ายแสดงให้ชัดเจนที่บริเวณปฏิบัติงานที่มีอันตราย
7. จัดตาแหน่ง หรือที่ติดตั้งเครื่องดับเพลิงตลอดจนวิธีการใช้
8. ปฏิบัติตามคาเตือนหรือเครื่องหมายแสดงอันตรายใด ๆ ภายในโรงงาน
9. อย่าวิ่งหรือหยอกล้อกันในโรงงาน
10. ในกรณีเกิดอุบัติเหตุให้รีบช่วยเหลือทันที
11. ใช้เครื่องป้ องกันอันตรายส่วนบุคคล
เครื่องป้ องกันอันตรายส่วนบุคคล หมายถึง สิ่งหนึ่งสิ่งใดที่สวมใส่ลงบนอวัยวะ
ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย หรือหลาย ๆส่วนรวมกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้ องกัน
อันตรายให้แก่อวัยวะส่วน นั้น ๆ ไม่ให้ประสบกับอันตราย คือ เป็นการป้ องกัน
อันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทางาน
เครื่องป้ องกันอันตรายส่วนบุคคล
แบ่งออกเป็นชนิดตามลักษณะที่ใช้ป้ องกันได้ ดังนี้
1. เครื่องป้ องกันศีรษะ
เครื่องป้ องกันศีรษะ เช่น หมวกนิรภัย เป็นเครื่องสวมใส่ศีรษะ มี
ลักษณะแข็งแกร่ง ทาด้วยวัสดุที่แตกต่างกันไป เพื่อป้ องกันศีรษะของคนงานซึ่งไม่
เพียงแต่จากการกระแทก แต่รวมทั้งวัตถุที่ปลิวหรือกระเด็นมาโดน และไฟฟ้ าช็อต
หมวกนิรภัย ถูกออกแบบให้ส่งผ่านแรงเฉลี่ยที่มากที่สุดได้ไม่เกิน 850 ปอนด์ ตัว
หมวกและรองในหมวกต้องห่างกันไม่ต่ากว่า 3 ซม. ดังรูปที่ 1.1
รูปที่ 1.1 หมวกนิรภัย
2. เครื่องป้ องกันตาและใบหน้า
การทางานในลักษณะของงานที่อาจเป็นอันตรายแก่สายตาและใบหน้า ต้องสวมใส่
อุปกรณ์ เช่น แสงจ้าชนิดที่มีอุลตร้าไวโอเลต ป้ องกันโดยใช้หน้ากากกรองแสง ในกรณี
งานเชื่อมหน้ากากป้ องกันเศษโลหะในกรณีทางานกับหินเจียรนัย ดังรูปที่ 1.2
รูปที่ 1.2 แว่นตานิรภัย
3. เครื่องป้ องกันอันตรายขาดการหายใจ
3.1 ชนิดเป็นถุงอากาศช่วยในการหายใจ อุปกรณ์นี้เหมาะจะใช้กับบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารเคมีเป็นพิษ
สูง ที่มีไอน้าหนาแน่น หรือในที่ขาดออกซิเจน
3.2 หน้ากากใช้กรองสารเคมี อุปกรณ์ชนิดนี้ประกอบด้วยหน้ากากปิดครึ่งใบหน้า มีที่กรองอากาศติดอยู่ที่
บริเวณจมูก 1-2 อัน ทาหน้าที่กาจัดไอหรือแก๊สพิษที่จะหายใจเข้าไป ดังรูปที่ 1.3
รูปที่ 1.3 หน้ากากใช้กรองสารเคมี
3.3 เครื่องกรองฝุ่นชนิดนี้จะใช้กรองฝุ่นโดยเฉพาะ หน้ากากทาด้วยยางหรือพลาสติก ปิดจมูกโดยมี
แผ่นกรองบาง ๆ เป็นตัวจับฝุ่นเอาไว้ไม่ให้เข้าไปกับอากาศที่ผ่านเข้าไป ดังรูปที่ 1.4
รูปที่ 1.4 หน้ากากที่มีเครื่องกรองฝุ่น
3.4 หน้ากากที่มีเครื่องเป่าอากาศ ชนิดนี้จะใช้ได้ดีในลักษณะงานที่ทาในที่อับทึบ อุโมงค์ ท่อ
ขนาดใหญ่งานประเภทนี้จะออกซิเจนไม่เพียงพอหรือมีสารเคมีเป็นพิษปะปนอยู่มาก เครื่องเป่า
อากาศ (Blower) ทาหน้าที่เป่าอากาศเข้ามา ท่อส่งอากาศปกติจะยาวไม่เกิน 150 ฟุต ต่อ
เข้ากับหน้ากาก
4. เครื่องป้ องกันหู
จากการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องเสียงนั้น พบว่าถ้าหากหูของคนต้องสัมผัสกับเสียงที่ดังเกินกว่า
90 เดซิเบลแล้ว จะทาให้เกิดอันตรายต่อการได้ยิน วิธีที่จะช่วยลดความดังของเสียงลงมานั้น
การป้ องกันที่ตัวคน คือการใช้เครื่องป้ องกันหู ปกติจะแบ่งออกเป็นชนิดใหญ่ ๆ ได้หลายชนิดดังนี้
4.1 ที่อุดหู ใช้อุดหูทั้งสองข้าง โดยสอดใส่เข้าไปในช่องหู ออกแบบให้มีขนาดพอเหมาะกับรูหู
จะมีผลในการป้ องกันเสียงมาก วัสดุที่ใช้ทานั้น มีหลายชนิด เช่น พลาสติกอ่อน ยาง สาลี ชนิดที่
ทาจากยางและพลาสติกนิยมใช้มากที่สุด ดังรูปที่ 1.5
รูปที่ 1.5 ที่อุดหู
4.2 ที่ครอบหู เป็นเครื่องป้ องกันเสียงชนิดครอบใบหูทั้งสองข้าง บางชนิดมีลาโพงสาหรับใช้พูดติดต่อกันได้ในสถานที่มี
เสียงดัง ดังรูปที่ 1.6
รูปที่ 1.6 ที่ครอบหู
5. ชุดพิเศษ ในโรงงานอุตสาหกรรมปัจจุบันนี้สิ่งแวดล้อมภายในโรงงานต้องสัมผัสต่อความร้อน โลหะละลาย
สารเคมี จึงต้องชุดป้ องกันพิเศษสาหรับงานนั้น ๆ โดยเฉพาะลงไป เช่น
5.1 ถุงมือและปลอกแขน สารที่นามาทาถุงมือและปลอกแขนขึ้นอยู่กับงาน สาหรับงานเบาอาจทาด้วยผ้า
สาหรับงานที่เกี่ยวกับวัตถุที่คมและความร้อนใช้หนังสัตว์ทา หรือทาด้วยตาข่ายโลหะก็จะกันคมได้ดี ดังรูปที่ 1.7
รูปที่ 1.7 ถุงมือที่ทาจากผ้าและหนังสัตว์
5.2 เสื้อหนังหรือแผ่นหนังปิดหน้าอก เป็นชุดที่จะป้ องกันร่างกายของคนเราไม่ให้ถูก ความร้อน และการแผ่ความร้อนที่เกิดจาก
โลหะถูกเผาและการรับรังสีอินฟราเรดและอุลตร้าไวโอเลต ดังรูปที่ 1.8
รูปที่ 1.8 เสื้อหนังป้ องกันความร้อน
5.3 เสื้ออะลูมิเนียม เมื่อคนต้องทางานเกี่ยวกับความร้อนที่มี อุณหภูมิประมาณ 2000 องศาฟาเรนไฮด์ เช่น ในที่มีการหลอม
โลหะ เสื้ออะลูมิเนียมมันจะสะท้อนรังสีความร้อนที่แผ่ออกมา ชุดนี้ประกอบด้วย กางเกง เสื้อคลุม ถุงมือ รองเท้าหุ้มข้อ และที่ครอบ
ศีรษะ ดังรูปที่ 1.9
รูปที่ 1.9 เสื้ออะลูมิเนียม
6. รองเท้านิรภัย
อาจจะเป็นรองเท้าธรรมดา ใส่เครื่องป้ องกันครอบลงไปหน้ารองเท้า ควรจะรับน้าหนักได้ 2,500 ปอนด์ และแรง
กระแทก 50ปอนด์ รองเท้านิรภัยจะมีโลหะป้ องกันอยู่ที่หัวรองเท้าข้างในใช้ในงานที่มีการเคลื่อนย้ายวัตถุที่หนัก ดังรูปที่ 1.10
รูปที่ 1.10 รองเท้านิรภัย
7. เข็มขัดนิรภัย
เข็มขัดนิรภัยที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม หรือใช้ในการทาความสะอาดหน้าต่างภายนอกตึก สูง ๆ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
7.1 ชนิดธรรมดา ชนิดนี้จะใช้สาหรับรับน้าหนักของตัวผู้ใช้ในขณะทางานให้สามารถทางานได้โดยสะดวก ซึ่งอาจจะขึ้นไปทางาน
ในที่สูงหรือทางานในที่ต่าลงไป
7.2 ชนิดที่ใช้ยามฉุกเฉิน ใช้ป้ องกันไม่ให้คนทางานตกลงมาในเมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้นระหว่างการทางาน ดังรูปที่ 1.11
รูปที่ 1.11 เข็มขัดนิรภัย
องค์ประกอบของความปลอดภัยในการทางาน
องค์ประกอบของความปลอดภัยในการทางาน ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ คือ
1. คุณภาพดีชีวิตพนักงานดีขึ้น ในการทางานทุกอย่างอุบัติเหตุส่วนใหญ่อาจก่อให้เกิดการบาดเจ็บพิการหรือเสียชีวิตจน
ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ ทาให้เกิดปัญหาทางสังคมตามมา แต่ถ้าหากการทางานปราศจากสิ่งต่าง ๆ ที่กล่าวมาแล้วนั้น ทาให้
บุคลากรในโรงงานมีขวัญและกาลังใจในการทางานเป็นอย่างดี
2. ผลผลิตเพิ่มขึ้น เมื่อการทางานปลอดภัยในทุกสาขาอาชีพ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ผลที่ได้รับทาให้การทางานมี
คุณภาพและสามารถผลิตได้มากขึ้น
3. ค่าใช้จ่ายลดลง ในการผลิตทาให้ต้นทุนในการผลิตต่าลง ภายใต้การทางานที่ปลอดภัย ไม่มีอุบัติเหตุ ทาให้ลด
ค่าใช้จ่ายในด้านค่ารักษาพยาบาลค่าชดเชยต่าง ๆ
4. ผลกาไรเพิ่มมากขึ้น ในการทางานอย่างปลอดภัย การทางานมีผลผลิตเพิ่มมากขึ้น ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล
ลดลง ต้นทุนในการผลิตต่าย่อมส่งผลทาให้ โรงงานมีผลกาไรมากขึ้น
5. ภาพลักษณ์ขององค์กรดีขึ้น อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากการทางานอาจส่งผลต่อชื่อเสียงภาพพจน์ขององค์กร
ต่ออาชีพ ต่อสังคมและประเทศชาติ ความเชื่อถือต่อองค์กรลดลง
6. ลดการสูญเสียทรัพยากรมนุษย์ การทางานที่ไม่ปลอดภัยอาจทาให้เกิดอุบัติเหตุ ส่งผลต่อการบาดเจ็บ
พิการหรือเสียชีวิต ถือเป็นการสูญเสียแรงงานที่สาคัญของประเทศชาติ
7. เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศชาติดีขึ้น ชื่อเสียงภาพพจน์และความเชื่อมั่น จากนักธุรกิจต่างชาติ
ส่งผลที่ดีต่อการลงทุนภายในประเทศ มีการจ้างแรงงานเพิ่มขึ้น
การปฏิบัติงานที่ไม่ปลอดภัย
การปฏิบัติงานที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Aet) หมายถึง การปฏิบัติงานบุคลากรที่ไม่ปลอดภัยอาจส่งผล
เสียหายต่อชีวิต และทรัพย์สิน ซึ่งเกิดจากสาเหตุดังนี้
1. การทางานที่ขาดความรู้และความเข้าใจในการใช้งานของเครื่องมือและอุปกรณ์
2. ปฏิบัติงานโดยไม่ใช่หน้าที่ตัวเองรับผิดชอบ
3. ขาดทักษะและประสบการณ์ในการทางาน
4. ขาดจิตสานึกที่ดี
5. ไม่ใช้อุปกรณ์ป้ องกันอันตราย
6. การจัดเก็บอุปกรณ์ สารเคมีหรือวัสดุอย่างไม่ถูกหลักวิชาการ
7. การดัดแปลงอุปกรณ์ ทาให้เกิดความไม่ปลอดภัย
ผลกระทบที่เกิดจากความไม่ปลอดภัยในการทางาน
อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากการทางานทุกสาขาอาชีพ ย่อมส่งผลกระทบต่อบุคลากรทุก ๆ
ฝ่ายไม่ว่าจะเป็นเจ้าของกิจการ วิศวกร หัวหน้างานผู้ปฏิบัติงานรวมไปถึงครอบครัวและ
ประเทศชาติซึ่งพอสรุปได้ดังนี้
1. ตัวผู้ประสบอุบัติเหตุและครอบครัว เป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบโดยตรง ทาให้เสีย
ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล เสียเวลาในการทางานขาดรายได้และอาจจะทาให้เสียอวัยวะของ
ร่างกาย ส่วนครอบครัวทาให้ขาดรายได้ประจาเดือนที่จุนเจือครอบครัว กลายเป็นภาระ
ของสังคม
2. เพื่อนร่วมงาน ทาให้เสียขวัญและกาลังใจในการทางาน
3. หัวหน้างาน คือ ผู้บริหารระดับต้น ที่ต้องรับผิดชอบต่ออุบัติเหตุที่เกิดขึ้น ต้อง
เสียเวลาในการสอบสวน และวิเคราะห์หาสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ เพื่อหาแนวทางแก้ไขไม่ให้
เกิดขึ้นอีก
4. เจ้าของผู้ประกอบการ เป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบโดยตรงทาให้ประสิทธิภาพของงาน
ลดลง ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น เสียค่าซ่อมบารุงเครื่องจักรมากขึ้น การส่งงาน
ล่าช้า ทาให้ผลกาไรลดลง และประสบผลการขาดทุนในการดาเนินงาน
5. สังคมและประเทศชาติ ทาให้ประชาชนเสียขวัญและกาลังใจในการทางาน
เศรษฐกิจของประเทศตกต่า รายได้ของประเทศชาติลดลง เป็นภาระของสังคมต้องดูแลผู้ที่ได้รับ
บาดเจ็บและพิการ
การเสริมสร้างความปลอดภัยในการทางาน
การเสริมสร้างความปลอดภัยในการทางานเพื่อให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพนั้น บุคลากร
ทุกฝ่ายต้องให้ความร่วมมือ เพราะอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นนั้นไม่ใช่เป็นเรื่องบังเอิญแต่เป็นเพราะอุปกรณ์
เครื่องมือ ขบวนการผลิต และตัวบุคลากรเอง ดังนั้นการเสริมสร้างความปลอดภัยในการทางานสามารถ
ทาได้ดังนี้
1. การสร้างจิตสานึก
1.1 ผู้ประกอบการ ควรมีจิตสานึกที่ดี รับผิดชอบต่อความปลอดภัยในการ
ทางานของบุคลากรทุกฝ่าย และบริหารงานภายใต้กฎหมายของโรงงานอย่างเคร่งครัด
1.2 วิศวกรผู้ควบคุมงาน เป็นผู้ที่คอยดูแลการปฏิบัติงานของลูกจ้างให้ปฏิบัติ
ตามกฎหมายของโรงงานไม่ว่าด้านการใช้อุปกรณ์ป้ องกันอันตราย การวางผังโรงงาน ระบบไฟฟ้ า
แสงสว่าง ฯลฯ
1.3 หัวหน้าคนงาน มีหน้าที่ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของลูกจ้าง ให้ปฏิบัติตาม
กฎหมายของโรงงานอย่างเคร่งครัด ไม่ควรมีการแก้ไข ดัดแปลงเครื่องมือก่อนได้รับอนุญาต
1.4 ผู้ปฏิบัติงาน ต้องมีจิตสานึกที่ดีต่อความปลอดภัยในการทางาน โดยปฏิบัติ
ตามกฎของโรงงาน มีสติในการทางาน มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานเป็นอย่างดี ไม่ละเลยต่อ
การทางานที่ไม่ปลอดภัย เพราะอาจก่อให้เกิดการสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินได้
1.5 เจ้าหน้าที่ของรัฐควรทาหน้าที่ตรวจสอบการปฏิบัติงานของบุคลากรในโรงงาน
ให้ปฏิบัติตามกฎหมายของโรงงานอย่างเคร่งครัด หากมีการละเมิดควรมีการลงโทษตามที่กาหนดไว้โดยไม่
เห็นแก่อามิสสินจ้างหรือผลประโยชน์ใด ๆ
2. ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทางาน
สภาพแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะอนามัย มีการวางผังโรงงานที่ดี ย่อมทาให้การ
ปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ ดังรูปที่ 1.12
รูป 1.12 สภาพแวดล้อมที่ดีนาไปสู่ความปลอดภัย
3. การมอบหมายงานให้เหมาะสมกับตัวบุคลากร การมอบหมายงานควรคานึงถึง
ความรู้ความสามารถของลูกจ้าง งานที่ได้ออกมาย่อมมีคุณภาพ
4. จัดทากฎระเบียบให้เป็นมาตรฐาน ทั้งในด้านเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ป้ องกัน
อันตราย และระบบการทางาน เช่น การแต่งกาย สัญลักษณ์ความปลอดภัย ฯลฯ
สรุปท้ายหน่วยการเรียน
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย เป็นเรื่องที่ควรให้ความสาคัญโดยเฉพาะอย่าง
ยิ่งการปฏิบัติงาน ผู้ประกอบการและนายจ้างหรือลูกจ้าง เพื่อส่งเสริมให้มีจิตสานึกที่ดีต่อความปลอดภัย
ในการปฏิบัติงาน เพื่อให้พนักงานมีสุขภาพและอนามัยที่ดี ลดอุบัติเหตุในการปฏิบัติงาน
แบบประเมินผลการเรียนรู้
ตอนที่ 1 จงตอบคาถามต่อไปนี้
1. จงให้ความหมายของคาว่า “อาชีวอนามัย”
…………………………………………………………………………………………………
2. จงบอกองค์ประกอบของอาชีวอนามัย มี 5 ลักษณะ จงอธิบาย
…………………………………………………………………………………………………
3. สาเหตุสาคัญของการเกิดอุบัติเหตุในการปฏิบัติงานคืออะไร
………………………………………………………………………………………………
4. ผู้ที่รับผิดชอบในการควบคุมความปลอดภัยในการทางาน คือ
…………………………………………………………………………………………………
5. ผู้ที่ใกล้ชิดกับคนงานและควบคุมป้ องกันมิให้เกิดอุบัติเหตุขึ้น คือใคร
…………………………………………………………………………………………
6. จงบอกผลกระทบที่เกิดจากความไม่ปลอดภัยในการทางาน
…………………………………………………………………………………………………
7. บุคลากรที่เกี่ยวกับงานอาชีวอนามัย คือ
……………………………………………………………………………………………
8. ความปลอดภัยในการทางานช่วยลดค่าใช้จ่ายได้อย่างไร
………………………………………………………………………………………………
9. การเสริมสร้างความปลอดภัยในการทางานเพื่อให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสามารถทาได้อย่างไร
…………………………………………………………………………………………
10. การปฏิบัติงานลักษณะใดที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุในการทางาน
……………………………………………………………………………………………
ตอนที่ 2 จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด
1. การอาชีวอนามัย มีความหมายสัมพันธ์กับการทางานเรื่องใดมากที่สุด
ก. การคุ้มครองไม่ให้เกิดการตกงาน
ข. มาตรการที่ทาให้ผู้ประกอบอาชีพมีสุขภาพอนามัยที่ดี
ค. การป้ องกันไม่ให้ผู้ประกอบอาชีพเสียเปรียบนายจ้าง
ง. การคุ้มครองให้ผู้ประกอบอาชีพมีสุขภาพที่แข็งแรง
2. พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน มีผลดีต่อหลักอาชีวอนามัยของการทางานอย่างไร
ก. เพื่อป้ องกันนายจ้างบอกเลิกจ้างงาน
ข. เพื่อคุ้มครองป้ องกันและส่งเสริมสุขภาพอนามัยที่ดี
ค. เพื่อป้ องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นในการทางาน
ง. เพื่อคุ้มครองให้นายจ้างใส่ใจดูแลความปลอดภัยของลูกจ้าง
3. ข้อใดเป็นการปฏิบัติตามหลักอาชีวอนามัย
ก. การติดตั้งสัญญาณกันขโมย
ข. การติดตั้งสัญญาณเตือนความร้อน
ค. การสั่งซื้อเครื่องจักรราคาแพง
ง. การเพิ่มค่าแรงให้สูงขึ้นเมื่อทางานล่วงเวลา
4. วิธีการใดที่จะสร้างความปลอดภัยในการทางานที่ดีที่สุด
ก. การติดตั้งระบบสัญญาณเตือนภัย
ข. การติดตั้งประกาศเตือนภัย
ค. การติดโทรทัศน์วงจรปิด
ง. การฝึกอบรมให้ความรู้
5. การสร้างความปลอดภัยในการทางานมีผลอย่างไร
ก. มีลูกจ้างเพิ่มมากขึ้น
ข. มีค่าใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้น
ค. คนงานมีขวัญกาลังใจเพิ่มมากขึ้น
ง. หัวหน้างานมีหน้าที่เพิ่มมากขึ้น
6. บุคคลในข้อใดมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเสริมสร้างความปลอดภัยในการทางาน
ก. นายจ้าง ข. ลูกจ้าง
ค. เจ้าหน้าที่ของรัฐ ง. ถูกทุกข้อ
7. วิธีการใดที่เสริมสร้างความปลอดภัยให้มีประสิทธิภาพ
ก. สร้างจิตสานึกที่ดีต่อความปลอดภัย
ข. ลงโทษอย่างรุนแรงเมื่อเกิดอุบัติเหตุ
ค. สร้างกฎระเบียบในการทางาน
ง. จัดหาอุปกรณ์ป้ องกันอันตรายมาให้ผู้ปฏิบัติงานใช้
8. กิจกรรม เสริมสร้างความปลอดภัยในการทางานมีประโยชน์อย่างไร
ก. ปฏิบัติตามที่หัวหน้างานสั่ง
ข. ทาให้เกิดการจ้างงานเพิ่มขึ้น
ค. ผลผลิตในองค์กรเพิ่มมากขึ้น
ง. ช่วยลดอุบัติเหตุจากการทางานและลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดอันตราย
9. การกระทาในข้อใดส่งผลให้เกิดความเสียหายกับผู้ประกอบการ
ก. การพูดคุยระหว่างการทางาน
ข. การจัดเก็บอุปกรณ์อย่างมีระเบียบ
ค. การทางานโดยไม่ลาพักผ่อนเลย
ง. การปฏิบัติตามกฎข้อบังคับของโรงงาน
10. ข้อใดเป็นการส่งเสริมและคุ้มครองสุขภาพอนามัยในขณะทางาน
ก. การให้สิทธิรักษาฟรีเมื่อประสบอุบัติเหตุ
ข. เพิ่มค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลทุกกรณี
ค. ติดตั้งระบบระบายอากาศและความเย็นในห้อง
ง. การเก็บสารเคมีอันตรายอย่างมีระเบียบ

Contenu connexe

Tendances

คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
Suradet Sriangkoon
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
พัน พัน
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา
Watcharin Chongkonsatit
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
krupornpana55
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
supap6259
 

Tendances (20)

การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลการจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์บทที่ 8 การยศาสตร์
บทที่ 8 การยศาสตร์
 
วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1
 
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
เกณฑ์การแข่งขันศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 65 ปีการศึกษา 2558 การงานอาชีพแล...
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
ใบความรู้ที่ 3 เรื่องสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
 
Ppt.หูเสื่อม
Ppt.หูเสื่อมPpt.หูเสื่อม
Ppt.หูเสื่อม
 
สถิติ
สถิติสถิติ
สถิติ
 
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...
Occupational and Environmental Diseases Investigation and Root Cause Analysis...
 
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษามาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
 
9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา9 การให้สุขศึกษา
9 การให้สุขศึกษา
 
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาวบอร์ดโรงเรียนสีขาว
บอร์ดโรงเรียนสีขาว
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
 
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
สื่อการสอน เรื่อง งานประดิษฐ์
 
2.การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 1 2
2.การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 1 22.การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 1 2
2.การจัดการความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม 1 2
 

En vedette

Intro to OH&S
Intro to OH&SIntro to OH&S
Intro to OH&S
nnanthas
 
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัยแบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
Adisorn Tanprasert
 
Poka yoke (mistake proofing)
Poka yoke (mistake proofing)Poka yoke (mistake proofing)
Poka yoke (mistake proofing)
Animesh Khamesra
 

En vedette (10)

โครงการ Safety day 2014
โครงการ Safety day 2014โครงการ Safety day 2014
โครงการ Safety day 2014
 
5.กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย
5.กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย5.กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย
5.กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย
 
คู่มือความปลอดภัยในการทำงาน
คู่มือความปลอดภัยในการทำงานคู่มือความปลอดภัยในการทำงาน
คู่มือความปลอดภัยในการทำงาน
 
Intro to OH&S
Intro to OH&SIntro to OH&S
Intro to OH&S
 
Human Error Prevention
Human Error PreventionHuman Error Prevention
Human Error Prevention
 
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัยแบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
แบบทดสอบทัศนคติด้านความปลอดภัย
 
POKA-YOKE - A Lean Strategy to Mistake Proofing
POKA-YOKE - A Lean Strategy to Mistake ProofingPOKA-YOKE - A Lean Strategy to Mistake Proofing
POKA-YOKE - A Lean Strategy to Mistake Proofing
 
Poka yoke (mistake proofing)
Poka yoke (mistake proofing)Poka yoke (mistake proofing)
Poka yoke (mistake proofing)
 
Poka Yoke Final Ppt
Poka Yoke  Final PptPoka Yoke  Final Ppt
Poka Yoke Final Ppt
 
Poka yoke
Poka yokePoka yoke
Poka yoke
 

Similaire à สื่อการสอนอาชีวอนามัย

ปฐมนิเทศรายวิชา การจัดการข้อมูลและการคำนวณ
ปฐมนิเทศรายวิชา การจัดการข้อมูลและการคำนวณปฐมนิเทศรายวิชา การจัดการข้อมูลและการคำนวณ
ปฐมนิเทศรายวิชา การจัดการข้อมูลและการคำนวณ
Meaw Sukee
 
ปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
Meaw Sukee
 
ปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
Meaw Sukee
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
nangnut
 
แผนฉบับย่อนิ่ม
แผนฉบับย่อนิ่มแผนฉบับย่อนิ่ม
แผนฉบับย่อนิ่ม
krunimsocial
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
Meaw Sukee
 
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
Sirirat Faiubon
 
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษารายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
Krudachayphum Schoolnd
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
Meaw Sukee
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
jariya221
 
สื่อประสม4
สื่อประสม4สื่อประสม4
สื่อประสม4
krupornpana55
 
การงาน01
การงาน01การงาน01
การงาน01
pannee
 
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ตแผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
Rungdawan Rungrattanachai
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
nangnut
 

Similaire à สื่อการสอนอาชีวอนามัย (20)

ปฐมนิเทศรายวิชา การจัดการข้อมูลและการคำนวณ
ปฐมนิเทศรายวิชา การจัดการข้อมูลและการคำนวณปฐมนิเทศรายวิชา การจัดการข้อมูลและการคำนวณ
ปฐมนิเทศรายวิชา การจัดการข้อมูลและการคำนวณ
 
แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1  แผนคณิต 1 น.1
แผนคณิต 1 น.1
 
แผน 1 12
แผน 1 12แผน 1 12
แผน 1 12
 
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
แผน 1 1 คณิตฯ ม.1 เล่ม1
 
ปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
ปฐมนิเทศรายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
แผนฉบับย่อนิ่ม
แผนฉบับย่อนิ่มแผนฉบับย่อนิ่ม
แผนฉบับย่อนิ่ม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
 
Plan2
Plan2Plan2
Plan2
 
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
 
Plan
PlanPlan
Plan
 
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษารายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
รายละเอียดตัวบ่งชี้เพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม(ประถมศึกษา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
 
สื่อประสม4
สื่อประสม4สื่อประสม4
สื่อประสม4
 
การงาน01
การงาน01การงาน01
การงาน01
 
02
0202
02
 
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ตแผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
แผนการจัดการเรียนรู้อินเตอร์เน็ต
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 

สื่อการสอนอาชีวอนามัย

  • 1. หน่วยการเรียนที่ 1 เรื่อง ความหมายและองค์ประกอบของอาชีวอนามัยและความปลอดภัย จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. จุดประสงค์การเรียนรู้ (ปลายทาง) นักศึกมีความรู้ความเข้าใจความหมายและองค์ประกอบของอาชีวอนามัยและความ ปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน ด้วยการปฏิบัติตามกฎหมายความปลอดภัย อย่างเคร่งครัด ปรับปรุงสภาพงานและจัดกฎระเบียบในการทางานให้เป็นมาตรฐานได้อย่างถูกต้อง 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ (นาทาง) 2.1 รู้และเข้าใจความหมายของอาชีวอนามัย 2.2 บอกความหมาย และองค์ประกอบของความปลอดภัยในการทางานได้ถูกต้อง 2.3 บอกหลักความปลอดภัยในการทางานโดยทั่วไปได้ถูกต้อง 2.4 บอกเครื่องป้องกันอันตรายส่วนบุคคลได้ถูกต้อง 2.5 บอกองค์ประกอบของความปลอดภัยในการทางานได้ถูกต้อง
  • 2. 1. การปฐมนิเทศวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การเรียนอาชีวอนามัยและความปลอดภัย รหัส 10300101 ให้ประสบความสาเร็จนั้น ผู้เรียน จะต้องทราบข้อมูลการเรียนการสอน การวัดผลและการประเมินผล เมื่อทราบข้อมูลเบื้องต้นแล้วผู้เรียนก็จะ ได้มีเวลาเตรียมตัวในการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลไว้ล่วงหน้า  1.1 เรื่องที่สอน  ในการเรียนการสอนวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย รหัส 10300101 มีทั้งหมด 16 หน่วย การเรียนโดยจัดเป็น 1 หน่วยการเรียนต่อ 1 สัปดาห์ ดังนี้  หน่วยการเรียนที่ 1 เรื่อง ความหมายและองค์ประกอบของอาชีวอนามัยและความปลอดภัย  หน่วยการเรียนที่ 2 เรื่อง การป้ องกันและควบคุมมลพิษ  หน่วยการเรียนที่ 3 เรื่อง เครื่องหมายและสัญลักษณ์ความปลอดภัย  หน่วยการเรียนที่ 4 เรื่อง เครื่องป้ องกันอันตราย  หน่วยการเรียนที่ 5 เรื่อง ความปลอดภัยในการใช้เครื่องจักร  หน่วยการเรียนที่ 6 เรื่อง การเคลื่อนย้ายและจัดเก็บวัสดุอุปกรณ์  หน่วยการเรียนที่ 7 เรื่อง ความรู้เกี่ยวกับงานก่อสร้าง  หน่วยการเรียนที่ 8 เรื่อง ความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้ า  หน่วยการเรียนที่ 9 เรื่อง การป้ องกันและระงับอัคคีภัย  หน่วยการเรียนที่ 10 เรื่อง การส่งเสริมสุขภาพอนามัยพนักงาน  หน่วยการเรียนที่ 11 เรื่อง การปฐมพยาบาล  หน่วยการเรียนที่ 12 เรื่อง การป้ องกันและเฝ้ าระวังโรคจากการทางาน  หน่วยการเรียนที่ 13 เรื่อง การวิเคราะห์และปรับปรุงสภาพทางานตามหลักการยศาสตร์  หน่วยการเรียนที่ 14 เรื่อง การสอบสวนและวิเคราะห์อุบัติเหตุในการทางาน  หน่วยการเรียนที่ 15 เรื่อง การตรวจความปลอดภัยและการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย  หน่วยการเรียนที่ 16 เรื่อง กฎหมายที่เกี่ยวกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน
  • 3. 1.2 การเรียน การเรียนการสอนวิชาชีวอนามัยและความปลอดภัย รหัส 10300101ใช้เวลาทั้งหมด 18 สัปดาห์ ๆ ละ 3 คาบ (คาบละ 60 นาที) รวมคาบทั้งหมด 54 คาบต่อภาคเรียนโดยเรียนทฤษฏี 2 คาบ ปฏิบัติงานลงในแบบฝึกหัด 1 คาบ จานวน 2 หน่วยกิต นักศึกษาจะต้องมีเวลาเรียนไม่ น้อยกว่า 80% ของเวลาเรียนทั้งหมด ถ้าเวลาเรียนไม่ถึง 80% ผู้เรียนจะไม่มีสิทธิ์ในการเข้าสอบปลายภาคเรียน หรือ ขาดเรียนเกินกาหนด (ขร.) ต้องลงทะเบียนเรียนใหม่ในภาคเรียนต่อไป  1.3 การวัดผลระหว่างเรียน การวัดผลระหว่างภาคเรียนวิชาชีวอนามัยและความปลอดภัย รหัส 10300101 มีคะแนนทั้งหมด 100 คะแนนเต็ม ซึ่งมีการให้ คะแนนดังนี้ 1.3.1 คะแนนจากการปฏิบัติงานจากหน่วยการเรียนที่ 1 ถึง หน่วยการเรียนที่ 16 จานวน 180 คะแนน ดังตารางที่ 1.1
  • 4. หน่วยการเรียนที่ เรื่อง สัปดาห์ที่ คะแนนดิบ คะแนนเก็บ 1 การปฐมนิเทศ ความหมายของอาชีวอนามัยและความปลอดภัย 1 20 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับอาชีวอนามัย และความปลอดภัยในการทางาน 1 10 หน่วยการเรียนที่ เรื่อง สัปดาห์ที่ คะแนนดิบ คะแนนเก็บ 2 การป้ องกันและควบคุมมลพิษ 2 10 30 3 เครื่องหมายและสัญลักษณ์ความปลอดภัย 3 10 4 เครื่องป้ องกันอันตราย 4 10 5 ความปลอดภัยในการใช้เครื่องจักร 5-6 20 6 การเคลื่อนย้ายและจัดเก็บวัสดุอุปกรณ์ 7 10 7 ความรู้เกี่ยวกับงานก่อสร้าง 8 10 8 ความปลอดภัยในการใช้ไฟฟ้า 9 10 9 การป้ องกันและระงับอัคคีภัย 10 10 10 การส่งเสริมสุขภาพอนามัยพนักงาน 11 10 11 การปฐมพยาบาล 12 10 12 การป้ องกันและเฝ้าระวังโรคจากการทางาน 13 10 13 การวิเคราะห์และปรับปรุงสภาพทางาน ตามหลักการยศาสตร์ 14 10 14 การสอบสวนและวิเคราะห์อุบัติเหตุในการทางาน 15 10 15 การตรวจความปลอดภัยและการวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย 16 10 16 กฎหมายที่เกี่ยวกับอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทางาน 17 10 สอบปลายภาค 20 30 รวม 180 80 ตารางที่ 1.1 แสดงคะแนนภาคปฏิบัติของแต่ละหน่วยการเรียน
  • 5. หมายเหตุ การคิดคะแนนดิบเป็นคะแนนเก็บโดยใช้วิธีเทียบบัญญัติไตรยางศ์ คะแนนเก็บของแบบฝึกหัด x ผลรวมของคะแนนดิบที่ได้ 1.3.2 คะแนนจากจิตพิสัย จานวน 20 คะแนนเต็ม มีการให้คะแนน ดังนี้ การเรียนตรงเวลา 2 คะแนน การแต่งกายถูกระเบียบ 2 คะแนน ช่วยเหลือผู้อื่น 2 คะแนน ซื่อสัตย์สุจริต 2 คะแนน ส่งงานตรงเวลา 2 คะแนน ความรับผิดชอบต่องานที่มอบหมาย 2 คะแนน ความมีระเบียบวินัย 2 คะแนน มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี 2 คะแนน พูดจาสุภาพ 2 คะแนน ประหยัด 2 คะแนน โดยหน่วยการเรียนมี 16 หน่วยการเรียน รวมคะแนนทั้งหมด 180 คะแนน การหาคะแนนเก็บ จิตพิสัย โดย ใช้วิธีเทียบบัญญัติไตรยางศ์ดังนี้ คะแนนเก็บของจิตพิสัย x ผลรวมของคะแนนดิบที่ได้
  • 6. 1.4 การวัดผลปลายภาค การวัดผลปลายภาคมีคะแนนทั้งหมด 30 คะแนนเต็ม การวัดผลจะใช้ข้อสอบเป็นแบบปรนัยจานวน 60 ข้อ มี 4 ตัวเลือก โดยวัดตามจุดประสงค์เชิง พฤติกรรมจากหน่วยการเรียนที่ 1 ถึงหน่วยการเรียนที่ 16 1.5 เกณฑ์การตัดเกรด โดยนาคะแนนเก็บของแบบฝึกหัดและจิตพิสัยมารวมกับคะแนนสอบปลายภาค การตัดเกรดใช้แบบอิงเกณฑ์ซึ่งผู้เรียนจะต้องมีคะแนนตั้งแต่ 50 คะแนน ขึ้นไป ถ้าคะแนนต่ากว่านี้ถือว่าไม่ผ่านต้องลงทะเบียนเรียนใหม่ 2. ความหมายและองค์ประกอบของอาชีวอนามัยและความปลอดภัย อาชีวอนามัย (Occupational Health) อาชีว หมายถึง การประกอบอาชีพในแต่ละสาขาไม่ว่าจะเป็นด้านอุตสาหกรรม เกษตรกรรมและอื่น ๆ อนามัย หมายถึง การที่มีสุขภาพที่ดี แข็งแรงปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ และมีภูมิคุ้มกันต่อสิ่งต่าง ๆ ที่ทาให้ร่างกายได้รับอันตรายจากการประกอบอาชีพ อาชีวอนามัย จึงหมายถึง การที่บุคลากรที่ทางานในการประกอบอาชีพในด้านต่าง ๆ ที่มีสุขภาพอนามัยที่ดี มีร่างกายแข็งแรงปราศจากโรค และมี ภูมิคุ้มกันจากสิ่งต่าง ๆ ที่ทาให้ร่างกายได้รับอันตรายจากการประกอบอาชีพ ซึ่งทางองค์การอนามัยโลก (WHO) ร่วมกับองค์การแรงงานระหว่าง ประเทศ (ILO) ได้สรุปองค์ประกอบของอาชีวอนามัยไว้ 5 ลักษณะ ดังต่อไปนี้ 1. การส่งเสริม (Promotion) เป็นการส่งเสริมให้ผู้ประกอบอาชีพทุกสาขาอาชีพ มีสุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่แข็งแรงสมบูรณ์ตลอดจนมี ความเป็นอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข 2. การปกป้ องคุ้มครอง (Protection) เพื่อไม่ให้ผู้ประกอบอาชีพในสาขางานต่าง ๆ ทางานที่เสี่ยงต่ออันตราย เช่น สภาพแวดล้อมเกี่ยวกับ เสียง สี แสง ไอพิษ ฯลฯ 3. การป้ องกัน (Prevention) เพื่อป้ องกันไม่ให้สุขภาพอนามัยของพนักงานทรุดโทรม และมีความผิดปกติของร่างกายและจิตใจ อันเป็นบ่อเกิดจาก การทางาน 4. การจัดหรือปรับสภาพ (Placing) เพื่อเป็นการปรับสภาพแวดล้อม จากการทางานให้เหมาะสมกับสภาพร่างกาย เพื่อไม่ให้ได้รับผลกระทบจากการ ทางาน 5. การปรับงานให้เข้ากับคน (Adaptation) ในการทางานทุกอย่าง ต้องมีการจัดหางานที่เหมาะสมกับคน เพื่อให้ได้งานที่ออกมาอย่างมีคุณภาพ และ สามารถทางานเต็มความสามารถของตัวเอง
  • 7. ความหมาย และองค์ประกอบของความปลอดภัยในการทางาน ความปลอดภัยในการทางาน (Occuptional Safety and Health) หมายถึง การ สร้าง ทัศนคติที่ดีต่อการทางานด้วยความปลอดภัย ซึ่งเป็นสิ่งสาคัญยิ่งในการประกอบอาชีพ ความปลอดภัยจึงนับได้ว่าเป็นหัวใจของการทางาน ผู้ปฏิบัติงานจึงต้องมีความระมัดระวังอยู่เสมอไม่ ว่างานที่ทาจะเป็นงานใหญ่หรืองานเล็กก็ตาม อุบัติเหตุ (Accident) หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้คาดคิดไว้ล่วงหน้า อันเป็นผลมาจากการ กระทาสิ่งใดสิ่งหนึ่ง สาเหตุโดยทั่วไปของอุบัติเหตุมีดังต่อไปนี้ 1. ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ มักเกิดกับบุคคลที่เข้าทางานใหม่ ๆ หรือเข้าทางานกับเครื่องมือ เครื่องจักรใหม่โดย ไม่ได้รับคาอธิบายถึงการปฏิบัติและการทางานของเครื่องมือเครื่องจักรโดย ละเอียด จึงมักจะทาให้เกิดอุบัติเหตุขึ้นบ่อย ๆ การสอนเกี่ยวกับความปลอดภัยยังไม่ดีพอ กฎความปลอดภัยไม่มีผลบังคับใช้ ไม่ได้วางแผนงานความปลอดภัยไว้เป็นส่วนหนึ่งของงาน จุดอันตรายต่าง ๆ ไม่ได้ทาการแก้ไข อุปกรณ์ความปลอดภัยไม่ได้จัดให้ ขาดความรู้หรือไม่ได้ตระหนักในเรื่องความปลอดภัย
  • 8. 2. ความประมาท เกิดจากมีความเชื่อมั่นมากเกินไปเนื่องจากทางานมานาน การละเลยไม่เอาใจใส่หรือมีทัศนคติผิด ๆ ในเรื่องความปลอดภัย เครื่องป้ องกันอันตรายหรือเครื่องกั้นจัดไว้ให้ แต่ไม่ใช้หรือถอดออก ใช้เครื่องมือเครื่องใช้ไม่ถูกต้องกับลักษณะของงานที่ทา ถึงแม้ว่าจะมีเครื่องมือ ที่ถูกต้องให้เลือกใช้ได้เหมาะสมก็ตาม ยกของด้วยวิธีผิด ๆ จนเกิดอันตราย อิริยาบถในการเคลื่อนไหวที่อาจเกิดอันตราย เช่น การเดิน การวิ่ง การก้าว กระโดด การปีนป่าย การหยอกล้อ หรือล้อเล่นในระหว่างการทางาน 3. สภาวะร่างกายของบุคคล เมื่อยล้า เนื่องจากทางานตลอดเวลาโดยไม่มีการหยุดพัก อ่อนเพลีย เนื่องจากไม่สบายเป็นไข้แล้วเข้าทางานหนัก หูหนวก สายตาไม่ดี โรคหัวใจ สภาพร่างกายไม่เหมาะกับงาน
  • 9. 4. สภาวะจิตใจ ขาดความความตั้งใจในการทางาน ขากความสามารถในการควบคุมอารมณ์ในขณะทางาน ตื่นเต้นง่าย ขวัญอ่อน ตกใจง่าย 5. ด้านอุปกรณ์ ใช้เครื่องมือไม่ถูกขนาด ใช้เครื่องมือที่สึกหรอชารุด ทื่อ หรือหัก ใช้เครื่องมือที่ปราศจากด้ามหรือที่จับที่เหมาะสม ไม่ใช้เครื่องป้ องกันอันตราย จับตั้งงานไม่ได้ขนาด และไม่มั่นคง ละเลยต่อการบารุงรักษา เช่น น้ามันหล่อลื่นไม่เพียงพอ 6. สภาพของบริเวณปฏิบัติงานที่ไม่ปลอดภัย เช่น แสงสว่างไม่เพียงพอ เสียงดังมากเกินไป การระบายอากาศที่ไม่เหมาะสม ความสกปรก บริเวณที่คับแคบ มีสารเคมี และเชื้อเพลิง พื้นที่ลื่น เนื่องจากคราบน้ามัน หลุมและสิ่งกีดขวางทางเดิน การสูญเสียเนื่องจากการเกิดอุบัติเหตุ
  • 10. การเกิดอุบัติเหตุขึ้นแต่ละครั้งย่อมหมายถึงจะเกิดการสูญเสียขึ้นทุกครั้ง ได้แก่ 1. การสูญเสียโดยตรง 1.1 ตนเองได้รับบาดเจ็บ พิการ หรือตาย และอาจทาให้ผู้อื่น ได้รับอันตราย ตลอดจนทาให้อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องจักร ทรัพย์สินอื่น ๆ ชารุดเสียหาย 1.2 การสูญเสียที่คิดเป็นเงินที่นายจ้างหรือรัฐบาลต้องจ่ายโดยตรง ให้แก่ผู้ที่ได้รับอุบัติเหตุจากการ ทางาน เช่น ค่ารักษาพยาบาล เงินทดแทนที่ต้องจ่ายโดยรัฐหรือเจ้าของโรงงาน 2. การสูญเสียโดยทางอ้อม 2.1 การสูญเสียซึ่งมักจะคิดไม่ถึง หรือไม่ค่อยได้คิดว่าเป็นการสูญเสียเป็นลักษณะการสูญเสียที่แฝงอยู่ ไม่ปรากฏเด่นชัด 2.2 สูญเสียแรงงานของลูกจ้างที่ได้รับบาดเจ็บ จะต้องใช้เวลาพักฟื้นจนกว่าจะหาย 2.3 สูญเสียเวลาของลูกจ้างคนอื่น ๆ ซึ่งหยุดทางานในขณะเกิดอุบัติเหตุด้วยเหตุผลต่อไปนี้ความ อยากรู้อยากเห็นเข้าไปมุงดู ซักถามเหตุการณ์ด้วยความเห็นใจลูกจ้างผู้บาดเจ็บ ตื่นเต้น หรือช่วยเหลือผู้บาดเจ็บในการ ทาปฐมพยาบาลหรือนาส่งโรงพยาบาล 2.4 สูญเสียเวลาของแพทย์หรือพยาบาล หรือเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ในการปฐมพยาบาล 2.5 ค่าใช้จ่ายในการซ่อมแซมเครื่องจักรกล เครื่องมือ 2.6 ทาให้ปริมาณผลผลิตขาดหายไป ผลิตให้ผู้ใช้ไม่ทันเวลา ส่งผลให้เงินรางวัล โบนัสประจาปีลด น้อยลงไป 2.7 สูญเสียผลกาไรส่วนหนึ่งไป เนื่องจากลูกจ้างบาดเจ็บและเครื่องจักรหยุดทางาน 2.8 ทาให้คนงานขวัญเสียเกิดความกลัว ประสิทธิภาพการทางานลดลง
  • 11.  การทางานในชีวิตประจาวันของคนเรานั้น จะต้องสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกันไป ทาให้แต่ ละคนได้รับพิษภัย และเกิดโรคอันเนื่องมาจากการทางานแตกต่างกันไปตามสถานภาพ ใน หน้าที่การงานของแต่ละคน อันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทางานพิจารณาได้ดังนี้  1. เสียงดัง คนทางานโดยทั่วไปประมาณวันละ 8 ชั่วโมง จะรับระดับเสียงได้ไม่เกิน 90 เดซิเบล ถ้าดังเกินไปจะทาให้หูตึง และอาจหูหนวกได้  2. แสงสว่าง ได้รับมากเกินไปทาให้ตาได้รับอันตราย อาทิ เช่น จากเตาหลอม ไฟเชื่อม ทาให้ ตาพร่ามัว และอาจตาบอดได้  3. ความร้อน ถ้าไม่มีการป้ องกันความร้อนที่ดีแล้วอาจได้รับอันตราย เช่น ทาให้อ่อนเพลียไม่มี แรง หน้ามืดบ่อย ๆ และอาจเป็นลมสลบได้  4. ความกดดัน อากาศในบริเวณปฏิบัติงานที่มีความกดดันสูงกว่าปกติ จะทาให้เกิดอาการปวด หู อาจทาให้เยื่อหูฉีกขาด และทาให้หูหนวกในที่สุด  5. ความสั่นสะเทือน อาจทาให้เนื้อเยื่ออ่อนของมือ เกิดอาการอักเสบลุกลามไปถึงกระดูกข้อมือ หรือทาให้กล้ามเนื้อมือเป็นอัมพาต  6. สารเคมี ฝุ่น ไอ ควัน ละอองแก๊สของสารพิษสามารถเข้าสู่ร่างกายได้ 3 ทาง คือ โดย การหายใจ การหายใจเอาสารเคมีเข้าไป เมื่อถึงปอดจะถูกดูดซึมอย่างรวดเร็วทาให้เกิดโรคปอด ได้ โดยการดูดซึมทางผิวหนัง ทาให้ผิวหนังเป็นแผล เกิดอาการเป็นพิษต่อระบบหมุนเวียนโลหิต ของร่างกาย และโดยการกินสิ่งที่อาจก่อให้เกิดอันตรายเข้าไป
  • 12. การปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับวัสดุบางชนิดอาจก่อให้เกิดอันตราย ได้แก่ 1. วัสดุที่มีขอบแหลมคม ซึ่งวางไว้ในที่ที่ไม่เหมาะสม เช่น ไม่มีสิ่งจับยึด แขวนไว้เหนือ ศีรษะโดยไม่มีเครื่องป้ องกันอันตราย หรือวางไว้เกะกะบน พื้น 2. วัสดุที่ติดไฟได้ง่าย เช่น น้ามันเชื้อเพลิง ขยะมูลฝอย 3. สารเคมีที่เป็นพิษ 4. วัสดุที่มีอุณหภูมิสูง เช่น โลหะที่เผาจนร้อนจัด น้าร้อน 5. ไอน้าหรืออากาศที่มีความดันสูง เช่น หม้อไอน้า เครื่องปั้มลม 6. สื่อไฟฟ้ าที่ปราศจากฉนวนหุ้ม 7. บันไดที่หัก หรือนั่งร้านที่ไม่แข็งแรง หลักความปลอดภัยในการทางานโดยทั่วไป 1. จะต้องยอมรับ และปฏิบัติตามกฎความปลอดภัยของโรงงานโดยเคร่งครัด 2. ใช้เครื่องมือให้ถูกวิธี ถูกขนาด และถูกกับงาน 3. แต่งกายให้ถูกต้องตามระเบียบของโรงงาน และใช้เครื่องป้ องกันอันตรายทุกครั้งที่ปฏิบัติงานที่กาหนดให้ใช้เครื่องป้ องกัน 4. หลีกเลี่ยงการใช้อุปกรณ์ เครื่องมือ หรือเครื่องจักรที่ชารุดเสียหาย หรืออยู่ในสภาพที่ ไม่เหมาะสมต่อการใช้งาน 5. เก็บรักษาอุปกรณ์ และเครื่องมือที่ใช้ในการทางานให้เป็นระเบียบเรียบร้อยอยู่เสมอ เมื่อนาไปใช้งานต้องเก็บไว้ให้ถูกจุดทุกครั้ง 6. รักษาความสะอาดทางเดินในโรงงาน และติดป้ ายแสดงให้ชัดเจนที่บริเวณปฏิบัติงานที่มีอันตราย 7. จัดตาแหน่ง หรือที่ติดตั้งเครื่องดับเพลิงตลอดจนวิธีการใช้ 8. ปฏิบัติตามคาเตือนหรือเครื่องหมายแสดงอันตรายใด ๆ ภายในโรงงาน 9. อย่าวิ่งหรือหยอกล้อกันในโรงงาน 10. ในกรณีเกิดอุบัติเหตุให้รีบช่วยเหลือทันที 11. ใช้เครื่องป้ องกันอันตรายส่วนบุคคล
  • 13. เครื่องป้ องกันอันตรายส่วนบุคคล หมายถึง สิ่งหนึ่งสิ่งใดที่สวมใส่ลงบนอวัยวะ ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย หรือหลาย ๆส่วนรวมกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้ องกัน อันตรายให้แก่อวัยวะส่วน นั้น ๆ ไม่ให้ประสบกับอันตราย คือ เป็นการป้ องกัน อันตรายจากสภาพแวดล้อมในการทางาน เครื่องป้ องกันอันตรายส่วนบุคคล แบ่งออกเป็นชนิดตามลักษณะที่ใช้ป้ องกันได้ ดังนี้ 1. เครื่องป้ องกันศีรษะ เครื่องป้ องกันศีรษะ เช่น หมวกนิรภัย เป็นเครื่องสวมใส่ศีรษะ มี ลักษณะแข็งแกร่ง ทาด้วยวัสดุที่แตกต่างกันไป เพื่อป้ องกันศีรษะของคนงานซึ่งไม่ เพียงแต่จากการกระแทก แต่รวมทั้งวัตถุที่ปลิวหรือกระเด็นมาโดน และไฟฟ้ าช็อต หมวกนิรภัย ถูกออกแบบให้ส่งผ่านแรงเฉลี่ยที่มากที่สุดได้ไม่เกิน 850 ปอนด์ ตัว หมวกและรองในหมวกต้องห่างกันไม่ต่ากว่า 3 ซม. ดังรูปที่ 1.1 รูปที่ 1.1 หมวกนิรภัย
  • 14. 2. เครื่องป้ องกันตาและใบหน้า การทางานในลักษณะของงานที่อาจเป็นอันตรายแก่สายตาและใบหน้า ต้องสวมใส่ อุปกรณ์ เช่น แสงจ้าชนิดที่มีอุลตร้าไวโอเลต ป้ องกันโดยใช้หน้ากากกรองแสง ในกรณี งานเชื่อมหน้ากากป้ องกันเศษโลหะในกรณีทางานกับหินเจียรนัย ดังรูปที่ 1.2 รูปที่ 1.2 แว่นตานิรภัย
  • 15. 3. เครื่องป้ องกันอันตรายขาดการหายใจ 3.1 ชนิดเป็นถุงอากาศช่วยในการหายใจ อุปกรณ์นี้เหมาะจะใช้กับบริเวณที่มีความเข้มข้นของสารเคมีเป็นพิษ สูง ที่มีไอน้าหนาแน่น หรือในที่ขาดออกซิเจน 3.2 หน้ากากใช้กรองสารเคมี อุปกรณ์ชนิดนี้ประกอบด้วยหน้ากากปิดครึ่งใบหน้า มีที่กรองอากาศติดอยู่ที่ บริเวณจมูก 1-2 อัน ทาหน้าที่กาจัดไอหรือแก๊สพิษที่จะหายใจเข้าไป ดังรูปที่ 1.3 รูปที่ 1.3 หน้ากากใช้กรองสารเคมี 3.3 เครื่องกรองฝุ่นชนิดนี้จะใช้กรองฝุ่นโดยเฉพาะ หน้ากากทาด้วยยางหรือพลาสติก ปิดจมูกโดยมี แผ่นกรองบาง ๆ เป็นตัวจับฝุ่นเอาไว้ไม่ให้เข้าไปกับอากาศที่ผ่านเข้าไป ดังรูปที่ 1.4 รูปที่ 1.4 หน้ากากที่มีเครื่องกรองฝุ่น
  • 16. 3.4 หน้ากากที่มีเครื่องเป่าอากาศ ชนิดนี้จะใช้ได้ดีในลักษณะงานที่ทาในที่อับทึบ อุโมงค์ ท่อ ขนาดใหญ่งานประเภทนี้จะออกซิเจนไม่เพียงพอหรือมีสารเคมีเป็นพิษปะปนอยู่มาก เครื่องเป่า อากาศ (Blower) ทาหน้าที่เป่าอากาศเข้ามา ท่อส่งอากาศปกติจะยาวไม่เกิน 150 ฟุต ต่อ เข้ากับหน้ากาก 4. เครื่องป้ องกันหู จากการศึกษาเกี่ยวกับเรื่องเสียงนั้น พบว่าถ้าหากหูของคนต้องสัมผัสกับเสียงที่ดังเกินกว่า 90 เดซิเบลแล้ว จะทาให้เกิดอันตรายต่อการได้ยิน วิธีที่จะช่วยลดความดังของเสียงลงมานั้น การป้ องกันที่ตัวคน คือการใช้เครื่องป้ องกันหู ปกติจะแบ่งออกเป็นชนิดใหญ่ ๆ ได้หลายชนิดดังนี้ 4.1 ที่อุดหู ใช้อุดหูทั้งสองข้าง โดยสอดใส่เข้าไปในช่องหู ออกแบบให้มีขนาดพอเหมาะกับรูหู จะมีผลในการป้ องกันเสียงมาก วัสดุที่ใช้ทานั้น มีหลายชนิด เช่น พลาสติกอ่อน ยาง สาลี ชนิดที่ ทาจากยางและพลาสติกนิยมใช้มากที่สุด ดังรูปที่ 1.5 รูปที่ 1.5 ที่อุดหู
  • 17. 4.2 ที่ครอบหู เป็นเครื่องป้ องกันเสียงชนิดครอบใบหูทั้งสองข้าง บางชนิดมีลาโพงสาหรับใช้พูดติดต่อกันได้ในสถานที่มี เสียงดัง ดังรูปที่ 1.6 รูปที่ 1.6 ที่ครอบหู 5. ชุดพิเศษ ในโรงงานอุตสาหกรรมปัจจุบันนี้สิ่งแวดล้อมภายในโรงงานต้องสัมผัสต่อความร้อน โลหะละลาย สารเคมี จึงต้องชุดป้ องกันพิเศษสาหรับงานนั้น ๆ โดยเฉพาะลงไป เช่น 5.1 ถุงมือและปลอกแขน สารที่นามาทาถุงมือและปลอกแขนขึ้นอยู่กับงาน สาหรับงานเบาอาจทาด้วยผ้า สาหรับงานที่เกี่ยวกับวัตถุที่คมและความร้อนใช้หนังสัตว์ทา หรือทาด้วยตาข่ายโลหะก็จะกันคมได้ดี ดังรูปที่ 1.7 รูปที่ 1.7 ถุงมือที่ทาจากผ้าและหนังสัตว์
  • 18. 5.2 เสื้อหนังหรือแผ่นหนังปิดหน้าอก เป็นชุดที่จะป้ องกันร่างกายของคนเราไม่ให้ถูก ความร้อน และการแผ่ความร้อนที่เกิดจาก โลหะถูกเผาและการรับรังสีอินฟราเรดและอุลตร้าไวโอเลต ดังรูปที่ 1.8 รูปที่ 1.8 เสื้อหนังป้ องกันความร้อน 5.3 เสื้ออะลูมิเนียม เมื่อคนต้องทางานเกี่ยวกับความร้อนที่มี อุณหภูมิประมาณ 2000 องศาฟาเรนไฮด์ เช่น ในที่มีการหลอม โลหะ เสื้ออะลูมิเนียมมันจะสะท้อนรังสีความร้อนที่แผ่ออกมา ชุดนี้ประกอบด้วย กางเกง เสื้อคลุม ถุงมือ รองเท้าหุ้มข้อ และที่ครอบ ศีรษะ ดังรูปที่ 1.9 รูปที่ 1.9 เสื้ออะลูมิเนียม 6. รองเท้านิรภัย อาจจะเป็นรองเท้าธรรมดา ใส่เครื่องป้ องกันครอบลงไปหน้ารองเท้า ควรจะรับน้าหนักได้ 2,500 ปอนด์ และแรง กระแทก 50ปอนด์ รองเท้านิรภัยจะมีโลหะป้ องกันอยู่ที่หัวรองเท้าข้างในใช้ในงานที่มีการเคลื่อนย้ายวัตถุที่หนัก ดังรูปที่ 1.10 รูปที่ 1.10 รองเท้านิรภัย
  • 19. 7. เข็มขัดนิรภัย เข็มขัดนิรภัยที่ใช้ในงานอุตสาหกรรม หรือใช้ในการทาความสะอาดหน้าต่างภายนอกตึก สูง ๆ แบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 7.1 ชนิดธรรมดา ชนิดนี้จะใช้สาหรับรับน้าหนักของตัวผู้ใช้ในขณะทางานให้สามารถทางานได้โดยสะดวก ซึ่งอาจจะขึ้นไปทางาน ในที่สูงหรือทางานในที่ต่าลงไป 7.2 ชนิดที่ใช้ยามฉุกเฉิน ใช้ป้ องกันไม่ให้คนทางานตกลงมาในเมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้นระหว่างการทางาน ดังรูปที่ 1.11 รูปที่ 1.11 เข็มขัดนิรภัย องค์ประกอบของความปลอดภัยในการทางาน องค์ประกอบของความปลอดภัยในการทางาน ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบ คือ 1. คุณภาพดีชีวิตพนักงานดีขึ้น ในการทางานทุกอย่างอุบัติเหตุส่วนใหญ่อาจก่อให้เกิดการบาดเจ็บพิการหรือเสียชีวิตจน ไม่สามารถประกอบอาชีพได้ ทาให้เกิดปัญหาทางสังคมตามมา แต่ถ้าหากการทางานปราศจากสิ่งต่าง ๆ ที่กล่าวมาแล้วนั้น ทาให้ บุคลากรในโรงงานมีขวัญและกาลังใจในการทางานเป็นอย่างดี 2. ผลผลิตเพิ่มขึ้น เมื่อการทางานปลอดภัยในทุกสาขาอาชีพ และมีคุณภาพชีวิตที่ดี ผลที่ได้รับทาให้การทางานมี คุณภาพและสามารถผลิตได้มากขึ้น 3. ค่าใช้จ่ายลดลง ในการผลิตทาให้ต้นทุนในการผลิตต่าลง ภายใต้การทางานที่ปลอดภัย ไม่มีอุบัติเหตุ ทาให้ลด ค่าใช้จ่ายในด้านค่ารักษาพยาบาลค่าชดเชยต่าง ๆ
  • 20. 4. ผลกาไรเพิ่มมากขึ้น ในการทางานอย่างปลอดภัย การทางานมีผลผลิตเพิ่มมากขึ้น ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ลดลง ต้นทุนในการผลิตต่าย่อมส่งผลทาให้ โรงงานมีผลกาไรมากขึ้น 5. ภาพลักษณ์ขององค์กรดีขึ้น อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากการทางานอาจส่งผลต่อชื่อเสียงภาพพจน์ขององค์กร ต่ออาชีพ ต่อสังคมและประเทศชาติ ความเชื่อถือต่อองค์กรลดลง 6. ลดการสูญเสียทรัพยากรมนุษย์ การทางานที่ไม่ปลอดภัยอาจทาให้เกิดอุบัติเหตุ ส่งผลต่อการบาดเจ็บ พิการหรือเสียชีวิต ถือเป็นการสูญเสียแรงงานที่สาคัญของประเทศชาติ 7. เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศชาติดีขึ้น ชื่อเสียงภาพพจน์และความเชื่อมั่น จากนักธุรกิจต่างชาติ ส่งผลที่ดีต่อการลงทุนภายในประเทศ มีการจ้างแรงงานเพิ่มขึ้น การปฏิบัติงานที่ไม่ปลอดภัย การปฏิบัติงานที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Aet) หมายถึง การปฏิบัติงานบุคลากรที่ไม่ปลอดภัยอาจส่งผล เสียหายต่อชีวิต และทรัพย์สิน ซึ่งเกิดจากสาเหตุดังนี้ 1. การทางานที่ขาดความรู้และความเข้าใจในการใช้งานของเครื่องมือและอุปกรณ์ 2. ปฏิบัติงานโดยไม่ใช่หน้าที่ตัวเองรับผิดชอบ 3. ขาดทักษะและประสบการณ์ในการทางาน 4. ขาดจิตสานึกที่ดี 5. ไม่ใช้อุปกรณ์ป้ องกันอันตราย 6. การจัดเก็บอุปกรณ์ สารเคมีหรือวัสดุอย่างไม่ถูกหลักวิชาการ 7. การดัดแปลงอุปกรณ์ ทาให้เกิดความไม่ปลอดภัย
  • 21. ผลกระทบที่เกิดจากความไม่ปลอดภัยในการทางาน อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นจากการทางานทุกสาขาอาชีพ ย่อมส่งผลกระทบต่อบุคลากรทุก ๆ ฝ่ายไม่ว่าจะเป็นเจ้าของกิจการ วิศวกร หัวหน้างานผู้ปฏิบัติงานรวมไปถึงครอบครัวและ ประเทศชาติซึ่งพอสรุปได้ดังนี้ 1. ตัวผู้ประสบอุบัติเหตุและครอบครัว เป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบโดยตรง ทาให้เสีย ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล เสียเวลาในการทางานขาดรายได้และอาจจะทาให้เสียอวัยวะของ ร่างกาย ส่วนครอบครัวทาให้ขาดรายได้ประจาเดือนที่จุนเจือครอบครัว กลายเป็นภาระ ของสังคม 2. เพื่อนร่วมงาน ทาให้เสียขวัญและกาลังใจในการทางาน 3. หัวหน้างาน คือ ผู้บริหารระดับต้น ที่ต้องรับผิดชอบต่ออุบัติเหตุที่เกิดขึ้น ต้อง เสียเวลาในการสอบสวน และวิเคราะห์หาสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ เพื่อหาแนวทางแก้ไขไม่ให้ เกิดขึ้นอีก 4. เจ้าของผู้ประกอบการ เป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบโดยตรงทาให้ประสิทธิภาพของงาน ลดลง ค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเพิ่มขึ้น เสียค่าซ่อมบารุงเครื่องจักรมากขึ้น การส่งงาน ล่าช้า ทาให้ผลกาไรลดลง และประสบผลการขาดทุนในการดาเนินงาน 5. สังคมและประเทศชาติ ทาให้ประชาชนเสียขวัญและกาลังใจในการทางาน เศรษฐกิจของประเทศตกต่า รายได้ของประเทศชาติลดลง เป็นภาระของสังคมต้องดูแลผู้ที่ได้รับ บาดเจ็บและพิการ
  • 22. การเสริมสร้างความปลอดภัยในการทางาน การเสริมสร้างความปลอดภัยในการทางานเพื่อให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพนั้น บุคลากร ทุกฝ่ายต้องให้ความร่วมมือ เพราะอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นนั้นไม่ใช่เป็นเรื่องบังเอิญแต่เป็นเพราะอุปกรณ์ เครื่องมือ ขบวนการผลิต และตัวบุคลากรเอง ดังนั้นการเสริมสร้างความปลอดภัยในการทางานสามารถ ทาได้ดังนี้ 1. การสร้างจิตสานึก 1.1 ผู้ประกอบการ ควรมีจิตสานึกที่ดี รับผิดชอบต่อความปลอดภัยในการ ทางานของบุคลากรทุกฝ่าย และบริหารงานภายใต้กฎหมายของโรงงานอย่างเคร่งครัด 1.2 วิศวกรผู้ควบคุมงาน เป็นผู้ที่คอยดูแลการปฏิบัติงานของลูกจ้างให้ปฏิบัติ ตามกฎหมายของโรงงานไม่ว่าด้านการใช้อุปกรณ์ป้ องกันอันตราย การวางผังโรงงาน ระบบไฟฟ้ า แสงสว่าง ฯลฯ 1.3 หัวหน้าคนงาน มีหน้าที่ควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของลูกจ้าง ให้ปฏิบัติตาม กฎหมายของโรงงานอย่างเคร่งครัด ไม่ควรมีการแก้ไข ดัดแปลงเครื่องมือก่อนได้รับอนุญาต 1.4 ผู้ปฏิบัติงาน ต้องมีจิตสานึกที่ดีต่อความปลอดภัยในการทางาน โดยปฏิบัติ ตามกฎของโรงงาน มีสติในการทางาน มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงานเป็นอย่างดี ไม่ละเลยต่อ การทางานที่ไม่ปลอดภัย เพราะอาจก่อให้เกิดการสูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินได้ 1.5 เจ้าหน้าที่ของรัฐควรทาหน้าที่ตรวจสอบการปฏิบัติงานของบุคลากรในโรงงาน ให้ปฏิบัติตามกฎหมายของโรงงานอย่างเคร่งครัด หากมีการละเมิดควรมีการลงโทษตามที่กาหนดไว้โดยไม่ เห็นแก่อามิสสินจ้างหรือผลประโยชน์ใด ๆ
  • 23. 2. ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทางาน สภาพแวดล้อมที่ถูกสุขลักษณะอนามัย มีการวางผังโรงงานที่ดี ย่อมทาให้การ ปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพ ดังรูปที่ 1.12 รูป 1.12 สภาพแวดล้อมที่ดีนาไปสู่ความปลอดภัย 3. การมอบหมายงานให้เหมาะสมกับตัวบุคลากร การมอบหมายงานควรคานึงถึง ความรู้ความสามารถของลูกจ้าง งานที่ได้ออกมาย่อมมีคุณภาพ 4. จัดทากฎระเบียบให้เป็นมาตรฐาน ทั้งในด้านเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ป้ องกัน อันตราย และระบบการทางาน เช่น การแต่งกาย สัญลักษณ์ความปลอดภัย ฯลฯ สรุปท้ายหน่วยการเรียน อาชีวอนามัยและความปลอดภัย เป็นเรื่องที่ควรให้ความสาคัญโดยเฉพาะอย่าง ยิ่งการปฏิบัติงาน ผู้ประกอบการและนายจ้างหรือลูกจ้าง เพื่อส่งเสริมให้มีจิตสานึกที่ดีต่อความปลอดภัย ในการปฏิบัติงาน เพื่อให้พนักงานมีสุขภาพและอนามัยที่ดี ลดอุบัติเหตุในการปฏิบัติงาน
  • 24. แบบประเมินผลการเรียนรู้ ตอนที่ 1 จงตอบคาถามต่อไปนี้ 1. จงให้ความหมายของคาว่า “อาชีวอนามัย” ………………………………………………………………………………………………… 2. จงบอกองค์ประกอบของอาชีวอนามัย มี 5 ลักษณะ จงอธิบาย ………………………………………………………………………………………………… 3. สาเหตุสาคัญของการเกิดอุบัติเหตุในการปฏิบัติงานคืออะไร ……………………………………………………………………………………………… 4. ผู้ที่รับผิดชอบในการควบคุมความปลอดภัยในการทางาน คือ ………………………………………………………………………………………………… 5. ผู้ที่ใกล้ชิดกับคนงานและควบคุมป้ องกันมิให้เกิดอุบัติเหตุขึ้น คือใคร ………………………………………………………………………………………… 6. จงบอกผลกระทบที่เกิดจากความไม่ปลอดภัยในการทางาน ………………………………………………………………………………………………… 7. บุคลากรที่เกี่ยวกับงานอาชีวอนามัย คือ …………………………………………………………………………………………… 8. ความปลอดภัยในการทางานช่วยลดค่าใช้จ่ายได้อย่างไร ……………………………………………………………………………………………… 9. การเสริมสร้างความปลอดภัยในการทางานเพื่อให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสามารถทาได้อย่างไร ………………………………………………………………………………………… 10. การปฏิบัติงานลักษณะใดที่ก่อให้เกิดอุบัติเหตุในการทางาน ……………………………………………………………………………………………
  • 25. ตอนที่ 2 จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุด 1. การอาชีวอนามัย มีความหมายสัมพันธ์กับการทางานเรื่องใดมากที่สุด ก. การคุ้มครองไม่ให้เกิดการตกงาน ข. มาตรการที่ทาให้ผู้ประกอบอาชีพมีสุขภาพอนามัยที่ดี ค. การป้ องกันไม่ให้ผู้ประกอบอาชีพเสียเปรียบนายจ้าง ง. การคุ้มครองให้ผู้ประกอบอาชีพมีสุขภาพที่แข็งแรง 2. พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน มีผลดีต่อหลักอาชีวอนามัยของการทางานอย่างไร ก. เพื่อป้ องกันนายจ้างบอกเลิกจ้างงาน ข. เพื่อคุ้มครองป้ องกันและส่งเสริมสุขภาพอนามัยที่ดี ค. เพื่อป้ องกันอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นในการทางาน ง. เพื่อคุ้มครองให้นายจ้างใส่ใจดูแลความปลอดภัยของลูกจ้าง 3. ข้อใดเป็นการปฏิบัติตามหลักอาชีวอนามัย ก. การติดตั้งสัญญาณกันขโมย ข. การติดตั้งสัญญาณเตือนความร้อน ค. การสั่งซื้อเครื่องจักรราคาแพง ง. การเพิ่มค่าแรงให้สูงขึ้นเมื่อทางานล่วงเวลา
  • 26. 4. วิธีการใดที่จะสร้างความปลอดภัยในการทางานที่ดีที่สุด ก. การติดตั้งระบบสัญญาณเตือนภัย ข. การติดตั้งประกาศเตือนภัย ค. การติดโทรทัศน์วงจรปิด ง. การฝึกอบรมให้ความรู้ 5. การสร้างความปลอดภัยในการทางานมีผลอย่างไร ก. มีลูกจ้างเพิ่มมากขึ้น ข. มีค่าใช้จ่ายเพิ่มมากขึ้น ค. คนงานมีขวัญกาลังใจเพิ่มมากขึ้น ง. หัวหน้างานมีหน้าที่เพิ่มมากขึ้น 6. บุคคลในข้อใดมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเสริมสร้างความปลอดภัยในการทางาน ก. นายจ้าง ข. ลูกจ้าง ค. เจ้าหน้าที่ของรัฐ ง. ถูกทุกข้อ 7. วิธีการใดที่เสริมสร้างความปลอดภัยให้มีประสิทธิภาพ ก. สร้างจิตสานึกที่ดีต่อความปลอดภัย ข. ลงโทษอย่างรุนแรงเมื่อเกิดอุบัติเหตุ ค. สร้างกฎระเบียบในการทางาน ง. จัดหาอุปกรณ์ป้ องกันอันตรายมาให้ผู้ปฏิบัติงานใช้
  • 27. 8. กิจกรรม เสริมสร้างความปลอดภัยในการทางานมีประโยชน์อย่างไร ก. ปฏิบัติตามที่หัวหน้างานสั่ง ข. ทาให้เกิดการจ้างงานเพิ่มขึ้น ค. ผลผลิตในองค์กรเพิ่มมากขึ้น ง. ช่วยลดอุบัติเหตุจากการทางานและลดอัตราเสี่ยงต่อการเกิดอันตราย 9. การกระทาในข้อใดส่งผลให้เกิดความเสียหายกับผู้ประกอบการ ก. การพูดคุยระหว่างการทางาน ข. การจัดเก็บอุปกรณ์อย่างมีระเบียบ ค. การทางานโดยไม่ลาพักผ่อนเลย ง. การปฏิบัติตามกฎข้อบังคับของโรงงาน 10. ข้อใดเป็นการส่งเสริมและคุ้มครองสุขภาพอนามัยในขณะทางาน ก. การให้สิทธิรักษาฟรีเมื่อประสบอุบัติเหตุ ข. เพิ่มค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลทุกกรณี ค. ติดตั้งระบบระบายอากาศและความเย็นในห้อง ง. การเก็บสารเคมีอันตรายอย่างมีระเบียบ