SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  96
Télécharger pour lire hors ligne
อาหารและโภชนาการ (Food and Nutrition) 
อ. ศกุนตลา สายใจ
# 
อาหารและโภชนาการ 
เป็นวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับอาหารที่จะบริโภคว่า อาหารนั้นมีสารเคมีใดเป็น ส่วนประกอบอยู่มากน้อยเพียงใด เมื่อบริโภคแล้วอาหารนั้นจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร บ้าง ก่อนที่ร่างกายจะนาไปใช้ประโยชน์ 
โภชนาการ (Nutrition) 
เป็นสภาพที่ร่างกายขาดอาหาร ลักษณะสภาพของการขาดอาหารมีตั้งแต่สภาพที่มี ความรุนแรงน้อยที่สุดและเป็นอาการที่เกิดเรื้อรัง จนถึงอาการของความพิการที่แสดง ถึงการขาดสารอาหารที่สาคัญ 
ทุพโภชนาการ (Malnutrition)
# 
อาหารและโภชนาการ 
สารประกอบทางเคมีในอาหารต่างๆ จาแนกได้เป็น 6 พวก คือ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แร่ธาตุ วิตามิน น้า 
สารอาหาร (Nutrient) 
ประโยชน์ของสารอาหาร 
ทาให้เกิดความอบอุ่น เป็นพลังงานให้ร่างกาย 
สร้างเสริมอวัยวะต่างๆของร่างกาย 
ซ่อมแซม และสร้างอวัยวะที่ทรุดโทรม 
ควบคุม และกระตุ้นอวัยวะต่างๆของร่างกาย 
ช่วยในการเปลี่ยนแปลงปฏิกิริยาเคมีในร่างกาย
# 
อาหารและโภชนาการ 
สิ่งที่มนุษย์นามาบริโภคได้ โดยปราศจากพิษ และปราศจากโทษ อาหารเป็นได้ทั้งของแข็ง ของเหลว อาหารจะถูกเปลี่ยนรูป เพื่อให้ ร่างกายดูดซึมไปใช้ได้ 
อาหาร (Food)
# 
ความสาคัญของอาหารต่อสุขภาพ 
1. การบริโภคอาหารน้อยเกินไป 
•อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย น้าหนักตัวลด ตัวผอมซีด 
•ขาดความต้านทานโรค 
2. การบริโภคอาหารมากเกินไป 
•น้าหนักตัวเพิ่มขึ้น จนกลายเป็นโรคอ้วน 
•เกิดโรคติดตาม เช่น โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันอุดตัน 
3. การบริโภคอาหารบางชนิดน้อยเป็นเวลานาน 
•เกิดความพิการแก่เซลล์ และอวัยวะ เรียกว่า โรคขาดสารอาหารเฉพาะ 
•เหน็บชา ขาดไทอามิน (วิตามิน B1) 
•ปากนกกระจอก ขาดไรโบฟลาวิน (วิตามิน B2) 
•กระดูกอ่อน ขาดแคลเซียม, วิตามินD 
Bulimia Anorexia
# 
ความสาคัญของอาหารต่อสุขภาพ (ต่อ) 
4. การบริโภคอาหารน้อยเป็นระยะเวลาไม่นาน : เกิดความผิดปกติแก่สุขภาพโดยทั่วไป 
•การเจริญเติบโตของร่างกาย 
•ความแข็งแรง 
•การต้านทานเชื้อโรค 
•สติปัญญา ความฉลาด และไหวพริบ 
•การสืบพันธุ์ 
•การมีชีวิตยืนนาน
# 
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) 
 Monosaccharide (CnH2nOn) ประกอบด้วยคาร์บอน 3-7 อะตอม 
• เป็นผลึก ละลายน้าง่าย มีรสหวาน 
• มีหลายชนิด ได้แก่ 
-กลูโคส พบมากที่สุดในร่างกาย 
-ฟรุคโตส พบมากในน้าผึ้ง และผลไม้ 
-กาแลกโตส พบในน้านม 
เป็นสารอาหารที่ให้พลังงาน ประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และ ออกซิเจน คาร์โบไฮเดรตถูกสังเคราะห์จากพืชสีเขียว และถูกสะสมไว้ตาม ส่วนต่างๆของพืช เช่น ลาต้น ใบ ราก เมล็ด หัว 
คาร์โบไฮเดรตแบ่งเป็น 3 ประเภท
# 
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) (ต่อ) 
 Disaccharide - เกิดจากการรวมตัวของ Monosaccharide 2 โมเลกุล - ได้แก่ ซูโคส แลคโตส มอลโตส 
ภาพ แสดงการสังเคราะห์ไดแซคคาไรด์จากโมโนแซคคาไรด์ (Campbell และคณะ, 2008 “Biology”) ก. มอลโทส ข. ซูโครส 
ก. 
ข.
# 
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) (ต่อ) 
 Polysaccharide 
• เป็นคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ • ประกอบด้วยเป็นน้าตาลโมเลกุลเดี่ยวหลายโมเลกุล ประมาณ 100-1,000 หน่วยมารวมกัน 
 กลุ่มที่ทาหน้าที่เป็นโครงสร้าง ได้แก่ 
• ไคติน เสริมความแข็งแรงให้โครงกระดูก และลาตัวของสัตว์ • เซลลูโลสเป็นโครงสร้างหลักของผนังเซลล์พืช 
Polysaccharide แบ่งเป็น 3 กลุ่ม 
ก. 
ข. 
ภาพ แสดงโครงสร้างของโพลิแซคคาไรด์ ก. ไคติน ข. เซลลูโลส
# 
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) (ต่อ) 
 กลุ่มที่ทาหน้าที่สะสมอาหาร •แป้ง เป็นกลูโคสเชื่อมต่อกัน มี 2 ชนิด คือ amylose และ amylopectin 
•ไกลโคเจน เป็นกลูโคสเชื่อมต่อกัน พบมาก ในตับและกล้ามเนื้อสัตว์ 
ค. 
ง. 
ภาพ แสดงโครงสร้างของโพลิแซคคาไรด์ ค. แป้ง ง. ไกลโคเจน 
 กลุ่มที่ทาหน้าที่เป็นส่วนประกอบของเซลล์ 
• เฮปาริน 
-มีคุณสมบัติในการห้ามเลือด 
-พบมากในปอด ตับ และผนังเส้นเลือด
# 
คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) (ต่อ) 
หน้าที่ของคาร์โบไฮเดรตในร่างกาย 
เป็นแหล่งพลังงานในร่างกาย 
เป็นอาหารของเซลล์ และเนื้อเยื่อในสมอง 
ถูกเปลี่ยนเป็นไขมัน เมื่อมีปริมาณมาก 
อาหารที่ให้สารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต 
อาหารจาพวกข้าวทุกชนิด ข้าวจ้าว ข้าวเหนียว ข้าวโพด 
อาหารจาพวกแป้ง เผือก มันเทศ มันสาปะหลัง ถั่ว ขนมปัง 
ร่างกายต้องการคาร์โบไฮเดรต ไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 ของพลังงานที่ร่างกายต้องการ
# 
โปรตีน (Protein) 
เป็นส่วนประกอบสาคัญเกี่ยวกับการเจริญของเซลล์ มีมากกว่า 50% ของน้าหนักแห้ง ของเซลล์ ประกอบด้วยคาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน และไนโตรเจน (C, H, O, N) 
 เป็นหน่วยย่อยของโปรตีน  เป็นสารอินทรีย์ขนาดเล็กที่มีหมู่อะมิโน (-NH3+) และหมู่คาร์บอกซิล (-COO-) เชื่อมต่อกันด้วยพันธะเพปไทด์ (peptide bond) 
 โปรตีนประกอบด้วยกรดอะมิโน 20 ชนิด  แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ กรดอะมิโนที่จาเป็น (Essential Amino acid) และกรดอะมิโนที่ไม่ จาเป็น (Non essential amino acid) 
กรดอะมิโน (Amino acid)
# 
 ร่างกายต้องการได้รับ เพื่อการเจริญ และการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสมอง 
 ร่างกายไม่สามารถสร้างขึ้นเองได้ 
 มี 10 ชนิด 
กรดอะมิโนที่จาเป็น 
 เป็นชนิดที่ร่างกายสร้างขึ้นได้เอง หรือ เปลี่ยนจากกรดอะมิโนอื่นได้ 
 แม้ไม่ได้บริโภคเข้าไป ก็ไม่ขาดแคลน 
กรดอะมิโนที่ไม่จาเป็น
# 
โปรตีน (Protein) (ต่อ) 
 Simple protein 
• เป็นโปรตีนอย่างง่าย เมื่อถูกไฮโดไลซ์แล้วจะได้เป็น กรดอะมิโนออกมา 
• โกลบูลิน (globulin) พบในเลือด 
• แอลบูมิน (albumin) พบในไข่ขาว 
ชนิดของโปรตีน 
 Conjugated protein 
• เป็นโปรตีนที่มีสารอื่นรวมอยู่ด้วย • ไกลโคโปรตีน (glycoprotein) ไลโปโปรตีน (lipoprotein) นิวคลีโอโปรตีน (nucleoprotein) 
 Derived protein 
• เป็นสารที่ได้จากการเปลี่ยนแปลงของโปรตีน จากการถูกย่อยด้วยเอนไซม์หรือสารเคมี 
• อาจมีคุณลักษณะต่างไปจากโปรตีนเดิม 
• Peptone, peptides, proteose
# 
โปรตีน (Protein) (ต่อ) 
หน้าที่ของโปรตีน 
เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของร่างกาย เช่น สร้างเซลล์ เนื้อเยื่อ และส่วนที่สึกหรอ 
เป็นส่วนประกอบของเอนไซม์ และฮอร์โมน 
เป็นส่วนประกอบของสารเคมีที่ช่วยต้านทานโรค และทาให้ร่างกายแข็งแรง 
ให้พลังงาน โปรตีน 1 กรัม ให้พลังงาน 4 แคลอรี 
คุณค่าทางโภชนาการของโปรตีน 
1.พวกที่ให้คุณค่าทางโภชนาการสูง คือ โปรตีนที่ให้กรดอะมิโนจาเป็นต่อร่างกาย เพียงพอ ได้จาก เนื้อสัตว์ นม 
2.พวกที่ให้คุณค่าทางโภชนาการต่า คือ โปรตีนที่ให้กรดอะมิโนที่ร่างกายต้องการน้อย และไม่เพียงพอ โดยมากพบในพืช
# 
โปรตีน (Protein) (ต่อ) 
ความต้องการโปรตีนประจาวัน 
ใน 1 วัน ควรได้รับโปรตีน 1 กรัม ต่อน้าหนักตัว 1 กิโลกรัม 
หญิงมีครรภ์ : เพิ่มจากเดิมวันละ 20 กรัม หญิงให้นมบุตร : เพิ่มจากเดิมวันละ 40 กรัม นักกีฬา : นาไปใช้ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ คนเจ็บ : นาไปใช้ในการฟื้นฟูร่างกาย คนผ่าตัดหรือมีบาดแผล : นาไปใช้ในการสร้างเซลล์ ทาให้แผลหายเร็ว
# 
โปรตีน (Protein) (ต่อ) 
อาหารที่มีโปรตีน 
เนื้อสัตว์ทุกชนิด มีโปรตีนประมาณ 15-30% 
ไข่ มีโปรตีนสูง 
•ไข่ขาว มีแอลบูมิน กลอบูลิน และไกลโคโปรตีน 
•ไข่แดง มีแร่ธาตุฟอสฟอรัส แคลเซียม เหล็ก กามะถัน 
 ถั่วต่างๆ มีโปรตีนไม่ต่ากว่า 8% 
 นมและผลิตภัณฑ์จากนม
# 
ไขมัน (Lipid) 
ในที่นี้ หมายถึง ไขมันและน้ามัน อาจเป็นของแข็งหรือของเหลว ไขมันมักแทรกอยู่ใน อาหารชนิดต่างๆ เช่น ถั่วลิสง ไข่ นม เนย เนื้อสัตว์ 
ส่วนประกอบของไขมัน 
กรดไขมัน (Fatty acid) ประกอบด้วย คาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน 
กลีเซอรอล (Glycerol) 
ภาพ โครงสร้างของไขมัน (Campbell และคณะ, 2008 “Biology”)
# 
ไขมัน (Lipid) (ต่อ) 
ก. 
ข. 
ภาพ แสดงโครงสร้างของไขมันอิ่มตัวและไขมันไม่อิ่มตัว (Campbell และคณะ, 2008 “Biology”) ก. ไขมันอิ่มตัว ข. ไขมันไม่อิ่มตัว 
 กรดไขมันอิ่มตัว (Saturated fatty acid) หมายถึง กรดไขมันที่มีพันธะเดี่ยวทั้งหมด มีคุณสมบัติแข็งตัวง่าย เช่น ไขมัน (fat) และขี้ผึ้ง (wax)  กรดไขมันไม่อิ่มตัว (Unsaturated fatty acid) หมายถึง กรดไขมันที่มีพันธะคู่หนึ่งตาแหน่ง หรือมากกว่าในสายของกรดไขมัน เช่น น้ามันพืช 
ชนิดของไขมัน จาแนกตามความอิ่มตัวของกรดไขมัน
# 
ไขมัน (Lipid) (ต่อ) 
ชนิดของไขมัน จาแนกตามความจาเป็นต่อร่างกาย 
 กรดไขมันที่ร่างกายไม่สามารถ สังเคราะห์ได้ 
 พบในน้ามันดอกอีฟนิ่งพริมโรส เช่น Linoleic acid หรือ โอเมก้า 6 พบในน้ามันปลาและ Flaxseed เช่น Alpha- Linoleic acid หรือ โอเมก้า 3 
กรดไขมันจาเป็น (Essential fatty acid) 
 กรดไขมันที่ร่างกายสามารถ สังเคราะห์ได้ 
 มีอยู่ในอาหารไขมันทั่วไป 
กรดไขมันไม่จาเป็น (Non essential fatty acid)
# 
ไขมัน (Lipid) (ต่อ) 
คุณค่าทางอาหารของไขมัน 
ไขมันให้พลังงานได้มากกว่าสารอื่นๆ คือ ไขมัน 1 กรัม ให้พลังงาน 9 แคลอรี 
กรดไขมันบางชนิดในอาหารจาเป็นต่อร่างกาย และร่างกายสังเคราะห์ไม่ได้ 
เป็นตัวละลายวิตามิน 
ไขมันในอาหารช่วยให้อิ่มนานขึ้น 
ไขมันที่สะสมในร่างกาย ช่วยป้องกันการกระทบกระเทือนของอวัยวะภายใน 
ช่วยป้องกันการสูญเสียความร้อนภายในร่างกาย 
คนทั่วไป ใช้พลังงานวันละ 1,200 – 1,600 แคลอรี่ต่อวัน คนที่ออกกาลังกายเป็นประจา ใช้พลังงานวันละ 1,600 – 2,000 แคลอรี่ต่อวัน คนทางานหนัก ใช้พลังงานวันละ 2,000 – 2,400 แคลอรี่ต่อวัน 
ปริมาณแคลอรี่ที่ใช้ต่อวัน (Total daily energy expenditure : TDEE)
# 
ไขมัน (Lipid) (ต่อ) 
อาหารประเภทไขมัน 
ไขมันจากสัตว์ 
•นม เนย น้ามันหมู น้ามันปลา ไข่แดง 
ไขมันจากพืช 
•น้ามันมะพร้าว น้ามันถั่วเหลือง น้ามันปาล์ม 
อาหาร 
g/อาหาร100g 
น้ามันหมู 
100.0 
งา 
49.1 
มะพร้าว 
35.3 
เนยแข็ง 
30.0 
ไข่ 
11.5 
เนื้อวัว 
7.5 
นม 
3.5 
ตาราง ปริมาณไขมันในอาหารชนิดต่างๆ 
จาก วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร (2004)
# 
แร่ธาตุ (Mineral) 
เป็นสารอนินทีรย์ที่พบในอาหาร มีปริมาณน้อยมากเมื่อเทียบกับสารอาหารอื่นๆ แต่ แร่ธาตุเป็นสารที่จาเป็นต่อร่างกายที่ต้องได้รับ เพื่อการทางานที่เป็นปกติของร่างกาย 
ประเภทของแร่ธาตุ แบ่งตามปริมาณที่ร่างกายต้องการ 
แร่ธาตุที่ร่างกายต้องการในปริมาณมาก (Macro minerals) ได้แก่ แคลเซียม โซเดียม ฟอสฟอรัส คลอไรด์ โพแทสเซียม แมกนีเซียม และกามะถัน แร่ธาตุที่ร่างกายต้องการในปริมาณน้อย (Micro minerals) ได้แก่ เหล็ก ไอโอดีน แมงกานีส ทองแดง สังกะสี โคบอลต์ และฟลูออรีน
# 
แคลเซียม (Ca) 
ประโยชน์และหน้าที่ของแคลเซียม 
เป็นองค์ประกอบของกระดูกและฟัน 
ช่วยให้เลือดแข็งตัว โดยทางานร่วมกับโปรทอมบิน 
ช่วยควบคุมการผ่านเข้าออกของสาร 
ช่วยควบคุมการทางานของประสาทและกล้ามเนื้อ 
รักษาระดับความเป็นกรดด่างของเลือดให้คงที่ 
อาหารที่ให้แคลเซียม 
อาหารที่ให้แคลเซียมสูง ได้แก่ นม ไข่ ผักใบเขียว แครอท นอกจากนี้ยังมีพวก กะปิ ปลาป่น
# 
แคลเซียม (Ca) (ต่อ) 
ตาราง จานวนแคลเซียมที่ควรได้รับต่อวันในวัยต่างๆ 
กลุ่มอายุ 
ความต้องการแคลเซียมต่อวัน 
ต่ากว่า 10 ปี 
500 - 700 มิลลิกรัม 
อายุ 10 – 18 ปี 
1,300 มิลลิกรัม 
19 – 65 ปี 
1,000 มิลลิกรัม 
65 ปี ขึ้นไป 
1,300 มิลลิกรัม 
สตรีตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร หรือหลังมีประจาเดือน 
1,300 มิลลิกรัม 
จาก องค์การอาหารและการเกษตรแห่งประชาชาติและองค์การอนามัยโลก (2002)
# 
ฟอสฟอรัส (P) 
ประโยชน์และหน้าที่ของฟอสฟอรัส 
เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโต และการทางานของเซลล์ 
ช่วยในการหดตัวของกล้ามเนื้อ 
จาเป็นสาหรับการเผาผลาญและการใช้ประโยชน์ของไขมัน และคาร์โบไฮเดรต 
ความต้องการฟอสฟอรัส ประจาวัน 
เด็ก แคลเซียม : ฟอสฟอรัส = 1:1 ผู้ใหญ่ แคลเซียม : ฟอสฟอรัส = 1:1.5 
อาหารที่ให้ฟอสฟอรัส 
ตับ เนื้อ นม ไข่ ถั่ว แป้ง ขนมปัง ข้าวโพด ส้ม
# 
โซเดียม (Na) 
ประโยชน์และหน้าที่ของโซเดียม 
รักษาสมดุลของน้า 
รักษาสมดุลระหว่างกรดและด่าง 
รักษาสมรรถภาพการทางานของกล้ามเนื้อ ประสาท และเซลล์ 
ความต้องการโซเดียมประจาวัน 
ใน 1 วัน ควรได้รับโซเดียม 5-6 กรัม 
อาหารที่ให้โซเดียม 
เนื้อสด ปลา เป็ด ไก่ ไข่ นม
# 
เหล็ก (Fe) 
ประโยชน์และหน้าที่ของเหล็ก 
เป็นส่วนประกอบของฮีโมโกลบิน 
ช่วยในการลาเลียงออกซิเจนไปยังส่วนต่างๆของร่ากาย 
ช่วยให้มีการแลกเปลี่ยนสารต่างๆภายในเซลล์ 
ความต้องการเหล็กประจาวัน 
ใน 1 วัน ควรได้รับธาตุเหล็ก 12 มิลลิกรัม 
อาหารที่มีเหล็ก 
ตับ เนื้อสัตว์ต่างๆ ไข่แดง ผักใบเขียว
# 
วิตามิน (Vitamin) 
มีหน้าที่ควบคุมการทางานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย ควบคุมระบบ ประสาท ช่วยต้านทานโรค ส่งเสริมการเจริญเติบโต หากขาดไปจะก่อให้เกิดโรค ได้ 
วิตามินแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ 
1. วิตามินที่ละลายในน้า (Water soluble vitamins) 
•ละลายน้าได้ง่าย 
•เสียสภาพได้ง่าย 
•ไม่มีการสะสมในร่างกาย 2. วิตามินที่ละลายในไขมัน (Fat soluble vitamins) 
•ไม่ละลายน้า 
•เสียสภาพได้ยาก 
•สามารถเก็บสะสมไว้ในร่างกาย
# 
วิตามินที่ละลายในไขมัน 
วิตามินเอ (เรตินอล) 
หน้าที่ 
•รักษาสายตาให้เป็นปกติ 
•ส่งเสริมการขับน้าเมือกสาหรับหล่อเลี้ยงเยื่อบุต่างๆ 
•ป้องกันการติดเชื้อ และเสริมสร้างการเจริญของร่างกาย การขาดวิตามินเอ 
•ตาบอดกลางคืน (Night Blindness) 
•เซลล์ต่างๆเสื่อมโทรม เหี่ยวย่น 
•ความสามารถในการต่อต้านการติดโรคต่าลง 
•ผิวหนังหยาบ เป็นเกล็ด 
•ตาบอด (Keratomalacia)
# 
วิตามินที่ละลายในไขมัน (ต่อ) 
อาหารที่ให้วิตามินเอ •อาหารประเภทสัตว์ : เนื้อ ไข่ ตับ เครื่องใน นม เนย น้ามันตับปลา 
•อาหารประเภทพืช : แคโรทีน พบใน สีเหลืองของผักและผลไม้ 
วิตามินเอ (เรตินอล) (ต่อ)
# 
วิตามินที่ละลายในไขมัน (ต่อ) 
วิตามินดี 
หน้าที่ 
•ทาให้การดูดซึมของแคลเซียมและฟอสฟอรัสมีอัตราสูงขึ้น 
•ควบคุมรักษาระดับแคลเซียมและฟอสฟอรัสในเลือด การขาดวิตามินดี - สาเหตุของโรคกระดูดอ่อน 
- กะโหลกศีรษะนุ่ม หน้าผากนูนออก รูปศีรษะแบน 
- กระดูกอ่อน เปราะ ขาโค้ง กระดูกสันหลังโค้ง อาหารที่ให้วิตามินดี 
•ไข่แดง ตับ ปลา น้ามันตับปลา
# 
วิตามินที่ละลายในไขมัน (ต่อ) 
วิตามินอี 
วิตามินเค 
•การแท้งบุตรโดยไม่ทราบสาเหตุ 
•การเป็นหมัน 
•อาการผิดปกติของการมีระดูของสตรี 
•กล้ามเนื้อลีบ เหี่ยว 
•ทาหน้าที่สังเคราะห์โปรทรอมบิน 
•มีการสะสมไว้ที่ตับ 
•ยาปฏิชีวนะทาให้การสังเคราะห์ วิตามินเคบกพร่อง 
•พบในผักใบเขียว เมล็ดพืช รากและ หัวมัน ตับหมู ไข่ นม 
วิตามินละลายในไขมัน : A D E K
# 
วิตามินที่ละลายในน้า 
วิตามินบี 1 (Thiamine) 
การขาดวิตามินบี 1 
•เป็นต้นเหตุของโรคเหน็บชา 
•ทาให้ความอยากอาหารลดลง 
•กล้ามเนื้อทางเดินกระเพาะอาหารและลาไส้อ่อนแอ 
ละลายน้าและดูดซึมได้ง่าย 
จาเป็นต้องได้รับจากอาหาร 
ถูกขับออกทางปัสสาวะ และเหงื่อ 
อาหารที่ให้วิตามินบี 1 
•เนื้อหมู เครื่องในสัตว์ ไข่ ผักใบเขียว ข้าวต่างๆ ถั่ว งา กล้วย
# 
วิตามินที่ละลายในน้า (ต่อ) 
วิตามินบี 6 
การขาดวิตามินบี 6 
•จิตใจห่อเหี่ยว นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน 
•ผิวหนังอักเสบ มีไข้มาก เจ็บริมฝีปาก ลิ้นแดง 
•ชาตามปลายประสาท 
•ในทารก – โตช้า โลหิตจาง 
อาหารที่ให้วิตามินบี 6 
•เนื้อสัตว์ ตับ ไต เมล็ดธัญพืช ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ข้าวโพด 
หน้าที่ 
•เป็นโคเอนไซม์ในการเปลี่ยนแปลงกรดอะมิโน 
•กาจัด CO2 ออกจากกรดอะมิโน 
•เปลี่ยนกรดอะมิโนจากสารหนึ่งไปสู่อีกสารหนึ่ง
# 
วิตามินที่ละลายในน้า (ต่อ) 
วิตามินซี 
การขาดวิตามินซี 
•แผลหายยาก 
•เป็นโรคลักปิดลักเปิด 
•เหงือกบวม-อักเสบ เลือดออก โลหิตจาง 
อาหารที่ให้วิตามินซี 
•ส้ม มะนาว สับปะรด ฝรั่ง มะขามป้อม มะเขือเทศ 
•ผักขม ผักตาลึง ผักคะน้า 
หน้าที่ 
•ช่วยในการผลิตคอลลาเจน และไฟเบอร์ สาหรับฟัน กระดูก การต่อกระดูกหัก การรักษา บาดแผล และแผลไฟไหม้
# 
น้า (Water) 
ช่วยให้เกิดปฏิกิริยาเคมีต่างๆ ในร่างกาย ประกอบด้วยไฮโดรเจน และออกซิเจน ใน ร่างกายจะมีน้าประมาณ 70% ของน้าหนักตัว 
ร่างกายได้น้ามาจาก 3 แหล่ง 
น้าที่เราดื่มเข้าไป 
น้าที่มีอยู่ในอาหาร 
น้าที่ได้จากการเผาพลาญอาหาร 
ความต้องการน้าใน 1 วัน 
ใน 1 วัน ร่างกายต้องการน้า 50 ซีซี ต่อน้าหนักตัว 1 กิโลกรัม (ประมาณ 6-8 แก้ว)
# 
น้า (Water) (ต่อ) 
หน้าที่ของน้า 
เป็นส่วนประกอบของเซลล์ 
ทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมีต่างๆในร่างกาย 
นาอาหารและออกซิเจนไปสู่เซลล์ และนาของเสียออกนอกร่างกาย 
ช่วยหล่อลื่นอวัยวะที่มีการเคลื่อนที่ ไม่ให้เสียดสี 
ช่วยควบคุมความร้อนของร่างกายให้เป็นปกติ 
การสูญเสียน้าในร่างกาย 
ทางเดินอาหาร อุจจาระ 
ทางไต ปัสสาวะ 
ทางปอด การหายใจออก 
ทางผิวหนัง เหงื่อ
# 
น้า (Water) (ต่อ) 
ลักษณะของคนขาดน้า 
กระหายน้า ปากแห้ง คอแห้ง 
น้าหนักตัวลด 
ผิวหนังเหี่ยวย่น อ่อนเพลีย 
เกิดตะคริว ไข้ขึ้น 
มีปัสสาวะน้อยลง มีสีเข้ม 
ลักษณะของคนได้รับน้ามากเกินไป 
เกิดอาการบวม 
กระสับกระส่าย 
ปวดศีรษะ 
ซึม และหมดสติ
#
#
#
# 
การย่อยและการดูดซึมอาหาร
# 
การย่อยและการดูดซึมอาหาร 
•การย่อยอาหาร (Digestion) หมายถึงการแปรสภาพของ สารอาหารที่มีโมเลกุลใหญ่และละลายน้าไม่ได้ ให้เป็น สารอาหารที่มีโมเลกุลเล็กลงจนสามารถละลายน้า และดูดซึม เข้าสู่กระแสเลือดน้าไปใช้ประโยชน์ได้ โดยอาศัยกระบวนการ ทางเชิงกลและกระบวนการทางเคมี 
•ระบบย่อยอาหารประกอบด้วยอวัยวะหลาย ๆ อวัยวะ ได้แก่ ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ตับ ตับอ่อน ล้าไส้เล็ก ล้าไส้ใหญ่ ซึ่งอวัยวะบางอวัยวะไม่มีการย่อยแต่เกี่ยวข้องกับ ทางเดินอาหาร
# 
1. การย่อยเชิงกล เป็นการแปรสภาพอาหารโมเลกุลใหญ่ให้มี ขนาดเล็กลงด้วยการบดเคี ยวด้วยฟัน หรือการบีบตัวของทางเดิน อาหาร 
2. การย่อยเชิงเคมี เป็นการแปรสภาพอาหารโมเลกุลใหญ่ให้มี ขนาดเล็กลงโดยใช้เอนไซม์ 
การย่อยมี 2 ลักษณะคือ 
http://www.med.cmu.ac.th/dept/vascular/human/lesson/lesson1.php
# 
1. ตับ มีหน้ามี่สร้างน้าดีส่งไปเก็บที่ถุงน้าดี 
2. ตับอ่อน มีหน้าที่สร้างเอนไซม์ส่งไปย่อยอาหารที่ล้าไส้เล็ก 
เอนไซม์ (Enzyme) - เป็นสารประกอบประเภทโปรตีนที่ร่างกายสร้างขึ นเพื่อท้า หน้าที่เร่งอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีในร่างกาย - เอนไซม์ที่ใช้ในการย่อยสารอาหารเรียกว่า “ น้าย่อย ” 
อวัยวะที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการย่อยอาหาร 
http://www.med.cmu.ac.th/dept/vascular/human/lesson/lesson1.php
# 
การย่อย และการดูดซึมสาร 
ปาก 
(Mouth cavity) 
กระเพาะอาหาร (Stomach) 
ลาไส้เล็ก (Small intestine) 
ปาก คอหอย หลอดอาหาร กระเพาะ ลาไส้เล็ก ลาไส้ใหญ่ ทวารหนัก
# 
ปาก (mouth) มีการย่อยเชิงกล โดยการบดเคี ยวของฟัน และมีการย่อยโดย เอนไซม์อะไมเลส ซึ่งท้างานได้ดีในสภาพที่เป็นเบสเล็กน้อย กระเพาะอาหาร (stomach) - ในกระเพาะอาหารมีการย่อยเชิงกลโดยการบีบตัวของกล้ามเนื อทางเดินอาหาร - เอนไซม์เพปซิน (pepsin) จะท้างานได้ดีในสภาพที่เป็นกรด เอนไซม์เพปซินจะย่อย โปรตีนให้เป็นโพลีเพปไทด์สายที่สั นลง - เอนไซม์เรนนิน' ท้าหน้าที่ย่อยโปรตีนในน้านม สรุป การย่อยที่กระเพาะอาหารจะมีการย่อยโปรตีนเพียงอย่างเดียวเท่านั น 
http://www.maceducation.com/e-knowledge/2372201110/07.htm
# 
ลาไส้เล็ก (small intestine) เป็นบริเวณที่มีการย่อยและการดูดซึมมากที่สุด เอนไซม์ในล้าไส้เล็กจะท้างานได้ดีในสภาพที่เป็นเบส เอนไซม์ที่ล้าไส้เล็กสร้างขึ น ได้แก่ - มอลเทส (maltase) ย่อยน้าตาลมอลโทสให้เป็นกลูโคส 2 โมเลกุล - ซูเครส (sucrase) ย่อยน้าตาลทรายหรือน้าตาลซูโครส (sucrose) ให้เป็นกลูโคสกับฟรักโทส (fructose) - แล็กเทส (lactase) ย่อยน้าตาลแล็กโทส (lactose) ให้เป็นกลูโคสกับกาแล็กโทส (galactose) การย่อยอาหารที่ล้าไส้เล็กใช้เอนไซม์จากตับอ่อน (pancreas) มาช่วยย่อย เช่น - ทริปซิน (trypsin) ย่อยโปรตีนหรือเพปไทด์ให้เป็นกรดอะมิโน - อะไมเลส (amylase) ย่อยแป้งให้เป็นน้าตาลมอลโทส - ไลเปส (lipase) ย่อยไขมันให้เป็นกรดไขมันและกลีเซอรอล
# 
Villi 
ผนังภายในของล้าไส้เล็กบุด้วย เซลล์บุผิวชั นเดียวที่พับไปมาเพื่อ เพิ่มพื นที่ผิวเรียกว่า villi
# 
การย่อยคาร์โบไฮเดรต 
ปาก 
amylase 
คาร์โบไฮเดรต (แป้ง) 
Disaccharide 
ย่อยครั้งแรก 
ย่อยครั้งที่สอง 
ลาไส้เล็ก 
maltase, lactase, sucrase 
Disaccharide 
Monosaccharide 
Villi 
active transport
# 
การย่อยโปรตีน 
กระเพาะอาหาร 
HCl, Pepsin 
โปรตีน 
Polypeptide (short) 
ย่อยครั้งแรก 
ย่อยครั้งที่สอง 
ลาไส้เล็ก 
trypsin, chymotrypsin 
Polypeptide 
Peptide, Amino acid 
carboxypeptidase 
aminopeptidase, dipeptidase 
Amino acid 
Peptide, Amino acid 
Villi 
active transport
# 
การย่อยไขมัน 
ลาไส้เล็ก 
Lipid 
หยดไขมัน (Emulsified) 
เกลือน้าดี (bile salts) 
Chylomicron 
Fatty acid 
Fatty acid + Glycerol 
lipase 
Cholesterol 
Phospholipid 
ชั้นเยื่อเมือก mucosa 
เส้นน้าเหลืองใหญ่ (central lacteal) 
เส้นเลือด 
Chylomicron เป็น Lipoprotein ชนิดหนึ่ง ทาหน้าที่ขนส่งไขมันไปยังส่วนต่างๆ
# 
แร่ธาตุ และ น้า 
แร่ธาตุ 
active transport 
Na+ 
ลาไส้เล็ก 
parathormone 
Ca++ 
ลาไส้เล็ก 
น้า 
osmosis 
น้า 
ลาไส้เล็ก
อาหารสาหรับบุคคล ในภาวะต่างๆ
# 
อาหารสาหรับบุคคลในภาวะต่างๆ 
สตรีมีครรภ์ 
ผู้สูงอายุ 
เด็กวัยเรียน
# 
อาหารสาหรับหญิงมีครรภ์ 
ต้องการเพิ่มขึ้นประมาณ 30-50% เพื่อการเจริญเติบโตของทารก 
โปรตีนจากสัตว์ เช่น เนื้อ ปลา นม ไข่ 
โปรตีนจากพืช เช่น ถั่วต่างๆ ธัญพืช 
1. จานวนอาหารที่ให้พลังงาน 
สารอาหารประเภทโปรตีน 
ควรเพิ่มอย่างสม่าเสมอ (350-300 กรัม/สัปดาห์) 
ถ้าน้าหนักตัวเพิ่มมากเกินไป ควรลดอาหารพวกแป้งและน้าตาล 
สารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต 
ทารกในครรภ์ได้รับอาหารจากแม่ เพื่อสร้างอวัยวะและเจริญเติบโต การเพิ่มอาหาร ควรได้รับเพิ่มในครึ่งหลังของการตั้งครรภ์ เพราะเป็นระยะที่ทารกเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว
# 
อาหารสาหรับหญิงมีครรภ์ 
เป็นส่วนสาคัญในการสร้างกระดูกและ ฟันของทารก 
แคลเซียม ควรเพิ่มถึง 80% 
ถ้าแม่ได้รับแคลเซียมน้อย จะมีอาการ ฟันโยก ผุ และหลุด ขณะมีครรภ์ 
2. แร่ธาตุ 
แคลเซียมและฟอสฟอรัส
# 
อาหารสาหรับหญิงมีครรภ์ 
เป็นแร่ธาตุที่มักขาดในหญิงมีครรภ์ 
ทารกต้องการเหล็กในการสร้างเม็ดเลือด และกล้ามเนื้อ ระยะ 3 เดือนก่อนคลอด แม่ต้องมีธาตุ เหล็กสูง •แม่ต้องการธาตุเหล็กประมาณ 1000 มิลลิกรัม ตลอดการตั้งครรภ์ (6 มก./วัน) 
•ป้องกันการสูญเสียไปกับเลือดระหว่าง คลอด 
ธาตุเหล็ก 
2. แร่ธาตุ (ต่อ) 
โลหิตจาง
# 
อาหารสาหรับหญิงมีครรภ์ 
ถ้าแม่รับไม่เพียงพอ จะมีผลทาให้ทารกมี พัฒนาการของสมอง และระบบประสาทที่ช้า กว่าปกติ 
หากขาดสารไอโอดีนในระดับรุนแรง อาจทาให้ แท้งหรือตายก่อนคลอด หรือเกิดความพิการ แต่กาเนิด 
•เด็กที่คลอดตัวเตี้ย แคระแกร็น สติปัญญา พัฒนาเชื่องช้า 
มีอยู่ในอาหารทะเล เกลือเสริมไอโอดีน และ น้ามันตับปลา 
ไอโอดีน 
2. แร่ธาตุ (ต่อ)
# 
อาหารสาหรับหญิงมีครรภ์ 
3. วิตามิน 
วิตามินเอ 
ไทอามีน (B1) 
วิตามินซี 
วิตามินดี 
ไรโบฟลาวิน (B2) 
วิตามินอี 
ทารกตายในครรภ์ เกิดการแท้ง 
ช่วยระบบย่อยอาหาร และช่วยเผาผลาญสารอาหาร 
ช่วยในการเจริญเติบโตของกระดูกและฟัน 
ช่วยสร้างกระดูกและฟัน 
การเจริญเติบโตของร่างกายทารก 
ช่วยรักษาชีวิตทารกในครรภ์ 
วิตามินเค 
สร้างโพรทรอมบิน
# 
อาหารสาหรับผู้สูงอายุ 
ควรลดพวกคาร์โบไฮเดรตและน้าตาล 
1. จานวนอาหารที่ให้พลังงาน 
สารอาหารประเภทไขมัน 
ควรลดเพราะย่อยยาก 
ทาให้คลอเรสเตอรอลในเลือดสูง 
ควรเลือกรับประทานไขมันจากพืช 
สารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต 
สารอาหารประเภทโปรตีน 
จาเป็นต้องได้รับทุกวัน ประมาณ 1-12 กรัม/น้าหนักตัว 1 กิโลกรัม 
การขาดโปรตีน จะมีอาการบวม ผิวหนังเป็นผื่นคัน อ่อนเพลีย แผลหายช้า
# 
อาหารสาหรับผู้สูงอายุ 
ถ้าได้รับ Ca ไม่เพียงพอ ร่างกายจะดึงแคลเซียมจากกระดูก 
ควรได้รับอย่างน้อยวันละ 800 มิลลิกรัม 
แคลเซียม 
2. แร่ธาตุ 
ถ้าขาด มักทาให้เกิดโรคโลหิตจางในผู้สูงอายุ 
ควรรับประทานพวกตับ เนื้อสัตว์ ไข่ 
ธาตุเหล็ก 
ควรดื่มน้าวันละ 5-8 แก้ว เพื่อช่วยในการย่อยและการขับถ่าย 
3. วิตามิน 
4. น้า 
ทาให้ร่างกายทางานตามปกติ และเพิ่มความต้านทานโรค
# 
อาหารสาหรับผู้สูงอายุ 
การจัดอาหารเมื่อคิดตามอาหารหลัก 5 หมู่ 
พวกเนื้อสัตว์ ไข่ ถั่ว นม ประกอบด้วยโปรตีน แร่ธาตุ และวิตามิน หลายชนิด 
ควรมีการดัดแปลงให้เหมาะสมกับสภาพฟัน 
หมู่ที่ 1 โปรตีน 
ข้าว น้าตาล เผือก มัน 
ควรลดพวกน้าตาล ส่วนข้าวและเผือกไม่ควรลด 
หมู่ที่ 2 คาร์โบไฮเดรต 
ผักใบเขียว และผักอื่นๆ มีวิตามินและแร่ธาตุมาก 
มีกากใย ช่วยในการขับถ่าย 
หมู่ที่ 3 
วิตามิน
# 
อาหารสาหรับผู้สูงอายุ 
การจัดอาหารเมื่อคิดตามอาหารหลัก 5 หมู่ (ต่อ) 
ผลไม้ต่างๆ มีวิตามินและแร่ธาตุ 
ควรเลือกที่เนื้อนิ่ม หรือใช้การคั้นน้า 
หมู่ที่ 4 แร่ธาตุ 
ไขมันจากสัตว์และพืช 
ควรลดลง เพราะไขมันย่อยยาก ควรเลือกไขมันที่มาจากพืช 
หมู่ที่ 5 ไขมัน
# 
อาหารสาหรับผู้สูงอายุ 
การดัดแปลงอาหารสาหรับผู้ที่มีอายุ 61 ปีขึ้นไป 
ลดอาหารแป้งและไขมันลงมากกว่าเดิม 
อาหารโปรตีนคงเดิม แต่ควรสับหรือต้มเปื่อย 
ควรทานอาหารร้อนๆ ถ้ามีน้าแกงหรือซุปร้อนๆก่อนอาหาร จะช่วยกระตุ้น น้าย่อย 
ลดปริมาณอาหารแต่ละมื้อลง แต่ทานบ่อยขึ้น 
อาหารมื้อเย็น ควรเป็นอาหารเบาและดื่มเครื่องดื่มร้อนๆก่อนนอน 
การเดินออกกาลังกายก่อนอาหาร จะช่วยเพิ่มความอยากอาหาร
# 
อาหารสาหรับเด็กก่อนวัยเรียน 
เด็กก่อนวัยเรียน ได้แก่ เด็กอายุ 1-5 ปี เด็กวัยนี้กาลังเจริญเติบโตและมีการพัฒนาทั่ว ร่างกาย โดยเฉพาะทางสมอง หากไม่ได้รับอาหารที่ถูกต้อง การเจริญเติบโตทางด้าน ร่างกายจะช้าลง และพัฒนาการทางด้านสมองจะชะงัก 
อาหารต่อพัฒนาการของเด็กก่อนวัยเรียน 
ด้านการควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกาย 
ด้านสมอง 
ด้านอารมณ์และจิตใจ
# 
อาหารสาหรับเด็กก่อนวัยเรียน 
ใน 1 วัน ต้องการ 2-3 กรัม/น้าหนักตัว 1 กิโลกรัม 
สารอาหารที่เด็กก่อนวัยเรียนต้องการ 
2. พลังงาน 
อายุ 1-3 ขวบ : 1,200 แคลอรี 
อายุ 4-6 ขวบ : 1,550 แคลอรี 
1. โปรตีน 
ใน 1 วัน ควรได้รับธาตุเหล็ก 6 มิลลิกรัม ตับ ไข่แดง เนื้อสัตว์ ผักใบเขียว 
3. เหล็ก 
ใน 1 วัน ควรได้รับแคลเซียม 0.5 มิลลิกรัม นม ผักใบเขียว ปลาที่กินทั้งกระดูก 
4. แคลเซียม
# 
อาหารสาหรับเด็กก่อนวัยเรียน 
สารอาหารที่เด็กก่อนวัยเรียนต้องการ 
5. วิตามินซี 
ใน 1 วัน ควรได้รับวิตามินซี 20 มิลลิกรัม น้าส้มคั้น น้าสับปะรด 
ควรให้อาหารเสริมที่มีวิตามินดีแก่เด็ก น้ามันตับปลา 
6. วิตามินดี
# 
อาหารสาหรับเด็กวัยเรียน 
กาลังมีการเจริญเติบโต จึงต้องการอาหาร ประเภทสร้างเสริมมาก 
มีกิจกรรมมาก จึงต้องการอาหารประเภทให้ พลังงาน 
ถ้าขาดสารอาหาร จะแสดงออกให้เห็นชัดกว่า ผู้ใหญ่ 
ลักษณะของเด็กวัยเรียน 
เด็กวัยเรียน หมายถึง เด็กที่มีอายุตั้งแต่ 6 ปี ขึ้นไปจนถึง 16 ปี เด็กวัยเรียนเป็นวัยที่ กาลังเจริญเติบโต มีความต้องการสารอาหารปริมาณมาก เพื่อสร้างเนื้อเยื่อ กระดูก ฟัน และอวัยวะส่วนอื่นๆ
# 
อาหารสาหรับเด็กวัยเรียน 
อายุ 9-15 ปี ความต้องการพลังงานของเด็กชายมากกว่าเด็กหญิง 
สารอาหารที่เด็กวัยเรียนต้องการเพิ่มมากกว่าปกติ 
1. พลังงาน 
ควรบริโภคโปรตีนวันละ 1.5-2.0 กรัม/น้าหนักตัว 1 กิโลกรัม 
2. โปรตีน 
เมื่ออายุ 10 ปีขึ้นไป จะต้องการแคลเซียมมากขึ้น เพื่อให้กระดูกได้สัดส่วนและแข็งแรง 
3. แคลเซียม 
เด็กผู้หญิงในระยะเริ่มมีประจาเดือน ต้องบริโภคอาหารที่มีธาตุเหล็กมากกว่าเด็กผู้ชาย 
4. เหล็ก
ปัญหาโภชนาการ (Nutrition Problem)
# 
ปัญหาโภชนาการ 
ปัญหาโภชนาการกับประชากรที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงต่อการขาดสารอาหาร 
มีความต้องการสารอาหารมากกว่าคนปกติ 
การงดรับประทานอาหารบางอย่างหลังคลอด ทาให้สารอาหารไม่เพียงพอต่อความ ต้องการ เช่น แคลเซียม 
1. หญิงมีครรภ์และแม่ลูกอ่อน 
ลูกจะได้รับอาหารจากน้านมแม่เป็นหลัก ทารกจะมีการเจริญเติบโตเป็นปกติจนถึงอายุ 6 เดือน จากนั้นน้าหนักตัวจะไม่ เพิ่มเท่าที่ควร 
2. ทารก : เด็กตั้งแต่แรกเกิดถึงอายุ 1 ปี
# 
ปัญหาโภชนาการ 
ปัญหาโภชนาการกับประชากรที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงต่อการขาดสารอาหาร (ต่อ) 
ร่างกายมีการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย และสมองอย่างรวดเร็ว 
โรคขาดสารอาหารที่พบมาก ได้แก่ โรคขาดโปรตีน 
3. เด็กก่อนวัยเรียน 
มีการเจริญเติบโตอย่างสม่าเสมอ และมีพัฒนาทางด้านความสูง โดยเฉพาะช่วง อายุก่อนเข้าสู่วัยรุ่น สารอาหารที่ขาดมาก ได้แก่ วิตามินบี 1 วิตามินบี 2 และไอโอดีน 
4. เด็กวัยเรียน
# 
ปัญหาโภชนาการ 
ปัญหาโภชนาการกับท้องถิ่นภูมิประเทศ 
ได้รับการปลูกฝังในเรื่องอาหารมาตั้งแต่เด็ก รวมถึงอิทธิพลของสิ่งแวดล้อม 
บางท้องถิ่นอาจมีความเชื่อที่ผิดๆเกี่ยวกับการกิน 
1. ประเพณีและวัฒนธรรมของท้องถิ่น 
มีผลต่อความอุดมสมบูรณ์ของอาหารแต่ละท้องถิ่น 
โรคสารอาหารที่มีสาเหตุจากภูมิประเทศ เช่น โรคคอพอก 
2. ภูมิประเทศ 
ชนิดของอาหารที่มีในท้องถิ่น 
การขาดการคมนาคมขนส่ง 
3. แบบอย่างการกินอาหาร
# 
ปัญหาโภชนาการ 
ปัญหาโภชนาการที่มีการแปรผันตามฤดูกาล 
อาหารแต่ละชนิดจะมีมากน้อยขึ้นอยู่กับฤดูกาล 
ฤดูฝนมักมีอาหารอุดมสมบูรณ์กว่าฤดูแล้ง
# 
ปัญหาโภชนาการ 
ปัญหาโภชนาการที่มีผลจากการมีบุตรในครอบครัว 
จานวนบุตรมีผลต่อปริมาณ และ คุณภาพของอาหาร 
เช่น โรคโลหิตจางมักพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย 
ปัญหาโภชนาการที่มีความเกี่ยวข้องกับเพศ
# 
แผนการส่งเสริมสุขภาพทางโภชนาการ 
1. Evaluation of sources of information 
โรคขาดสารอาหารของประชาชนส่วนใหญ่ ได้แก่ Riboflavin deficiency, Protein deficiency, Vitamin A deficiency สารอาหารที่เด็กส่วนใหญ่ขาด ได้แก่ Riboflavin, Vitamin A, Protein 
ได้แก่ การสารวจสุขภาพด้านโภชนาการในเด็กหรือประชาชนทั่วไป เพื่อนาข้อมูลที่ได้ ไปใช้ในการปรับปรุงปัญหาทางด้านโภชนาการ 
ปลา เนื้อสัตว์ ถั่วมล็ดต่างๆ ผักสีเขียว ผลไม้
# 
แผนการส่งเสริมสุขภาพทางโภชนาการ 
2. Training of Personal 
เป็นการจัดอบรมและให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการแก่บุคลากรที่มีอยู่แล้ว เพื่อให้การดาเนินงานตามแผนส่งเสริมสุขภาพทางโภชนาการมีประสิทธิภาพ
# 
แผนการส่งเสริมสุขภาพทางโภชนาการ 
3. Improve Nutrition Knowledge 
ให้การศึกษาทางด้านโภชนาการ 
•แทรกความรู้เกี่ยวกับการโภชนาการเข้าในหลักสูตรของโรงเรียน 
•ให้ความรู้แก่ประชาชนโดยตรง 
การใช้สื่อต่างๆ ในการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการให้แก่ชุมชน 
•การแจกจ่ายโปสเตอร์ หรือใบปลิว 
•การโฆษณา ทางหนังสือพิมพ์ วิทยุ และโทรทัศน์ 
การสาธิตเกี่ยวกับการจัดเตรียมและประกอบอาหาร รวมถึงการเก็บรักษา 
การจัดเจ้าหน้าที่ออกปฏิบัติงานตามชุมชนต่างๆ
#
#
#
# 
แผนการส่งเสริมสุขภาพทางโภชนาการ 
4. Improve Food Distribution 
ปรับปรุงการคมนาคมขนส่งระหว่างชุมชนต่างๆ 
ปรับปรุงตลาด และส่งเสริมให้มีร้านค้าที่หลากหลายในชุมชน 
ร้านค้าชุมชนที่ได้รับการส่งเสริมจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ตั้งแต่ปี 2530 มีจานวน 456 ร้านค้า
# 
แผนการส่งเสริมสุขภาพทางโภชนาการ 
5. Supplementary Feeding Program 
การจัดเลี้ยงอาหารกลางวันในโรงเรียนอย่างสม่าเสมอ โดยอาจเป็นมื้ออาหาร หลัก หรืออาหารว่าง
# 
แผนการส่งเสริมสุขภาพทางโภชนาการ 
6. Improve Food and Crops Storage 
การปรับปรุงสถานที่เก็บอาหารและผลผลิตต่างๆ จะช่วยลดความเสียหายแก่ อาหารและพืชผลที่จะเก็บไว้บริโภคได้ 
การกาจัดหนู 
การกาจัดแมลง 
การควบคุมเชื้อรา 
การกาจัดนก
# 
กิจกรรมกลุ่ม 
ให้นักศึกษาคิดเมนูอาหารใน 1 วัน สาหรับบุคคลต่างๆ ต่อไปนี้ 
•อาหารสาหรับหญิงวัยหมดประจาเดือน (วัยทอง) 
•อาหารสาหรับผู้ป่วยโรคมะเร็ง 
•อาหารสาหรับคนชรา 
•อาหารสาหรับผู้ป่วยไขมันในเลือดสูง
#
#
# 
•เนื่องจากไขมันไม่ละลายในน้า ดังนั้นจะต้องรวมตัวกับโปรตีนเป็น ไลโปโปรตีน (Lipoprotein) ซึ่งจะทาหน้าที่ขนส่งไขมันให้ เคลื่อนไปในกระแสเลือดและอวัยวะต่างๆในร่างกาย •ไคโลไมครอน (Chylomicron) เป็นไขมันที่พบในเลือด หลังจากที่ รับประทานอาหารที่มีไขมันมาก ประกอบด้วย ไตรกลี เซอไรด์ ร้อยละ 84 ปกติจะไม่พบ ไคโลไมครอน ในเลือดหลัง จา กอดอาหารเป็นเวลา 12 ชั่วโมง ไคโลไมครอนถูกสร้างที่เยื่อบุ ลาไส้เล็ก ทาหน้าที่ขนส่งไตรกลีเซอไรด์ที่ได้จากอาหาร นาไป สะสมไว้ในเนื้อเยื่อไขมัน 
http://medinfo2.psu.ac.th/pathology/Education/Ch/Page1.html
# 
•ชนิดของไลโปโปรตีน ไลโปโปรตีนที่ทาหน้าที่ขนส่งไขมันชนิดต่างๆ จะมีลักษณะพิเศษกล่าวคือ แกนกลางของไลโปโปรตีน จะเป็นไขมันชนิดที่ไม่มีขั้ว( nonpolar lipid) เช่น ไตรกลีเซอไรด์ โคเลสเตอรอลเอสเตอร์ เป็นต้น และล้อมรอบด้วยไขมันชนิดที่สามารถละลายน้าได้บางส่วน (amphipatic lipid) เช่น ฟอสโฟลิปิด โคเลสเตอรอล เป็นต้น และมีโปรตีนบางชนิดที่เรียกว่า อะโปโปรตีน (apoprotein) แทรกอยู่ในชั้นของไขมันเหล่านี้โดยทาหน้าที่เป็นตัวรับ-ส่งสัญญาน (recepter) ไลโปโปรตีนจะแบ่งเป็นกลุ่มต่างๆ ตามระดับชั้นเมื่อนาไปปั่นเหวี่ยงด้วยเครื่องปั่นเหวี่ยงกาลังสูง (Ultracentrifuge) โดยจะ แบ่งเป็น 4 กลุ่มดังนี้ 1 ไคโลไมครอน (Chylomicrons) ทาหน้าที่หลักในการขนส่ง ไตรกลีเซอร์ไรด์ จากลาไส้ เล็ก ไปยังตับ 2 วีแอลดีแอล (Very low density lipoprotein, VLDV) ทาหน้าที่ขนส่งไตร กลีเซอร์ไรด์ จากตับ ไปยังเนื้อเยื่อต่างๆ 3 แอลดีแอล (Low density lipoprotein, LDL) ประกอบด้วยโคเลสเตอรอล เป็น องค์ประกอบหลัก
# 
•1.โปรตีน เนื้อสัตว์ ไข่ นม ถั่ว โปรตีน 
•2.คาร์โบไฮเดรต ข้าว แป้ง น้าตาล เผือก มัน •3.เกลือแร่หรือแร่ธาตุ เป็นสารอาหารอีกประเภทหนึ่งที่ร่างกายต้องการและขาดไม่ได้เพราะแร่ธาตุบาง ชนิด เป็นส่วนประกอบของอวัยวะและกล้ามเนื้อบางอย่าง เช่น กระดูก ฟัน เลือด •.วิตามิน เป็นสารอาหารที่ร่างกายของเราต้องการในปริมาณน้อย แต่ก็ไม่สามารถขาดได้ ถ้าขาดจะทาให้ ระบบร่างกายของเราผิดปกติ หรือเกิดโรคต่างๆได้ วิตามินแบ่งออกเป็น 2 พวก ได้แก่ - วิตามินที่ละลายในน้า ได้แก่ วิตามินซี และวิตามินบีรวม - วิตามินที่ละลายในไขมัน ได้แก่ วิตามิน เอ ดี อี เค •5.ไขมัน ที่ให้พลังงานที่มีส่วนประกอบหลักคือที่ไตรกลีเซอไรด์ (triglyceride) ไขมัน 1 กรัมให้ พลังงาน 9แคลอรี 
•http://www.thaifoodworld.com/อาหารหลัก5หมู่/
#
# 
•lbumin •คือโปรตีนที่พบในกระแสเลือด (blood plasma) หรือเรียกว่า Serum Albumin โดยอัลบูมินถูกผลิตจากตับ ซึ่งอัลบูมินนั้นถือเป็นโปรตีนที่เป็น ส่วนประกอบหลักในกระแสเลือดของมนุษย์คือคิดเป็น 50-60% ของโปรตีนที่อยู่ใน กระแสเลือด ในกระแสเลือดพบโปรตีนอยู่ 3 ชนิด คือ อัลบูมิน(Albumin), Globulin และ Fibrinogen •อัลบูมิน(Albumin) จะทาหน้าที่หลักในการจับ น้า ฮอร์โมน วิตามิน ไขมัน สารอาหารต่างๆ ที่มีประโชน์ และนาพาสารต่างๆที่จาเป็นต่อร่างกาย โดยถูกนาพาไปกับ กระแสเลือดเพื่อนาสารต่างๆ เหล่านั้นไปใช้ประโยชน์ในส่วนต่างๆ ของร่างกาย 
http://www.livewellnutritions.com/index.php/2013- 04-24-19-12-59 
http://www.citycollegiate.com/biochemistry4.htm
# 
http://health.kapook.com/view16436.html
# 
http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/Hormone/Hormone/html/Website-endocrine-system/Parathyroid.htm

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่Pinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2Wichai Likitponrak
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัดเอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัดsucheera Leethochawalit
 
อาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหารอาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหารMutita Eamtip
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัดnoppadolbunnum
 
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภคบทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภคkasocute
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKDPha C
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนsukanya petin
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPrachaya Sriswang
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition techno UCH
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือดPinutchaya Nakchumroon
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายKan Pan
 
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียนNickson Butsriwong
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3Mew Meww
 

Tendances (20)

บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2บทที่ 1 สารอาหารม.2
บทที่ 1 สารอาหารม.2
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัดเอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
 
อาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหารอาหารและสารอาหาร
อาหารและสารอาหาร
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัด
 
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภคบทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
บทที่ ๔ การปรับปรุงนิสัยการบริโภค
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
 
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารและการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKD
 
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมนการรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
การรักษาดุลยภาพของร่างกายด้วยฮอร์โมน
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
 
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
2.2อาหารสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน
 
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า  ม3
วิทยาศาสตร์ ไฟฟ้า ม3
 

Similaire à อาหารและโภชนาการ

ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการAobinta In
 
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤตงานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤตFrank Jkg
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุกPanjaree Bungong
 
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010Coco Tan
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่kasocute
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตchalunthorn teeyamaneerat
 
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟันCm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน4LIFEYES
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลJariya Jaiyot
 
โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาtassanee chaicharoen
 
ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์Tawadchai Wong-anan
 
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยluckana9
 

Similaire à อาหารและโภชนาการ (20)

บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
อาหารกับการดำรงชีวิต วิทยาศาสตร์ ม.2
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการ
 
Mom knowledge
Mom knowledgeMom knowledge
Mom knowledge
 
โภชนาการ[3[1]
โภชนาการ[3[1]โภชนาการ[3[1]
โภชนาการ[3[1]
 
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤตงานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
งานผลไม้ ชื่อศุภกฤต
 
Lipid
LipidLipid
Lipid
 
2
22
2
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
 
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
เฉลย แบบฝึกหัดในเอกสารติว FST010
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไต
 
อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์อาหารตั้งครรภ์
อาหารตั้งครรภ์
 
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟันCm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
Cm เพื่อสุขภาพที่ดีของกระดูกและฟัน
 
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุลบทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
 
Pompea3
Pompea3Pompea3
Pompea3
 
โภชนาการตติยา
โภชนาการตติยาโภชนาการตติยา
โภชนาการตติยา
 
ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์ธวัชชัย วงค์อนันต์
ธวัชชัย วงค์อนันต์
 
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัยผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
ผช. โภชนศาสตร์ครั้งที่3-อาหารเฉพาะวัย
 
Food&life
Food&lifeFood&life
Food&life
 

Plus de tumetr

ขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook pageขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook pagetumetr
 
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015tumetr
 
Aec rit v.1.0-facebook
Aec rit v.1.0-facebookAec rit v.1.0-facebook
Aec rit v.1.0-facebooktumetr
 
Aec rit v.1.0-po_p
Aec rit v.1.0-po_pAec rit v.1.0-po_p
Aec rit v.1.0-po_ptumetr
 
The system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designThe system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designtumetr
 
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)tumetr
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลtumetr
 
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)tumetr
 
ระบบ (System)
ระบบ (System)ระบบ (System)
ระบบ (System)tumetr
 
An approach-to-planning-software-projects
An approach-to-planning-software-projectsAn approach-to-planning-software-projects
An approach-to-planning-software-projectstumetr
 
An introduction
An introductionAn introduction
An introductiontumetr
 
Huffman
HuffmanHuffman
Huffmantumetr
 
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานtumetr
 
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการกลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการtumetr
 
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการกลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการtumetr
 
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารหน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารtumetr
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารtumetr
 
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพหน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพtumetr
 
avl tree ,b-tree
avl tree ,b-treeavl tree ,b-tree
avl tree ,b-treetumetr
 
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)tumetr
 

Plus de tumetr (20)

ขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook pageขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook page
 
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
 
Aec rit v.1.0-facebook
Aec rit v.1.0-facebookAec rit v.1.0-facebook
Aec rit v.1.0-facebook
 
Aec rit v.1.0-po_p
Aec rit v.1.0-po_pAec rit v.1.0-po_p
Aec rit v.1.0-po_p
 
The system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designThe system-analysis-and-design
The system-analysis-and-design
 
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูล
 
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
 
ระบบ (System)
ระบบ (System)ระบบ (System)
ระบบ (System)
 
An approach-to-planning-software-projects
An approach-to-planning-software-projectsAn approach-to-planning-software-projects
An approach-to-planning-software-projects
 
An introduction
An introductionAn introduction
An introduction
 
Huffman
HuffmanHuffman
Huffman
 
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
 
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการกลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
 
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการกลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
 
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารหน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
 
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพหน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
 
avl tree ,b-tree
avl tree ,b-treeavl tree ,b-tree
avl tree ,b-tree
 
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
 

อาหารและโภชนาการ

  • 1. อาหารและโภชนาการ (Food and Nutrition) อ. ศกุนตลา สายใจ
  • 2. # อาหารและโภชนาการ เป็นวิทยาศาสตร์ที่ศึกษาเกี่ยวกับอาหารที่จะบริโภคว่า อาหารนั้นมีสารเคมีใดเป็น ส่วนประกอบอยู่มากน้อยเพียงใด เมื่อบริโภคแล้วอาหารนั้นจะเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร บ้าง ก่อนที่ร่างกายจะนาไปใช้ประโยชน์ โภชนาการ (Nutrition) เป็นสภาพที่ร่างกายขาดอาหาร ลักษณะสภาพของการขาดอาหารมีตั้งแต่สภาพที่มี ความรุนแรงน้อยที่สุดและเป็นอาการที่เกิดเรื้อรัง จนถึงอาการของความพิการที่แสดง ถึงการขาดสารอาหารที่สาคัญ ทุพโภชนาการ (Malnutrition)
  • 3. # อาหารและโภชนาการ สารประกอบทางเคมีในอาหารต่างๆ จาแนกได้เป็น 6 พวก คือ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน แร่ธาตุ วิตามิน น้า สารอาหาร (Nutrient) ประโยชน์ของสารอาหาร ทาให้เกิดความอบอุ่น เป็นพลังงานให้ร่างกาย สร้างเสริมอวัยวะต่างๆของร่างกาย ซ่อมแซม และสร้างอวัยวะที่ทรุดโทรม ควบคุม และกระตุ้นอวัยวะต่างๆของร่างกาย ช่วยในการเปลี่ยนแปลงปฏิกิริยาเคมีในร่างกาย
  • 4. # อาหารและโภชนาการ สิ่งที่มนุษย์นามาบริโภคได้ โดยปราศจากพิษ และปราศจากโทษ อาหารเป็นได้ทั้งของแข็ง ของเหลว อาหารจะถูกเปลี่ยนรูป เพื่อให้ ร่างกายดูดซึมไปใช้ได้ อาหาร (Food)
  • 5. # ความสาคัญของอาหารต่อสุขภาพ 1. การบริโภคอาหารน้อยเกินไป •อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย น้าหนักตัวลด ตัวผอมซีด •ขาดความต้านทานโรค 2. การบริโภคอาหารมากเกินไป •น้าหนักตัวเพิ่มขึ้น จนกลายเป็นโรคอ้วน •เกิดโรคติดตาม เช่น โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง โรคไขมันอุดตัน 3. การบริโภคอาหารบางชนิดน้อยเป็นเวลานาน •เกิดความพิการแก่เซลล์ และอวัยวะ เรียกว่า โรคขาดสารอาหารเฉพาะ •เหน็บชา ขาดไทอามิน (วิตามิน B1) •ปากนกกระจอก ขาดไรโบฟลาวิน (วิตามิน B2) •กระดูกอ่อน ขาดแคลเซียม, วิตามินD Bulimia Anorexia
  • 6. # ความสาคัญของอาหารต่อสุขภาพ (ต่อ) 4. การบริโภคอาหารน้อยเป็นระยะเวลาไม่นาน : เกิดความผิดปกติแก่สุขภาพโดยทั่วไป •การเจริญเติบโตของร่างกาย •ความแข็งแรง •การต้านทานเชื้อโรค •สติปัญญา ความฉลาด และไหวพริบ •การสืบพันธุ์ •การมีชีวิตยืนนาน
  • 7. # คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate)  Monosaccharide (CnH2nOn) ประกอบด้วยคาร์บอน 3-7 อะตอม • เป็นผลึก ละลายน้าง่าย มีรสหวาน • มีหลายชนิด ได้แก่ -กลูโคส พบมากที่สุดในร่างกาย -ฟรุคโตส พบมากในน้าผึ้ง และผลไม้ -กาแลกโตส พบในน้านม เป็นสารอาหารที่ให้พลังงาน ประกอบด้วยธาตุคาร์บอน ไฮโดรเจน และ ออกซิเจน คาร์โบไฮเดรตถูกสังเคราะห์จากพืชสีเขียว และถูกสะสมไว้ตาม ส่วนต่างๆของพืช เช่น ลาต้น ใบ ราก เมล็ด หัว คาร์โบไฮเดรตแบ่งเป็น 3 ประเภท
  • 8. # คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) (ต่อ)  Disaccharide - เกิดจากการรวมตัวของ Monosaccharide 2 โมเลกุล - ได้แก่ ซูโคส แลคโตส มอลโตส ภาพ แสดงการสังเคราะห์ไดแซคคาไรด์จากโมโนแซคคาไรด์ (Campbell และคณะ, 2008 “Biology”) ก. มอลโทส ข. ซูโครส ก. ข.
  • 9. # คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) (ต่อ)  Polysaccharide • เป็นคาร์โบไฮเดรตโมเลกุลใหญ่ • ประกอบด้วยเป็นน้าตาลโมเลกุลเดี่ยวหลายโมเลกุล ประมาณ 100-1,000 หน่วยมารวมกัน  กลุ่มที่ทาหน้าที่เป็นโครงสร้าง ได้แก่ • ไคติน เสริมความแข็งแรงให้โครงกระดูก และลาตัวของสัตว์ • เซลลูโลสเป็นโครงสร้างหลักของผนังเซลล์พืช Polysaccharide แบ่งเป็น 3 กลุ่ม ก. ข. ภาพ แสดงโครงสร้างของโพลิแซคคาไรด์ ก. ไคติน ข. เซลลูโลส
  • 10. # คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) (ต่อ)  กลุ่มที่ทาหน้าที่สะสมอาหาร •แป้ง เป็นกลูโคสเชื่อมต่อกัน มี 2 ชนิด คือ amylose และ amylopectin •ไกลโคเจน เป็นกลูโคสเชื่อมต่อกัน พบมาก ในตับและกล้ามเนื้อสัตว์ ค. ง. ภาพ แสดงโครงสร้างของโพลิแซคคาไรด์ ค. แป้ง ง. ไกลโคเจน  กลุ่มที่ทาหน้าที่เป็นส่วนประกอบของเซลล์ • เฮปาริน -มีคุณสมบัติในการห้ามเลือด -พบมากในปอด ตับ และผนังเส้นเลือด
  • 11. # คาร์โบไฮเดรต (Carbohydrate) (ต่อ) หน้าที่ของคาร์โบไฮเดรตในร่างกาย เป็นแหล่งพลังงานในร่างกาย เป็นอาหารของเซลล์ และเนื้อเยื่อในสมอง ถูกเปลี่ยนเป็นไขมัน เมื่อมีปริมาณมาก อาหารที่ให้สารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต อาหารจาพวกข้าวทุกชนิด ข้าวจ้าว ข้าวเหนียว ข้าวโพด อาหารจาพวกแป้ง เผือก มันเทศ มันสาปะหลัง ถั่ว ขนมปัง ร่างกายต้องการคาร์โบไฮเดรต ไม่น้อยกว่า 1 ใน 4 ของพลังงานที่ร่างกายต้องการ
  • 12. # โปรตีน (Protein) เป็นส่วนประกอบสาคัญเกี่ยวกับการเจริญของเซลล์ มีมากกว่า 50% ของน้าหนักแห้ง ของเซลล์ ประกอบด้วยคาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน และไนโตรเจน (C, H, O, N)  เป็นหน่วยย่อยของโปรตีน  เป็นสารอินทรีย์ขนาดเล็กที่มีหมู่อะมิโน (-NH3+) และหมู่คาร์บอกซิล (-COO-) เชื่อมต่อกันด้วยพันธะเพปไทด์ (peptide bond)  โปรตีนประกอบด้วยกรดอะมิโน 20 ชนิด  แบ่งเป็น 2 ชนิด คือ กรดอะมิโนที่จาเป็น (Essential Amino acid) และกรดอะมิโนที่ไม่ จาเป็น (Non essential amino acid) กรดอะมิโน (Amino acid)
  • 13. #  ร่างกายต้องการได้รับ เพื่อการเจริญ และการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสมอง  ร่างกายไม่สามารถสร้างขึ้นเองได้  มี 10 ชนิด กรดอะมิโนที่จาเป็น  เป็นชนิดที่ร่างกายสร้างขึ้นได้เอง หรือ เปลี่ยนจากกรดอะมิโนอื่นได้  แม้ไม่ได้บริโภคเข้าไป ก็ไม่ขาดแคลน กรดอะมิโนที่ไม่จาเป็น
  • 14. # โปรตีน (Protein) (ต่อ)  Simple protein • เป็นโปรตีนอย่างง่าย เมื่อถูกไฮโดไลซ์แล้วจะได้เป็น กรดอะมิโนออกมา • โกลบูลิน (globulin) พบในเลือด • แอลบูมิน (albumin) พบในไข่ขาว ชนิดของโปรตีน  Conjugated protein • เป็นโปรตีนที่มีสารอื่นรวมอยู่ด้วย • ไกลโคโปรตีน (glycoprotein) ไลโปโปรตีน (lipoprotein) นิวคลีโอโปรตีน (nucleoprotein)  Derived protein • เป็นสารที่ได้จากการเปลี่ยนแปลงของโปรตีน จากการถูกย่อยด้วยเอนไซม์หรือสารเคมี • อาจมีคุณลักษณะต่างไปจากโปรตีนเดิม • Peptone, peptides, proteose
  • 15. # โปรตีน (Protein) (ต่อ) หน้าที่ของโปรตีน เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของร่างกาย เช่น สร้างเซลล์ เนื้อเยื่อ และส่วนที่สึกหรอ เป็นส่วนประกอบของเอนไซม์ และฮอร์โมน เป็นส่วนประกอบของสารเคมีที่ช่วยต้านทานโรค และทาให้ร่างกายแข็งแรง ให้พลังงาน โปรตีน 1 กรัม ให้พลังงาน 4 แคลอรี คุณค่าทางโภชนาการของโปรตีน 1.พวกที่ให้คุณค่าทางโภชนาการสูง คือ โปรตีนที่ให้กรดอะมิโนจาเป็นต่อร่างกาย เพียงพอ ได้จาก เนื้อสัตว์ นม 2.พวกที่ให้คุณค่าทางโภชนาการต่า คือ โปรตีนที่ให้กรดอะมิโนที่ร่างกายต้องการน้อย และไม่เพียงพอ โดยมากพบในพืช
  • 16. # โปรตีน (Protein) (ต่อ) ความต้องการโปรตีนประจาวัน ใน 1 วัน ควรได้รับโปรตีน 1 กรัม ต่อน้าหนักตัว 1 กิโลกรัม หญิงมีครรภ์ : เพิ่มจากเดิมวันละ 20 กรัม หญิงให้นมบุตร : เพิ่มจากเดิมวันละ 40 กรัม นักกีฬา : นาไปใช้ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ คนเจ็บ : นาไปใช้ในการฟื้นฟูร่างกาย คนผ่าตัดหรือมีบาดแผล : นาไปใช้ในการสร้างเซลล์ ทาให้แผลหายเร็ว
  • 17. # โปรตีน (Protein) (ต่อ) อาหารที่มีโปรตีน เนื้อสัตว์ทุกชนิด มีโปรตีนประมาณ 15-30% ไข่ มีโปรตีนสูง •ไข่ขาว มีแอลบูมิน กลอบูลิน และไกลโคโปรตีน •ไข่แดง มีแร่ธาตุฟอสฟอรัส แคลเซียม เหล็ก กามะถัน  ถั่วต่างๆ มีโปรตีนไม่ต่ากว่า 8%  นมและผลิตภัณฑ์จากนม
  • 18. # ไขมัน (Lipid) ในที่นี้ หมายถึง ไขมันและน้ามัน อาจเป็นของแข็งหรือของเหลว ไขมันมักแทรกอยู่ใน อาหารชนิดต่างๆ เช่น ถั่วลิสง ไข่ นม เนย เนื้อสัตว์ ส่วนประกอบของไขมัน กรดไขมัน (Fatty acid) ประกอบด้วย คาร์บอน ไฮโดรเจน ออกซิเจน กลีเซอรอล (Glycerol) ภาพ โครงสร้างของไขมัน (Campbell และคณะ, 2008 “Biology”)
  • 19. # ไขมัน (Lipid) (ต่อ) ก. ข. ภาพ แสดงโครงสร้างของไขมันอิ่มตัวและไขมันไม่อิ่มตัว (Campbell และคณะ, 2008 “Biology”) ก. ไขมันอิ่มตัว ข. ไขมันไม่อิ่มตัว  กรดไขมันอิ่มตัว (Saturated fatty acid) หมายถึง กรดไขมันที่มีพันธะเดี่ยวทั้งหมด มีคุณสมบัติแข็งตัวง่าย เช่น ไขมัน (fat) และขี้ผึ้ง (wax)  กรดไขมันไม่อิ่มตัว (Unsaturated fatty acid) หมายถึง กรดไขมันที่มีพันธะคู่หนึ่งตาแหน่ง หรือมากกว่าในสายของกรดไขมัน เช่น น้ามันพืช ชนิดของไขมัน จาแนกตามความอิ่มตัวของกรดไขมัน
  • 20. # ไขมัน (Lipid) (ต่อ) ชนิดของไขมัน จาแนกตามความจาเป็นต่อร่างกาย  กรดไขมันที่ร่างกายไม่สามารถ สังเคราะห์ได้  พบในน้ามันดอกอีฟนิ่งพริมโรส เช่น Linoleic acid หรือ โอเมก้า 6 พบในน้ามันปลาและ Flaxseed เช่น Alpha- Linoleic acid หรือ โอเมก้า 3 กรดไขมันจาเป็น (Essential fatty acid)  กรดไขมันที่ร่างกายสามารถ สังเคราะห์ได้  มีอยู่ในอาหารไขมันทั่วไป กรดไขมันไม่จาเป็น (Non essential fatty acid)
  • 21. # ไขมัน (Lipid) (ต่อ) คุณค่าทางอาหารของไขมัน ไขมันให้พลังงานได้มากกว่าสารอื่นๆ คือ ไขมัน 1 กรัม ให้พลังงาน 9 แคลอรี กรดไขมันบางชนิดในอาหารจาเป็นต่อร่างกาย และร่างกายสังเคราะห์ไม่ได้ เป็นตัวละลายวิตามิน ไขมันในอาหารช่วยให้อิ่มนานขึ้น ไขมันที่สะสมในร่างกาย ช่วยป้องกันการกระทบกระเทือนของอวัยวะภายใน ช่วยป้องกันการสูญเสียความร้อนภายในร่างกาย คนทั่วไป ใช้พลังงานวันละ 1,200 – 1,600 แคลอรี่ต่อวัน คนที่ออกกาลังกายเป็นประจา ใช้พลังงานวันละ 1,600 – 2,000 แคลอรี่ต่อวัน คนทางานหนัก ใช้พลังงานวันละ 2,000 – 2,400 แคลอรี่ต่อวัน ปริมาณแคลอรี่ที่ใช้ต่อวัน (Total daily energy expenditure : TDEE)
  • 22. # ไขมัน (Lipid) (ต่อ) อาหารประเภทไขมัน ไขมันจากสัตว์ •นม เนย น้ามันหมู น้ามันปลา ไข่แดง ไขมันจากพืช •น้ามันมะพร้าว น้ามันถั่วเหลือง น้ามันปาล์ม อาหาร g/อาหาร100g น้ามันหมู 100.0 งา 49.1 มะพร้าว 35.3 เนยแข็ง 30.0 ไข่ 11.5 เนื้อวัว 7.5 นม 3.5 ตาราง ปริมาณไขมันในอาหารชนิดต่างๆ จาก วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร (2004)
  • 23. # แร่ธาตุ (Mineral) เป็นสารอนินทีรย์ที่พบในอาหาร มีปริมาณน้อยมากเมื่อเทียบกับสารอาหารอื่นๆ แต่ แร่ธาตุเป็นสารที่จาเป็นต่อร่างกายที่ต้องได้รับ เพื่อการทางานที่เป็นปกติของร่างกาย ประเภทของแร่ธาตุ แบ่งตามปริมาณที่ร่างกายต้องการ แร่ธาตุที่ร่างกายต้องการในปริมาณมาก (Macro minerals) ได้แก่ แคลเซียม โซเดียม ฟอสฟอรัส คลอไรด์ โพแทสเซียม แมกนีเซียม และกามะถัน แร่ธาตุที่ร่างกายต้องการในปริมาณน้อย (Micro minerals) ได้แก่ เหล็ก ไอโอดีน แมงกานีส ทองแดง สังกะสี โคบอลต์ และฟลูออรีน
  • 24. # แคลเซียม (Ca) ประโยชน์และหน้าที่ของแคลเซียม เป็นองค์ประกอบของกระดูกและฟัน ช่วยให้เลือดแข็งตัว โดยทางานร่วมกับโปรทอมบิน ช่วยควบคุมการผ่านเข้าออกของสาร ช่วยควบคุมการทางานของประสาทและกล้ามเนื้อ รักษาระดับความเป็นกรดด่างของเลือดให้คงที่ อาหารที่ให้แคลเซียม อาหารที่ให้แคลเซียมสูง ได้แก่ นม ไข่ ผักใบเขียว แครอท นอกจากนี้ยังมีพวก กะปิ ปลาป่น
  • 25. # แคลเซียม (Ca) (ต่อ) ตาราง จานวนแคลเซียมที่ควรได้รับต่อวันในวัยต่างๆ กลุ่มอายุ ความต้องการแคลเซียมต่อวัน ต่ากว่า 10 ปี 500 - 700 มิลลิกรัม อายุ 10 – 18 ปี 1,300 มิลลิกรัม 19 – 65 ปี 1,000 มิลลิกรัม 65 ปี ขึ้นไป 1,300 มิลลิกรัม สตรีตั้งครรภ์หรือให้นมบุตร หรือหลังมีประจาเดือน 1,300 มิลลิกรัม จาก องค์การอาหารและการเกษตรแห่งประชาชาติและองค์การอนามัยโลก (2002)
  • 26. # ฟอสฟอรัส (P) ประโยชน์และหน้าที่ของฟอสฟอรัส เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโต และการทางานของเซลล์ ช่วยในการหดตัวของกล้ามเนื้อ จาเป็นสาหรับการเผาผลาญและการใช้ประโยชน์ของไขมัน และคาร์โบไฮเดรต ความต้องการฟอสฟอรัส ประจาวัน เด็ก แคลเซียม : ฟอสฟอรัส = 1:1 ผู้ใหญ่ แคลเซียม : ฟอสฟอรัส = 1:1.5 อาหารที่ให้ฟอสฟอรัส ตับ เนื้อ นม ไข่ ถั่ว แป้ง ขนมปัง ข้าวโพด ส้ม
  • 27. # โซเดียม (Na) ประโยชน์และหน้าที่ของโซเดียม รักษาสมดุลของน้า รักษาสมดุลระหว่างกรดและด่าง รักษาสมรรถภาพการทางานของกล้ามเนื้อ ประสาท และเซลล์ ความต้องการโซเดียมประจาวัน ใน 1 วัน ควรได้รับโซเดียม 5-6 กรัม อาหารที่ให้โซเดียม เนื้อสด ปลา เป็ด ไก่ ไข่ นม
  • 28. # เหล็ก (Fe) ประโยชน์และหน้าที่ของเหล็ก เป็นส่วนประกอบของฮีโมโกลบิน ช่วยในการลาเลียงออกซิเจนไปยังส่วนต่างๆของร่ากาย ช่วยให้มีการแลกเปลี่ยนสารต่างๆภายในเซลล์ ความต้องการเหล็กประจาวัน ใน 1 วัน ควรได้รับธาตุเหล็ก 12 มิลลิกรัม อาหารที่มีเหล็ก ตับ เนื้อสัตว์ต่างๆ ไข่แดง ผักใบเขียว
  • 29. # วิตามิน (Vitamin) มีหน้าที่ควบคุมการทางานของอวัยวะต่างๆ ในร่างกาย ควบคุมระบบ ประสาท ช่วยต้านทานโรค ส่งเสริมการเจริญเติบโต หากขาดไปจะก่อให้เกิดโรค ได้ วิตามินแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ 1. วิตามินที่ละลายในน้า (Water soluble vitamins) •ละลายน้าได้ง่าย •เสียสภาพได้ง่าย •ไม่มีการสะสมในร่างกาย 2. วิตามินที่ละลายในไขมัน (Fat soluble vitamins) •ไม่ละลายน้า •เสียสภาพได้ยาก •สามารถเก็บสะสมไว้ในร่างกาย
  • 30. # วิตามินที่ละลายในไขมัน วิตามินเอ (เรตินอล) หน้าที่ •รักษาสายตาให้เป็นปกติ •ส่งเสริมการขับน้าเมือกสาหรับหล่อเลี้ยงเยื่อบุต่างๆ •ป้องกันการติดเชื้อ และเสริมสร้างการเจริญของร่างกาย การขาดวิตามินเอ •ตาบอดกลางคืน (Night Blindness) •เซลล์ต่างๆเสื่อมโทรม เหี่ยวย่น •ความสามารถในการต่อต้านการติดโรคต่าลง •ผิวหนังหยาบ เป็นเกล็ด •ตาบอด (Keratomalacia)
  • 31. # วิตามินที่ละลายในไขมัน (ต่อ) อาหารที่ให้วิตามินเอ •อาหารประเภทสัตว์ : เนื้อ ไข่ ตับ เครื่องใน นม เนย น้ามันตับปลา •อาหารประเภทพืช : แคโรทีน พบใน สีเหลืองของผักและผลไม้ วิตามินเอ (เรตินอล) (ต่อ)
  • 32. # วิตามินที่ละลายในไขมัน (ต่อ) วิตามินดี หน้าที่ •ทาให้การดูดซึมของแคลเซียมและฟอสฟอรัสมีอัตราสูงขึ้น •ควบคุมรักษาระดับแคลเซียมและฟอสฟอรัสในเลือด การขาดวิตามินดี - สาเหตุของโรคกระดูดอ่อน - กะโหลกศีรษะนุ่ม หน้าผากนูนออก รูปศีรษะแบน - กระดูกอ่อน เปราะ ขาโค้ง กระดูกสันหลังโค้ง อาหารที่ให้วิตามินดี •ไข่แดง ตับ ปลา น้ามันตับปลา
  • 33. # วิตามินที่ละลายในไขมัน (ต่อ) วิตามินอี วิตามินเค •การแท้งบุตรโดยไม่ทราบสาเหตุ •การเป็นหมัน •อาการผิดปกติของการมีระดูของสตรี •กล้ามเนื้อลีบ เหี่ยว •ทาหน้าที่สังเคราะห์โปรทรอมบิน •มีการสะสมไว้ที่ตับ •ยาปฏิชีวนะทาให้การสังเคราะห์ วิตามินเคบกพร่อง •พบในผักใบเขียว เมล็ดพืช รากและ หัวมัน ตับหมู ไข่ นม วิตามินละลายในไขมัน : A D E K
  • 34. # วิตามินที่ละลายในน้า วิตามินบี 1 (Thiamine) การขาดวิตามินบี 1 •เป็นต้นเหตุของโรคเหน็บชา •ทาให้ความอยากอาหารลดลง •กล้ามเนื้อทางเดินกระเพาะอาหารและลาไส้อ่อนแอ ละลายน้าและดูดซึมได้ง่าย จาเป็นต้องได้รับจากอาหาร ถูกขับออกทางปัสสาวะ และเหงื่อ อาหารที่ให้วิตามินบี 1 •เนื้อหมู เครื่องในสัตว์ ไข่ ผักใบเขียว ข้าวต่างๆ ถั่ว งา กล้วย
  • 35. # วิตามินที่ละลายในน้า (ต่อ) วิตามินบี 6 การขาดวิตามินบี 6 •จิตใจห่อเหี่ยว นอนไม่หลับ เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน •ผิวหนังอักเสบ มีไข้มาก เจ็บริมฝีปาก ลิ้นแดง •ชาตามปลายประสาท •ในทารก – โตช้า โลหิตจาง อาหารที่ให้วิตามินบี 6 •เนื้อสัตว์ ตับ ไต เมล็ดธัญพืช ถั่วเหลือง ถั่วลิสง ข้าวโพด หน้าที่ •เป็นโคเอนไซม์ในการเปลี่ยนแปลงกรดอะมิโน •กาจัด CO2 ออกจากกรดอะมิโน •เปลี่ยนกรดอะมิโนจากสารหนึ่งไปสู่อีกสารหนึ่ง
  • 36. # วิตามินที่ละลายในน้า (ต่อ) วิตามินซี การขาดวิตามินซี •แผลหายยาก •เป็นโรคลักปิดลักเปิด •เหงือกบวม-อักเสบ เลือดออก โลหิตจาง อาหารที่ให้วิตามินซี •ส้ม มะนาว สับปะรด ฝรั่ง มะขามป้อม มะเขือเทศ •ผักขม ผักตาลึง ผักคะน้า หน้าที่ •ช่วยในการผลิตคอลลาเจน และไฟเบอร์ สาหรับฟัน กระดูก การต่อกระดูกหัก การรักษา บาดแผล และแผลไฟไหม้
  • 37. # น้า (Water) ช่วยให้เกิดปฏิกิริยาเคมีต่างๆ ในร่างกาย ประกอบด้วยไฮโดรเจน และออกซิเจน ใน ร่างกายจะมีน้าประมาณ 70% ของน้าหนักตัว ร่างกายได้น้ามาจาก 3 แหล่ง น้าที่เราดื่มเข้าไป น้าที่มีอยู่ในอาหาร น้าที่ได้จากการเผาพลาญอาหาร ความต้องการน้าใน 1 วัน ใน 1 วัน ร่างกายต้องการน้า 50 ซีซี ต่อน้าหนักตัว 1 กิโลกรัม (ประมาณ 6-8 แก้ว)
  • 38. # น้า (Water) (ต่อ) หน้าที่ของน้า เป็นส่วนประกอบของเซลล์ ทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมีต่างๆในร่างกาย นาอาหารและออกซิเจนไปสู่เซลล์ และนาของเสียออกนอกร่างกาย ช่วยหล่อลื่นอวัยวะที่มีการเคลื่อนที่ ไม่ให้เสียดสี ช่วยควบคุมความร้อนของร่างกายให้เป็นปกติ การสูญเสียน้าในร่างกาย ทางเดินอาหาร อุจจาระ ทางไต ปัสสาวะ ทางปอด การหายใจออก ทางผิวหนัง เหงื่อ
  • 39. # น้า (Water) (ต่อ) ลักษณะของคนขาดน้า กระหายน้า ปากแห้ง คอแห้ง น้าหนักตัวลด ผิวหนังเหี่ยวย่น อ่อนเพลีย เกิดตะคริว ไข้ขึ้น มีปัสสาวะน้อยลง มีสีเข้ม ลักษณะของคนได้รับน้ามากเกินไป เกิดอาการบวม กระสับกระส่าย ปวดศีรษะ ซึม และหมดสติ
  • 40. #
  • 41. #
  • 42. #
  • 44. # การย่อยและการดูดซึมอาหาร •การย่อยอาหาร (Digestion) หมายถึงการแปรสภาพของ สารอาหารที่มีโมเลกุลใหญ่และละลายน้าไม่ได้ ให้เป็น สารอาหารที่มีโมเลกุลเล็กลงจนสามารถละลายน้า และดูดซึม เข้าสู่กระแสเลือดน้าไปใช้ประโยชน์ได้ โดยอาศัยกระบวนการ ทางเชิงกลและกระบวนการทางเคมี •ระบบย่อยอาหารประกอบด้วยอวัยวะหลาย ๆ อวัยวะ ได้แก่ ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ตับ ตับอ่อน ล้าไส้เล็ก ล้าไส้ใหญ่ ซึ่งอวัยวะบางอวัยวะไม่มีการย่อยแต่เกี่ยวข้องกับ ทางเดินอาหาร
  • 45. # 1. การย่อยเชิงกล เป็นการแปรสภาพอาหารโมเลกุลใหญ่ให้มี ขนาดเล็กลงด้วยการบดเคี ยวด้วยฟัน หรือการบีบตัวของทางเดิน อาหาร 2. การย่อยเชิงเคมี เป็นการแปรสภาพอาหารโมเลกุลใหญ่ให้มี ขนาดเล็กลงโดยใช้เอนไซม์ การย่อยมี 2 ลักษณะคือ http://www.med.cmu.ac.th/dept/vascular/human/lesson/lesson1.php
  • 46. # 1. ตับ มีหน้ามี่สร้างน้าดีส่งไปเก็บที่ถุงน้าดี 2. ตับอ่อน มีหน้าที่สร้างเอนไซม์ส่งไปย่อยอาหารที่ล้าไส้เล็ก เอนไซม์ (Enzyme) - เป็นสารประกอบประเภทโปรตีนที่ร่างกายสร้างขึ นเพื่อท้า หน้าที่เร่งอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีในร่างกาย - เอนไซม์ที่ใช้ในการย่อยสารอาหารเรียกว่า “ น้าย่อย ” อวัยวะที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการย่อยอาหาร http://www.med.cmu.ac.th/dept/vascular/human/lesson/lesson1.php
  • 47. # การย่อย และการดูดซึมสาร ปาก (Mouth cavity) กระเพาะอาหาร (Stomach) ลาไส้เล็ก (Small intestine) ปาก คอหอย หลอดอาหาร กระเพาะ ลาไส้เล็ก ลาไส้ใหญ่ ทวารหนัก
  • 48. # ปาก (mouth) มีการย่อยเชิงกล โดยการบดเคี ยวของฟัน และมีการย่อยโดย เอนไซม์อะไมเลส ซึ่งท้างานได้ดีในสภาพที่เป็นเบสเล็กน้อย กระเพาะอาหาร (stomach) - ในกระเพาะอาหารมีการย่อยเชิงกลโดยการบีบตัวของกล้ามเนื อทางเดินอาหาร - เอนไซม์เพปซิน (pepsin) จะท้างานได้ดีในสภาพที่เป็นกรด เอนไซม์เพปซินจะย่อย โปรตีนให้เป็นโพลีเพปไทด์สายที่สั นลง - เอนไซม์เรนนิน' ท้าหน้าที่ย่อยโปรตีนในน้านม สรุป การย่อยที่กระเพาะอาหารจะมีการย่อยโปรตีนเพียงอย่างเดียวเท่านั น http://www.maceducation.com/e-knowledge/2372201110/07.htm
  • 49. # ลาไส้เล็ก (small intestine) เป็นบริเวณที่มีการย่อยและการดูดซึมมากที่สุด เอนไซม์ในล้าไส้เล็กจะท้างานได้ดีในสภาพที่เป็นเบส เอนไซม์ที่ล้าไส้เล็กสร้างขึ น ได้แก่ - มอลเทส (maltase) ย่อยน้าตาลมอลโทสให้เป็นกลูโคส 2 โมเลกุล - ซูเครส (sucrase) ย่อยน้าตาลทรายหรือน้าตาลซูโครส (sucrose) ให้เป็นกลูโคสกับฟรักโทส (fructose) - แล็กเทส (lactase) ย่อยน้าตาลแล็กโทส (lactose) ให้เป็นกลูโคสกับกาแล็กโทส (galactose) การย่อยอาหารที่ล้าไส้เล็กใช้เอนไซม์จากตับอ่อน (pancreas) มาช่วยย่อย เช่น - ทริปซิน (trypsin) ย่อยโปรตีนหรือเพปไทด์ให้เป็นกรดอะมิโน - อะไมเลส (amylase) ย่อยแป้งให้เป็นน้าตาลมอลโทส - ไลเปส (lipase) ย่อยไขมันให้เป็นกรดไขมันและกลีเซอรอล
  • 50. # Villi ผนังภายในของล้าไส้เล็กบุด้วย เซลล์บุผิวชั นเดียวที่พับไปมาเพื่อ เพิ่มพื นที่ผิวเรียกว่า villi
  • 51. # การย่อยคาร์โบไฮเดรต ปาก amylase คาร์โบไฮเดรต (แป้ง) Disaccharide ย่อยครั้งแรก ย่อยครั้งที่สอง ลาไส้เล็ก maltase, lactase, sucrase Disaccharide Monosaccharide Villi active transport
  • 52. # การย่อยโปรตีน กระเพาะอาหาร HCl, Pepsin โปรตีน Polypeptide (short) ย่อยครั้งแรก ย่อยครั้งที่สอง ลาไส้เล็ก trypsin, chymotrypsin Polypeptide Peptide, Amino acid carboxypeptidase aminopeptidase, dipeptidase Amino acid Peptide, Amino acid Villi active transport
  • 53. # การย่อยไขมัน ลาไส้เล็ก Lipid หยดไขมัน (Emulsified) เกลือน้าดี (bile salts) Chylomicron Fatty acid Fatty acid + Glycerol lipase Cholesterol Phospholipid ชั้นเยื่อเมือก mucosa เส้นน้าเหลืองใหญ่ (central lacteal) เส้นเลือด Chylomicron เป็น Lipoprotein ชนิดหนึ่ง ทาหน้าที่ขนส่งไขมันไปยังส่วนต่างๆ
  • 54. # แร่ธาตุ และ น้า แร่ธาตุ active transport Na+ ลาไส้เล็ก parathormone Ca++ ลาไส้เล็ก น้า osmosis น้า ลาไส้เล็ก
  • 57. # อาหารสาหรับหญิงมีครรภ์ ต้องการเพิ่มขึ้นประมาณ 30-50% เพื่อการเจริญเติบโตของทารก โปรตีนจากสัตว์ เช่น เนื้อ ปลา นม ไข่ โปรตีนจากพืช เช่น ถั่วต่างๆ ธัญพืช 1. จานวนอาหารที่ให้พลังงาน สารอาหารประเภทโปรตีน ควรเพิ่มอย่างสม่าเสมอ (350-300 กรัม/สัปดาห์) ถ้าน้าหนักตัวเพิ่มมากเกินไป ควรลดอาหารพวกแป้งและน้าตาล สารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต ทารกในครรภ์ได้รับอาหารจากแม่ เพื่อสร้างอวัยวะและเจริญเติบโต การเพิ่มอาหาร ควรได้รับเพิ่มในครึ่งหลังของการตั้งครรภ์ เพราะเป็นระยะที่ทารกเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว
  • 58. # อาหารสาหรับหญิงมีครรภ์ เป็นส่วนสาคัญในการสร้างกระดูกและ ฟันของทารก แคลเซียม ควรเพิ่มถึง 80% ถ้าแม่ได้รับแคลเซียมน้อย จะมีอาการ ฟันโยก ผุ และหลุด ขณะมีครรภ์ 2. แร่ธาตุ แคลเซียมและฟอสฟอรัส
  • 59. # อาหารสาหรับหญิงมีครรภ์ เป็นแร่ธาตุที่มักขาดในหญิงมีครรภ์ ทารกต้องการเหล็กในการสร้างเม็ดเลือด และกล้ามเนื้อ ระยะ 3 เดือนก่อนคลอด แม่ต้องมีธาตุ เหล็กสูง •แม่ต้องการธาตุเหล็กประมาณ 1000 มิลลิกรัม ตลอดการตั้งครรภ์ (6 มก./วัน) •ป้องกันการสูญเสียไปกับเลือดระหว่าง คลอด ธาตุเหล็ก 2. แร่ธาตุ (ต่อ) โลหิตจาง
  • 60. # อาหารสาหรับหญิงมีครรภ์ ถ้าแม่รับไม่เพียงพอ จะมีผลทาให้ทารกมี พัฒนาการของสมอง และระบบประสาทที่ช้า กว่าปกติ หากขาดสารไอโอดีนในระดับรุนแรง อาจทาให้ แท้งหรือตายก่อนคลอด หรือเกิดความพิการ แต่กาเนิด •เด็กที่คลอดตัวเตี้ย แคระแกร็น สติปัญญา พัฒนาเชื่องช้า มีอยู่ในอาหารทะเล เกลือเสริมไอโอดีน และ น้ามันตับปลา ไอโอดีน 2. แร่ธาตุ (ต่อ)
  • 61. # อาหารสาหรับหญิงมีครรภ์ 3. วิตามิน วิตามินเอ ไทอามีน (B1) วิตามินซี วิตามินดี ไรโบฟลาวิน (B2) วิตามินอี ทารกตายในครรภ์ เกิดการแท้ง ช่วยระบบย่อยอาหาร และช่วยเผาผลาญสารอาหาร ช่วยในการเจริญเติบโตของกระดูกและฟัน ช่วยสร้างกระดูกและฟัน การเจริญเติบโตของร่างกายทารก ช่วยรักษาชีวิตทารกในครรภ์ วิตามินเค สร้างโพรทรอมบิน
  • 62. # อาหารสาหรับผู้สูงอายุ ควรลดพวกคาร์โบไฮเดรตและน้าตาล 1. จานวนอาหารที่ให้พลังงาน สารอาหารประเภทไขมัน ควรลดเพราะย่อยยาก ทาให้คลอเรสเตอรอลในเลือดสูง ควรเลือกรับประทานไขมันจากพืช สารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต สารอาหารประเภทโปรตีน จาเป็นต้องได้รับทุกวัน ประมาณ 1-12 กรัม/น้าหนักตัว 1 กิโลกรัม การขาดโปรตีน จะมีอาการบวม ผิวหนังเป็นผื่นคัน อ่อนเพลีย แผลหายช้า
  • 63. # อาหารสาหรับผู้สูงอายุ ถ้าได้รับ Ca ไม่เพียงพอ ร่างกายจะดึงแคลเซียมจากกระดูก ควรได้รับอย่างน้อยวันละ 800 มิลลิกรัม แคลเซียม 2. แร่ธาตุ ถ้าขาด มักทาให้เกิดโรคโลหิตจางในผู้สูงอายุ ควรรับประทานพวกตับ เนื้อสัตว์ ไข่ ธาตุเหล็ก ควรดื่มน้าวันละ 5-8 แก้ว เพื่อช่วยในการย่อยและการขับถ่าย 3. วิตามิน 4. น้า ทาให้ร่างกายทางานตามปกติ และเพิ่มความต้านทานโรค
  • 64. # อาหารสาหรับผู้สูงอายุ การจัดอาหารเมื่อคิดตามอาหารหลัก 5 หมู่ พวกเนื้อสัตว์ ไข่ ถั่ว นม ประกอบด้วยโปรตีน แร่ธาตุ และวิตามิน หลายชนิด ควรมีการดัดแปลงให้เหมาะสมกับสภาพฟัน หมู่ที่ 1 โปรตีน ข้าว น้าตาล เผือก มัน ควรลดพวกน้าตาล ส่วนข้าวและเผือกไม่ควรลด หมู่ที่ 2 คาร์โบไฮเดรต ผักใบเขียว และผักอื่นๆ มีวิตามินและแร่ธาตุมาก มีกากใย ช่วยในการขับถ่าย หมู่ที่ 3 วิตามิน
  • 65. # อาหารสาหรับผู้สูงอายุ การจัดอาหารเมื่อคิดตามอาหารหลัก 5 หมู่ (ต่อ) ผลไม้ต่างๆ มีวิตามินและแร่ธาตุ ควรเลือกที่เนื้อนิ่ม หรือใช้การคั้นน้า หมู่ที่ 4 แร่ธาตุ ไขมันจากสัตว์และพืช ควรลดลง เพราะไขมันย่อยยาก ควรเลือกไขมันที่มาจากพืช หมู่ที่ 5 ไขมัน
  • 66. # อาหารสาหรับผู้สูงอายุ การดัดแปลงอาหารสาหรับผู้ที่มีอายุ 61 ปีขึ้นไป ลดอาหารแป้งและไขมันลงมากกว่าเดิม อาหารโปรตีนคงเดิม แต่ควรสับหรือต้มเปื่อย ควรทานอาหารร้อนๆ ถ้ามีน้าแกงหรือซุปร้อนๆก่อนอาหาร จะช่วยกระตุ้น น้าย่อย ลดปริมาณอาหารแต่ละมื้อลง แต่ทานบ่อยขึ้น อาหารมื้อเย็น ควรเป็นอาหารเบาและดื่มเครื่องดื่มร้อนๆก่อนนอน การเดินออกกาลังกายก่อนอาหาร จะช่วยเพิ่มความอยากอาหาร
  • 67. # อาหารสาหรับเด็กก่อนวัยเรียน เด็กก่อนวัยเรียน ได้แก่ เด็กอายุ 1-5 ปี เด็กวัยนี้กาลังเจริญเติบโตและมีการพัฒนาทั่ว ร่างกาย โดยเฉพาะทางสมอง หากไม่ได้รับอาหารที่ถูกต้อง การเจริญเติบโตทางด้าน ร่างกายจะช้าลง และพัฒนาการทางด้านสมองจะชะงัก อาหารต่อพัฒนาการของเด็กก่อนวัยเรียน ด้านการควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกาย ด้านสมอง ด้านอารมณ์และจิตใจ
  • 68. # อาหารสาหรับเด็กก่อนวัยเรียน ใน 1 วัน ต้องการ 2-3 กรัม/น้าหนักตัว 1 กิโลกรัม สารอาหารที่เด็กก่อนวัยเรียนต้องการ 2. พลังงาน อายุ 1-3 ขวบ : 1,200 แคลอรี อายุ 4-6 ขวบ : 1,550 แคลอรี 1. โปรตีน ใน 1 วัน ควรได้รับธาตุเหล็ก 6 มิลลิกรัม ตับ ไข่แดง เนื้อสัตว์ ผักใบเขียว 3. เหล็ก ใน 1 วัน ควรได้รับแคลเซียม 0.5 มิลลิกรัม นม ผักใบเขียว ปลาที่กินทั้งกระดูก 4. แคลเซียม
  • 69. # อาหารสาหรับเด็กก่อนวัยเรียน สารอาหารที่เด็กก่อนวัยเรียนต้องการ 5. วิตามินซี ใน 1 วัน ควรได้รับวิตามินซี 20 มิลลิกรัม น้าส้มคั้น น้าสับปะรด ควรให้อาหารเสริมที่มีวิตามินดีแก่เด็ก น้ามันตับปลา 6. วิตามินดี
  • 70. # อาหารสาหรับเด็กวัยเรียน กาลังมีการเจริญเติบโต จึงต้องการอาหาร ประเภทสร้างเสริมมาก มีกิจกรรมมาก จึงต้องการอาหารประเภทให้ พลังงาน ถ้าขาดสารอาหาร จะแสดงออกให้เห็นชัดกว่า ผู้ใหญ่ ลักษณะของเด็กวัยเรียน เด็กวัยเรียน หมายถึง เด็กที่มีอายุตั้งแต่ 6 ปี ขึ้นไปจนถึง 16 ปี เด็กวัยเรียนเป็นวัยที่ กาลังเจริญเติบโต มีความต้องการสารอาหารปริมาณมาก เพื่อสร้างเนื้อเยื่อ กระดูก ฟัน และอวัยวะส่วนอื่นๆ
  • 71. # อาหารสาหรับเด็กวัยเรียน อายุ 9-15 ปี ความต้องการพลังงานของเด็กชายมากกว่าเด็กหญิง สารอาหารที่เด็กวัยเรียนต้องการเพิ่มมากกว่าปกติ 1. พลังงาน ควรบริโภคโปรตีนวันละ 1.5-2.0 กรัม/น้าหนักตัว 1 กิโลกรัม 2. โปรตีน เมื่ออายุ 10 ปีขึ้นไป จะต้องการแคลเซียมมากขึ้น เพื่อให้กระดูกได้สัดส่วนและแข็งแรง 3. แคลเซียม เด็กผู้หญิงในระยะเริ่มมีประจาเดือน ต้องบริโภคอาหารที่มีธาตุเหล็กมากกว่าเด็กผู้ชาย 4. เหล็ก
  • 73. # ปัญหาโภชนาการ ปัญหาโภชนาการกับประชากรที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงต่อการขาดสารอาหาร มีความต้องการสารอาหารมากกว่าคนปกติ การงดรับประทานอาหารบางอย่างหลังคลอด ทาให้สารอาหารไม่เพียงพอต่อความ ต้องการ เช่น แคลเซียม 1. หญิงมีครรภ์และแม่ลูกอ่อน ลูกจะได้รับอาหารจากน้านมแม่เป็นหลัก ทารกจะมีการเจริญเติบโตเป็นปกติจนถึงอายุ 6 เดือน จากนั้นน้าหนักตัวจะไม่ เพิ่มเท่าที่ควร 2. ทารก : เด็กตั้งแต่แรกเกิดถึงอายุ 1 ปี
  • 74. # ปัญหาโภชนาการ ปัญหาโภชนาการกับประชากรที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงต่อการขาดสารอาหาร (ต่อ) ร่างกายมีการพัฒนาทั้งด้านร่างกาย และสมองอย่างรวดเร็ว โรคขาดสารอาหารที่พบมาก ได้แก่ โรคขาดโปรตีน 3. เด็กก่อนวัยเรียน มีการเจริญเติบโตอย่างสม่าเสมอ และมีพัฒนาทางด้านความสูง โดยเฉพาะช่วง อายุก่อนเข้าสู่วัยรุ่น สารอาหารที่ขาดมาก ได้แก่ วิตามินบี 1 วิตามินบี 2 และไอโอดีน 4. เด็กวัยเรียน
  • 75. # ปัญหาโภชนาการ ปัญหาโภชนาการกับท้องถิ่นภูมิประเทศ ได้รับการปลูกฝังในเรื่องอาหารมาตั้งแต่เด็ก รวมถึงอิทธิพลของสิ่งแวดล้อม บางท้องถิ่นอาจมีความเชื่อที่ผิดๆเกี่ยวกับการกิน 1. ประเพณีและวัฒนธรรมของท้องถิ่น มีผลต่อความอุดมสมบูรณ์ของอาหารแต่ละท้องถิ่น โรคสารอาหารที่มีสาเหตุจากภูมิประเทศ เช่น โรคคอพอก 2. ภูมิประเทศ ชนิดของอาหารที่มีในท้องถิ่น การขาดการคมนาคมขนส่ง 3. แบบอย่างการกินอาหาร
  • 76. # ปัญหาโภชนาการ ปัญหาโภชนาการที่มีการแปรผันตามฤดูกาล อาหารแต่ละชนิดจะมีมากน้อยขึ้นอยู่กับฤดูกาล ฤดูฝนมักมีอาหารอุดมสมบูรณ์กว่าฤดูแล้ง
  • 77. # ปัญหาโภชนาการ ปัญหาโภชนาการที่มีผลจากการมีบุตรในครอบครัว จานวนบุตรมีผลต่อปริมาณ และ คุณภาพของอาหาร เช่น โรคโลหิตจางมักพบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย ปัญหาโภชนาการที่มีความเกี่ยวข้องกับเพศ
  • 78. # แผนการส่งเสริมสุขภาพทางโภชนาการ 1. Evaluation of sources of information โรคขาดสารอาหารของประชาชนส่วนใหญ่ ได้แก่ Riboflavin deficiency, Protein deficiency, Vitamin A deficiency สารอาหารที่เด็กส่วนใหญ่ขาด ได้แก่ Riboflavin, Vitamin A, Protein ได้แก่ การสารวจสุขภาพด้านโภชนาการในเด็กหรือประชาชนทั่วไป เพื่อนาข้อมูลที่ได้ ไปใช้ในการปรับปรุงปัญหาทางด้านโภชนาการ ปลา เนื้อสัตว์ ถั่วมล็ดต่างๆ ผักสีเขียว ผลไม้
  • 79. # แผนการส่งเสริมสุขภาพทางโภชนาการ 2. Training of Personal เป็นการจัดอบรมและให้ความรู้ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการแก่บุคลากรที่มีอยู่แล้ว เพื่อให้การดาเนินงานตามแผนส่งเสริมสุขภาพทางโภชนาการมีประสิทธิภาพ
  • 80. # แผนการส่งเสริมสุขภาพทางโภชนาการ 3. Improve Nutrition Knowledge ให้การศึกษาทางด้านโภชนาการ •แทรกความรู้เกี่ยวกับการโภชนาการเข้าในหลักสูตรของโรงเรียน •ให้ความรู้แก่ประชาชนโดยตรง การใช้สื่อต่างๆ ในการเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับโภชนาการให้แก่ชุมชน •การแจกจ่ายโปสเตอร์ หรือใบปลิว •การโฆษณา ทางหนังสือพิมพ์ วิทยุ และโทรทัศน์ การสาธิตเกี่ยวกับการจัดเตรียมและประกอบอาหาร รวมถึงการเก็บรักษา การจัดเจ้าหน้าที่ออกปฏิบัติงานตามชุมชนต่างๆ
  • 81. #
  • 82. #
  • 83. #
  • 84. # แผนการส่งเสริมสุขภาพทางโภชนาการ 4. Improve Food Distribution ปรับปรุงการคมนาคมขนส่งระหว่างชุมชนต่างๆ ปรับปรุงตลาด และส่งเสริมให้มีร้านค้าที่หลากหลายในชุมชน ร้านค้าชุมชนที่ได้รับการส่งเสริมจากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ตั้งแต่ปี 2530 มีจานวน 456 ร้านค้า
  • 85. # แผนการส่งเสริมสุขภาพทางโภชนาการ 5. Supplementary Feeding Program การจัดเลี้ยงอาหารกลางวันในโรงเรียนอย่างสม่าเสมอ โดยอาจเป็นมื้ออาหาร หลัก หรืออาหารว่าง
  • 86. # แผนการส่งเสริมสุขภาพทางโภชนาการ 6. Improve Food and Crops Storage การปรับปรุงสถานที่เก็บอาหารและผลผลิตต่างๆ จะช่วยลดความเสียหายแก่ อาหารและพืชผลที่จะเก็บไว้บริโภคได้ การกาจัดหนู การกาจัดแมลง การควบคุมเชื้อรา การกาจัดนก
  • 87. # กิจกรรมกลุ่ม ให้นักศึกษาคิดเมนูอาหารใน 1 วัน สาหรับบุคคลต่างๆ ต่อไปนี้ •อาหารสาหรับหญิงวัยหมดประจาเดือน (วัยทอง) •อาหารสาหรับผู้ป่วยโรคมะเร็ง •อาหารสาหรับคนชรา •อาหารสาหรับผู้ป่วยไขมันในเลือดสูง
  • 88. #
  • 89. #
  • 90. # •เนื่องจากไขมันไม่ละลายในน้า ดังนั้นจะต้องรวมตัวกับโปรตีนเป็น ไลโปโปรตีน (Lipoprotein) ซึ่งจะทาหน้าที่ขนส่งไขมันให้ เคลื่อนไปในกระแสเลือดและอวัยวะต่างๆในร่างกาย •ไคโลไมครอน (Chylomicron) เป็นไขมันที่พบในเลือด หลังจากที่ รับประทานอาหารที่มีไขมันมาก ประกอบด้วย ไตรกลี เซอไรด์ ร้อยละ 84 ปกติจะไม่พบ ไคโลไมครอน ในเลือดหลัง จา กอดอาหารเป็นเวลา 12 ชั่วโมง ไคโลไมครอนถูกสร้างที่เยื่อบุ ลาไส้เล็ก ทาหน้าที่ขนส่งไตรกลีเซอไรด์ที่ได้จากอาหาร นาไป สะสมไว้ในเนื้อเยื่อไขมัน http://medinfo2.psu.ac.th/pathology/Education/Ch/Page1.html
  • 91. # •ชนิดของไลโปโปรตีน ไลโปโปรตีนที่ทาหน้าที่ขนส่งไขมันชนิดต่างๆ จะมีลักษณะพิเศษกล่าวคือ แกนกลางของไลโปโปรตีน จะเป็นไขมันชนิดที่ไม่มีขั้ว( nonpolar lipid) เช่น ไตรกลีเซอไรด์ โคเลสเตอรอลเอสเตอร์ เป็นต้น และล้อมรอบด้วยไขมันชนิดที่สามารถละลายน้าได้บางส่วน (amphipatic lipid) เช่น ฟอสโฟลิปิด โคเลสเตอรอล เป็นต้น และมีโปรตีนบางชนิดที่เรียกว่า อะโปโปรตีน (apoprotein) แทรกอยู่ในชั้นของไขมันเหล่านี้โดยทาหน้าที่เป็นตัวรับ-ส่งสัญญาน (recepter) ไลโปโปรตีนจะแบ่งเป็นกลุ่มต่างๆ ตามระดับชั้นเมื่อนาไปปั่นเหวี่ยงด้วยเครื่องปั่นเหวี่ยงกาลังสูง (Ultracentrifuge) โดยจะ แบ่งเป็น 4 กลุ่มดังนี้ 1 ไคโลไมครอน (Chylomicrons) ทาหน้าที่หลักในการขนส่ง ไตรกลีเซอร์ไรด์ จากลาไส้ เล็ก ไปยังตับ 2 วีแอลดีแอล (Very low density lipoprotein, VLDV) ทาหน้าที่ขนส่งไตร กลีเซอร์ไรด์ จากตับ ไปยังเนื้อเยื่อต่างๆ 3 แอลดีแอล (Low density lipoprotein, LDL) ประกอบด้วยโคเลสเตอรอล เป็น องค์ประกอบหลัก
  • 92. # •1.โปรตีน เนื้อสัตว์ ไข่ นม ถั่ว โปรตีน •2.คาร์โบไฮเดรต ข้าว แป้ง น้าตาล เผือก มัน •3.เกลือแร่หรือแร่ธาตุ เป็นสารอาหารอีกประเภทหนึ่งที่ร่างกายต้องการและขาดไม่ได้เพราะแร่ธาตุบาง ชนิด เป็นส่วนประกอบของอวัยวะและกล้ามเนื้อบางอย่าง เช่น กระดูก ฟัน เลือด •.วิตามิน เป็นสารอาหารที่ร่างกายของเราต้องการในปริมาณน้อย แต่ก็ไม่สามารถขาดได้ ถ้าขาดจะทาให้ ระบบร่างกายของเราผิดปกติ หรือเกิดโรคต่างๆได้ วิตามินแบ่งออกเป็น 2 พวก ได้แก่ - วิตามินที่ละลายในน้า ได้แก่ วิตามินซี และวิตามินบีรวม - วิตามินที่ละลายในไขมัน ได้แก่ วิตามิน เอ ดี อี เค •5.ไขมัน ที่ให้พลังงานที่มีส่วนประกอบหลักคือที่ไตรกลีเซอไรด์ (triglyceride) ไขมัน 1 กรัมให้ พลังงาน 9แคลอรี •http://www.thaifoodworld.com/อาหารหลัก5หมู่/
  • 93. #
  • 94. # •lbumin •คือโปรตีนที่พบในกระแสเลือด (blood plasma) หรือเรียกว่า Serum Albumin โดยอัลบูมินถูกผลิตจากตับ ซึ่งอัลบูมินนั้นถือเป็นโปรตีนที่เป็น ส่วนประกอบหลักในกระแสเลือดของมนุษย์คือคิดเป็น 50-60% ของโปรตีนที่อยู่ใน กระแสเลือด ในกระแสเลือดพบโปรตีนอยู่ 3 ชนิด คือ อัลบูมิน(Albumin), Globulin และ Fibrinogen •อัลบูมิน(Albumin) จะทาหน้าที่หลักในการจับ น้า ฮอร์โมน วิตามิน ไขมัน สารอาหารต่างๆ ที่มีประโชน์ และนาพาสารต่างๆที่จาเป็นต่อร่างกาย โดยถูกนาพาไปกับ กระแสเลือดเพื่อนาสารต่างๆ เหล่านั้นไปใช้ประโยชน์ในส่วนต่างๆ ของร่างกาย http://www.livewellnutritions.com/index.php/2013- 04-24-19-12-59 http://www.citycollegiate.com/biochemistry4.htm