SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  55
การพัฒนาและติดตั้งระบบ
(System Implementation)
การพัฒนาและการติดตั้งระบบ
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ
อธิบายการพัฒนาและติดตั้ง
ระบบ
2. เพื่อให้เรียนเข้าใจการทดสอบ
โปรแกรมในรูปแบบต่างๆ
3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถบอกวิธี
การเตรียมความพร้อมให้กับผู้ใช้
ระบบโดยการอบรม
4. เพื่อให้ผู้เรียนบอกวิธีการให้
บริการหลังจากติดตั้งระบบ
Project Identification
and Selection
Project Initiation
and Planning
Analysis
Logical Design
Implementation
Maintenance
Physical Design
1. การเขียนโปรแกรม
(Coding)
2. การทดสอบ
โปรแกรม(Testing)
3. การติดตั้งระบบ
(Installation)
4. การจัดทำา
เอกสาร(Documentati
on)
5. การฝึกอบรม
(Training)
6. การบริหารให้ความ
ช่วยเหลือหลังการติด
ตั้ง (Support)
ขั้นตอนในกระบวนการออกแบบระบบ
(Step in the system design process)
• คุณลักษณะของหน่วยแสดงผล (Output specification)
:: เนื้อหา, รูปร่าง, ปริมาณ, ทันเวลา, สื่อ, รูปและขนาด
• คุณลักษณะของหน่วยนำาเข้าข้อมูล (Input specification)
:: เนื้อหา, ทันเวลา, สื่อ, รูปขนาด, ปริมาณ
• คุณลักษณะของหน่วยประมวลผล (Processing
specification)
:: การคำานวณ, ประยุกต์ใช้, โปรแกรมระบบ, อุปกรณ์ใน
การคำานวณ
• คุณลักษณะส่วนจัดเก็บข้อมูล (Storage specification)
:: การเข้าถึง, การจัดการข้อมูล, ปริมาณ, สื่อ
• คุณลักษณะกระวบนการปฏิบัติ (Procedure
specification)
Logical Design
• จะออกแบบว่าระบบจะทำาอะไร อย่างไร
• ส่วนการออกแบบข้อกำาหนด Logical
Design จะเป็นแบบนามธรรม ยก
ตัวอย่างเช่น การออกแบบการสื่อสารใน
Logical Design จะเป็นการเรียกสัญญาณ
WAN เข้ามาในองค์กร
Physical design
• ระบบ จะดำาเนินการตามที่ออกแบบไว้ได้
อย่างไร
• ข้อกำาหนดของการออกแบบด้าน Physical
design จะรวมถึงการ ออกแบบการใช้
ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล การ
สื่อสารและขั้นตอนกระบวนการต่างๆ
• ยกตัวอย่างเช่น การออกแบบการสื่อสาร
ใน Physical design จะเป็นการ
ออกแบบที่ระบุลงไปว่าใช้ ฮาร์ดแวร์
ซอฟต์แวร์ ใด มี bandwidth เท่าไร
การทำาตัวต้นแบบ(Prototyping)
• คือ ระบบการทำางาน ที่ไม่ใช่เพียงแค่ความ
คิดที่อยู่บนกระดาษ แต่เป็นความคิดที่ถูก
พัฒนาภายใต้สมมติฐานของระบบใหม่
อาจเทียบกับระบบที่มีคอมพิวเตอร์เป็นพื้น
ฐาน ประกอบด้วยโปรแกรมการทำางานที่
รับข้อมูลเข้า มีกระบวนการคำานวณ การ
พิมพ์และการแสดงผลลัพธ์
ประเภทของต้นแบบ
1.ตัวต้นแบบชนิดปะติดปะต่อ
(Patched-Up Prototype)
เป็นตัวต้นแบบที่สร้างขึ้นทีละส่วนแล้วนำา
มาปะติดปะต่อกัน คล้ายการนำาขนมปังมา
ซ้อนชั้นกัน เช่น การสร้างวงจรรวม
เป็นต้น ในลักษณะของระบบสารสนเทศ
คือ ระบบที่มีคุณสมบัติที่จำาเป็นในการ
ทำางานทั้งหมด แต่ยังไม่มีประสิทธิภาพ
เท่าไรนัก ทำาให้ผู้ใช้สามารถเห็นภาพรวม
ทั้งระบบว่าสามารถทำาอะไรได้บ้าง แต่ยัง
ไม่สามารถ นำาแต่ละส่วนมาใช้งานได้จริง
ประเภทของต้นแบบ
2.ตัวต้นแบบที่ไม่สามารถปฏิบัติงานได้
จริง (Nonoperational Prototype)
เป็นตัวต้นแบบที่สร้างขึ้นเพื่อทดสอบผลก
ระทบบางอย่าง เช่น การสร้างตัวต้นแบบ
รถยนต์เพื่อทดสอบแรงลมในอุโมงค์ ซึ่งใช้
รถที่มีรูปแบบและอุปกรณ์ที่สามารถ
ทดสอบได้ แต่ไม่สามารถปฏิบัติงานได้
การสร้างตัวต้นแบบนี้จะทำาการเขียนรหัส
โปรแกรมให้ผู้ใช้เห็นเพียงส่วนของอินพุท
และเอาต์พุทเท่านั้น อาจจะยังไม่มีส่วนของ
การประมวลผล นั่นคือ จะไม่มีส่วนของ
PROCESS
ประเภทของต้นแบบ
3.ตัวต้นแบบที่ใช้ได้เพียงส่วนเดียว
(First-Of-A-Series Prototype)
เป็นตัวต้นแบบที่เป็นเหมือนตัวต้นแบบ
นำาร่องให้ผู้ใช้ได้ใช้ในส่วนหนึ่งให้เห็น
ถึงผลกระทบต่างๆ ก่อนที่จะใช้ระบบ
จริงเต็มรูปแบบเพื่อให้มีผลกระทบน้อย
ที่สุด ตัวอย่าง ในบริษัทหนึ่งมีหลาย
เครือข่ายได้จัดระบบคอมพิวเตอร์ขึ้น
เพื่อใช้ในการเช็คสินค้าที่สั่งซื้อ เขาจะ
ใช้ตัวต้นแบบเพื่อ ทดสอบก่อนใช้งาน
จริงในทุกบริษัทเครือข่าย โดยทดลอง
ใช้เพียงบริษัทหนึ่งก่อน เป็นต้น หรือ
ประเภทของต้นแบบ
4.ตัวต้นแบบที่เลือกบางส่วน
(Select Features Prototype)
เป็นตัวต้นแบบที่ใช้ 3 แบบแรกมา
รวมกัน ในการเลือกใช้รูปแบบ
โดยอาจสร้างต้นแบบในการปฏิบัติ
งานบางส่วนแต่ไม่ใช่ทั้งหมด ซึ่ง
จะเป็นการช่วยให้สร้างระบบใน
ส่วนที่ซับซ้อนง่ายขึ้น
special tools
การที่จะทำาโพรโตไทป์ให้เร็วที่สุด นักวิเคราะห์อาจจะใช้
เครื่องมือพิเศษ (special tools) เช่น
• CASE (Computer Adided System Engineering )
• ภาษายุคที่ 4 (Fourth Generation Languages/4GL)
• ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management
System/DBMS)
• ซอฟต์แวร์อื่น ๆ ที่ใช้ในการสร้างอินพุตและเอ้าท์พุต
• Application Generators เพื่อให้ผู้ใช้ระบบได้เห็น
ภาพจำาลองของระบบงานจริง
Implementation
การติดตั้งระบบ
• การติดตั้งแบบทันทีทันใด (Direct Installation)
• การติดตั้งแบบขนาน (Parallel Installation)
• การติดตั้งแบบนำาร่อง (Single Location
Installation/Pilot Installation)
• การติดตั้งแบบเป็นช่วงๆ (Phased Installation)
การติดตั้งแบบทันทีทันใด
Direct Installation
• ยกเลิกการใช้งานระบบเก่าและเริ่มใช้
ระบบงานใหม่ทันที
• เสียค่าใช้จ่ายน้อย มีความเสี่ยงสูง
• สามารถเลื่อนกำาหนดการใช้งานระบบใหม่
ออกไปได้หากองค์กรหรือผู้ใช้งานยังไม่มี
ความพร้อมสำาหรับระบบใหม่
การติดตั้งแบบทันทีทันใด (Direct
Installation) คือ การดำาเนินการยกเลิก
ระบบเก่ามาเป็นระบบใหม่ทันที โดยไม่
ใช้ระบบเดิมอีกดังรูปCurrent System
Install New
System
New System Time
การติดตั้งแบบทันทีทันใด
Direct Installation
การติดตั้งแบบทันทีทันใด (Direct Installation) มี
ข้อดี ข้อเสียดังนี้
ข้อดี
• ค่าใช้จ่ายในการปรับเปลี่ยนระบบตำ่า ผู้ปฏิบัติ
งานไม่ต้องทำางานซำ้าซ้อนกัน 2 ระบบ
• เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้
สามารถนำามาใช้จากระบบเดิม
ข้อเสีย
• ถ้าระบบใหม่ใช้งานไม่ได้ ไม่ถูกต้องตาม
ต้องการ การทำางานทั้งหมดจะเกิดความเสียหาย
อย่างมาก
• ในการดำาเนินการระบบใหม่ไม่สามารถตรวจ
สอบว่ามีข้อผิดพลาดใดบ้าง ดังนั้นอาจไม่
สามารถปรับแก้ให้ถูกต้องได้
การติดตั้งแบบทันทีทันใด
Direct Installation
การติดตั้งแบบขนาน
Parallel Installation
• ใช้งานระบบใหม่ไปพร้อมกับระบบเก่า
• สามารถเปรียบเทียบผลของการดำาเนินงาน
ระหว่างระบบใหม่กับระบบเก่าได้
• เสียค่าใช้จ่ายสูง
• ผู้ใช้อาจเกิดความสับสน
การติดตั้งแบบขนาน (Parallel
Installation) คือการดำาเนินการระบบ
เก่ากับระบบใหม่ขนานกันไป ดังรูป
Current System
Install New
System
New System Time
การติดตั้งแบบขนาน
Parallel Installation
การติดตั้งแบบขนาน (Parallel Installation) มีข้อดี
ข้อเสียดังนี้
ข้อดี
• เมื่อดำาเนินการระบบตามหลักการนี้ ทำาให้
สามารถปรับเปลี่ยนระบบใหม่ได้ง่าย และเห็นถึง
ผลกระทบต่างๆ ทำาให้แก้ไขได้ทันที
• ไม่มีผลกระทบต่างๆ กับระบบใหม่ กับการดำาเนิน
การเนื่องจากมีระบบเดิมรองรับอยู่
ข้อเสีย
• ค่าใช้จ่ายสูงกว่าหลักการอื่น เนื่องจากต้องมี
เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องมือ อุปกรณ์ รวมทั้ง
บุคลากร ทำางานควบคู่กันระหว่างระบบใหม่และ
การติดตั้งแบบขนาน
Parallel Installation
การติดตั้งแบบนำาร่อง
Single Location Installation/Pilot Installation
• ใช้ระบบงานใหม่เพียงหน่วยเดียวก่อน
แล้วจึงค่อยปรับเปลี่ยนทั้งหมดเมื่อทุกอย่าง
ลงตัว
• เสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่า 2 แบบแรก
• ความเสียหายจะถูกจำากัดอยู่ที่หน่วยๆ เดียว
• สามารถติดตามผลและดูแลระบบใหม่ได้
อย่างเต็มที่
การติดตั้งแบบนำาร่อง (Single Location
Installation/Pilot Installation) : เป็น
วิธีการที่มีการใช้ระบบงานใหม่เพียง
หน่วยเดียวขององค์กรก่อนเพื่อเป็นการ
นำาร่อง
Current System
Install New
System
New System
Time
Current System
Install New
System
New System
การติดตั้งแบบนำาร่อง
Single Location Installation/Pilot Installation
การติดตั้งแบบนำาร่อง (Single Location
Installation/Pilot Installation) มีข้อดี
ข้อเสียดังนี้
ข้อดี
• ค่าใช้จ่ายในการปรับเปลี่ยนน้อย
• วิธีการปรับเปลี่ยนให้ทำางานสมบูรณ์เป็นไป
ได้ง่าย
• ความเสี่ยงในการดำาเนินการมีเพียงส่วนที่
ได้นำาทดลองนำาร่อง
การติดตั้งแบบนำาร่อง
Single Location Installation/Pilot Installation
การติดตั้งแบบเป็นช่วงๆ
Phased Installation
• ใช้ระบบงานใหม่เพียงบางส่วนก่อนระยะ
หนึ่งควบคู่ไปกับระบบงานเก่า แล้วจึงค่อย
ทยอยใช้ระบบงานใหม่เพิ่มขึ้นทีละส่วนจน
กระทั่งครบทุกส่วนอย่างเต็มรูปแบบ
• จำากัดความเสี่ยงได้
• ไม่สอดคล้องกับการดำาเนินงานในระบบ
ใหม่และระบบเก่า
การติดตั้งแบบทยอยติดตั้งเป็นระยะ
(Phased Installation) :หรือเรียกว่า
Stage Installation : การดำาเนินการ
ปรับเปลี่ยนระบบแต่ละเฟส โดยแบ่ง
ระบบใหม่เป็นเฟสไป จนครบทั้งระบบ
ดังรูป
Current System
Install
Module 1
Current System
Without Module 1
New Module 1
New Module 2
Install
Module 2
Current System Without Module 1&2…
…
…
การติดตั้งแบบเป็นช่วงๆ
Phased Installation
การติดตั้งแบบทยอยติดตั้งเป็นระยะ (Phased
Installation) มีข้อดี ข้อเสียดังนี้
ข้อดี
• ทำาให้ระบบสมบูรณ์ได้ โดยมีผลกระทบตำ่า
• สามารถกำาจัดความเสี่ยงที่เกิดขึ้นได้
เนื่องจากการปรับเปลี่ยนเป็นช่วงระยะเวลา
และบางสถานที่ความเสี่ยงหรือข้อผิดพลาด
จึงเกิดขึ้นในช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงและ
สถานที่ที่ใช้ระบบงานใหม่เท่านั้น
ข้อเสีย
• ลักษณะของระบบงานนั้นต้องใช้เวลาใน
การติดตั้งแบบเป็นช่วงๆ
Phased Installation
การวางแผนการติดตั้งระบบ
• นักวิเคราะห์ควรมีความเข้าใจเกี่ยวกับการดำาเนิน
ธุรกิจเป็นอย่างดี
• ควรมีความระมัดระวังในการวางแผน
• อาจใช้ผสมผสานกันมากกว่า 2 วิธี ขึ้นอยู่กับ
ความเหมาะสม
• สิ่งที่สำาคัญของการวางแผนงานในการติดตั้ง
ระบบใหม่สำาหรับการดำาเนินธุรกิจ คือ ไม่ควร
วางแผนให้มีการติดตั้งระบบใหม่ในช่วงเวลาที่
ทำาเงินให้ธุรกิจได้ มากที่สุดของปี
การจัดทำาเอกสาร
• จัดทำาเพื่อแสดงรายละเอียดขั้นตอนการ
ทำางานและแสดงภาพรวมของระบบใหม่
• ใช้ในการอ้างอิงระหว่างระบบเก่าและใหม่
• แบ่งได้ 2 ประเภท คือ
– การจัดทำาเอกสารของระบบ (System
Documentation)
– การจัดทำาเอกสารของผู้ใช้ (User
documentation)
การจัดทำาเอกสารของระบบ
(System Documentation)
• เอกสารของระบบ คือ เอกสารที่แสดงขั้นตอน
การทำางานภายในของระบบ และรายละเอียด
ข้อมูลเฉพาะของการออกแบบระบบ
• สามารถจำาแนกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ
– เอกสารภายใน (Internal Documentation)
• แสดงรายละเอียดส่วนของ code ของโปรแกรม พร้อมคำา
อธิบาย และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
– เอกสารภายนอก (External Documentation)
• เป็นแผนภาพ แบบจำาลองต่างๆ
การจัดทำาเอกสารของผู้ใช้
(User documentation)
• คือ เอกสารที่จัดทำาขึ้นเพื่อแสดงขั้นตอน
การใช้งานระบบ และวิธีการใช้งาน
โปรแกรม
• รวมไปถึง คู่มือการใช้งาน (User’s
Guide) คู่มือสำาหรับนักบริหารระบบ
(System Administration’s Guide)
การฝึกอบรมพนักงาน (Training)
• จัดเป็นหลักสูตรฝึกอบรมเป็นกลุ่ม
• ฝึกอบรมด้วยคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
• ฝึกอบรมด้วยคอมพิวเตอร์ช่วยสอนพ้อมกับ
มีผู้เชี่ยวชาญแนะนำา
• ผู้ใช้ฝึกอบรมด้วยตัวเองจากส่วนช่วยเหลือ
ของโปรแกรม
• ฝึกอบรมโดยผู้จำาหน่ายโปรแกรมของ
ระบบ
• ฝึกอบรมผ่านทางอินเทอร์เน็ต
การสนับสนุนให้ความช่วยเหลือหลังติดตั้งระบบ (Support)
• คือ การจัดเตรียมความช่วยเหลือเพื่อการ
แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้ใช้หลังจากการ
ติดตั้งระบบใหม่
• แบ่งได้ 2 แบบ คือ
1. การให้ความช่วยเหลืออัตโนมัติ
(Automating Support)
 Online support Forum
 Bulletin Board
 Voice-response System
2. ศูนย์ให้ความช่วยเหลือ (Help Desk)
Maintenance
การดำาเนินงานและการบำารุงรักษา
(Operation and Maintenance)
• หลังจากการเปลี่ยนมาใช้ระบบใหม่ ระบบ
นั้นก็จะดำาเนินงานไปเป็นระยะเวลาหนึ่ง
ซึ่งดูเหมือนว่าระบบเก่าได้ถูกแทนที่แล้ว
จนการดำาเนินงานระบบใหม่เริ่มคงที่ ผู้
ตรวจสอบจะตรวจดูประสิทธิภาพการ
ทำางานของระบบและพิจารณาว่าระบบถูก
ใช้งานอย่างถูกต้อง
• ระบบจำาเป็นต้องได้รับการบำารุงรักษาใน
หลาย ๆ ด้าน ประการแรกคือ การแก้ไข
ข้อบกพร่องของโปรแกรม ซึ่งเป็นสิ่งที่
จำาเป็นต้องทำาอยู่ตลอดอายุการใช้งาน
การติดตามและประเมินผลภาย
หลังการติดตั้ง• การตรวจสอบด้านเทคนิค (technical audit)
เป็นการตรวจสอบเพื่อเปรียบเทียบภาวะที่ระบบงานได้ถูก
ใช้งานจริงกับสภาวะที่อยู่ในช่วงทดสอบ ว่ามีความแตก
ต่างกันอย่างไรหรือไม่ เพื่อให้มั่นใจว่าระบบยังคงปฏิบัติ
งานอย่างถูกต้อง
• การประเมินความคิดเห็นของผู้ใช้ระบบ
เมื่อระบบงานใหม่ถูกเริ่มนำามาใช้ผู้ใช้ระบบควรได้รับ
โอกาสที่จะประเมินผลมันว่าดีหรือเลวอย่างไร ไม่ว่าจะ
เป็นเอกสารคู่มือที่ทำาหรือการแสดงผลทางจอภาพทั้ง
อินพุตและเอาท์พุต ความง่ายต่อการใช้งานของระบบ
ความถูกต้องเชื่อถือได้ นักวิเคราะห์ระบบควรปล่อยให้ผู้
ใช้ระบบวิจารณ์อย่างเต็มที่เพื่อที่จะได้นำามาแก้ไข
ปรับปรุงต่อไป
• การประเมินความคิดเห็นอย่างเป็นทางการ
เมื่อตรวจสอบทางด้านเทคนิคและการประเมินความคิด
เห็นของผู้ใช้ระบบได้เสร็จสิ้นเรียบร้อยแล้ว ในตอนนี้นัก
แนะนำาขั้นตอนการพัฒนา
และติดตั้งระบบ
1. การพัฒนาระบบแบบเร่งด่วน (Rapid
Application Development :RAD)
1.1. การพัฒนาด้วยการสร้างตัวต้นแบบ
(Prototype Approach to
Development) มี 3 ขั้นตอน
- การวางแผน (Planning)
- วิเคราะห์ (Analysis)
- ออกแบบและพัฒนา (Design and
Implementation)
ดังรูป
Prototype Approach to
Development
การวางแผน
การวิเคราะห์
ขั้นตอนที่ 1 ออกแบบสถาปัตยกรรม
ขั้นตอนที่ 2 วิเคราะห์และออกแบบตัวตัน
แบบ
ขั้นตอนที่ 3 สร้างตัวต้นแบบ
ขั้นตอนที่ 4 ทดสอบและประเมินผลตัว
ต้นแบบ
ขั้นตอนที่ 5 ถ้าทบทวนแล้วย้อนทำาขั้น
แนะนำาขั้นตอนการพัฒนาและ
ติดตั้งระบบ
1.2. การพัฒนาด้วยวิธีการวนรอบ
(Spiral Approach to Development)
- วางแผนเพื่อทำาซำ้ารอบต่อไป (Plan
next Iteration)
- วิเคราะห์และออกแบบ (Analysis and
Design)
- ทดสอบและรวมตัวต้นแบบ (Test and
Integrate)
ดังรูป
Spiral Approach to
Development
Plan
First
Iteration
วางแผน
ทดสอบและประเมินผล
วิเคราะห์และออกแบบ
แนะนำาขั้นตอนการพัฒนาและ
ติดตั้งระบบ
2. การพัฒนาระบบด้วยเครื่องมือ (Tool-
based Development)
ดังรูป
การพัฒนาระบบด้วยเครื่องมือ (Tool-based
Development)
ศึกษาความเป็นไปได้และสำารวจระบบ
(Feasibility study and System Investigation)
รวบรวม
ข้อมูล
กำาหนดความต้องการ
ของระบบ
ลำาดับความสำาคัญของ
ความต้องการ
กำาหนดและประเมิน
ทางเลือก
ทบทวนเครื่องมือที่เลือกกับ
ต้นทุนที่ใช้
สำารวจเครื่องมือ
และความ
สอดคล้องกับความ
ต้องการเลือกเครื่องมือ
และจำากัด
ความต้องการ
ออกแบบและพัฒนา (Design and Implementation)
แนะนำาขั้นตอนการพัฒนาและ
ติดตั้งระบบ
3. การซื้อซอฟต์แวร์สำาเร็จรูปมาใช้งาน
(Packaged Software)
3.1. การปรับฟังก์ชันการทำางานของ
ซอฟต์แวร์สำาเร็จรูป (Customize
Packages)
- Configuration: การเลือกตัวเลือก
ลักษณะการทำางานของซอฟต์แวร์หรือ
การเปลี่ยนแปลงพารามิเตอร์ต่างๆของ
ซอฟต์แวร์
- Modification : การเปลี่ยนแปลงโค้ด
แนะนำำขั้นตอนกำรพัฒนำและ
ติดตั้งระบบ
3.2. กำรรวมซอฟต์แวร์สำำเร็จรูปเฉพำะ
ด้ำนให้ทำำงำนร่วมกัน (Integration
Packages) เรียกอีกอย่ำงว่ำ EAI
(Enterprise Application
Integration) : เป็นกระบวนกำรที่ใช้
เชื่อมโยงแต่ละหน่วยกำรทำำงำนของ
องค์กร
- ใช้ Middleware ในกำรเชื่อมโยงกำร
ทำำงำนของแต่ละซอฟต์แวร์
- จัดซื้อซอฟต์แวร์ ERP
แนะนำำขั้นตอนกำรพัฒนำและ
ติดตั้งระบบ
3. กำรซื้อซอฟต์แวร์สำำเร็จรูปมำใช้งำน
(Packaged Software)
3.3. กำรยกระดับควำมสำมำรถของ
ซอฟต์แวร์สำำเร็จรูป (Upgrading
Packages)
เช่น ยกระดับควำมสำมำรถของ
ซอฟต์แวร์ให้ทำำงำนง่ำยขึ้น กำรแก้ไข
ข้อผิดพลำดที่พบจำกซอฟต์แวร์
เวอร์ชัน (Version) เดิม กำรเพิ่ม
ฟังก์ชันกำรทำำงำนของซอฟต์แวร์
กำรทดสอบโปรแกรม (Software Testing)
ลักษณะกำร
ทดสอบ
กำรทดสอบโดยไม่ใช้เครื่อง
คอมพิวเตอร์
(Manual Testing)
กำรทดสอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์
(Automated Testing)
Static •ทดสอบแบบตรวจกำรณ์
(Inspection)
•ทดสอบด้วยกำรตรวจสอบไวยำกรณ์
(Syntax Checking
Dynamic •ทดสอบตำมลำำดับคำำสั่งใน
โปรแกรม (Desk Checking)
•ทดสอบทีละโมดูล (Unit Testing)
•ทดสอบแบบเพิ่มโมดูล (Integration
Testing)
•ทดสอบด้วยโมดูลตัวแทน (Stub
Testing)
•ทดสอบรวม (System Testing)
กำรทดสอบโดยไม่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์
(Manual Testing)
1. ทดสอบแบบตรวจกำรณ์ (Inspection)
 โปรแกรมเมอร์ตรวจสอบเอง
 เปรียบเทียบ Code ของโปรแกรมที่เขียนขึ้นกับ
รำยกำร Error ที่ทรำบแล้ว
 เป็นกำรทดสอบควำมผิดพลำดของ Code เท่ำนั้น
 ป้องกันข้อผิดพลำดรูปแบบเดิมไม่ให้เกิดซำ้ำอีก
 ไม่ทำำให้ทรำบว่ำมีผลลัพธ์ถูกต้องหรือไม่
2. ทดสอบตำมลำำดับคำำสั่งในโปรแกรม
(Desk Checking)
 ทำำโดยผู้ที่ได้รับกำรแต่งตั้งให้เป็นผู้ทดสอบ
 ตรวจสอบ Code ของโปรแกรมตำมลำำดับคำำสั่งใน
โปรแกรมว่ำมีตรรกะ (Logic ) ผิดหรือไม่
 เสียเวลำมำกถ้ำระบบมีควำมซับซ้อน
กำรทดสอบโดยไม่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์
(Manual Testing)
กำรทดสอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์
(Automated Testing)
1. ทดสอบด้วยกำรตรวจสอบไวยำกรณ์ (Syntax
Checking)
 ตรวจสอบไวยำกรณ์ที่เขียนขึ้นโดยใช้ Compiler
 ใช้เวลำไม่นำน
 ไม่สำมำรถตรวจสอบผลลัพธ์ได้
2. ทดสอบทีละโมดูล (Unit Testing)
 เรียกอีกชื่อว่ำ Module Testing
 โปรแกรมเมอร์ทดสอบ Module ที่ตนเองรับผิดชอบ
 หำข้อผิดพลำดในกำรทำำงำนแต่ละโมดูล
3. ทดสอบแบบเพิ่มโมดูล (Integration
Testing)
– เพิ่มจำำนวนโมดูลเพื่อกำรทดสอบ
– ทดสอบกำรทำำงำนรับส่งข้อมูลกันระหว่ำง
โมดูล
– อำศัย structure chart มี 2 แบบ คือ
• แบบบนลงล่ำง (Top-down Approach)
• แบบล่ำงขึ้นบน (Bottom-up Approach)
กำรทดสอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์
(Automated Testing)
กำรทดสอบแบบเพิ่มโมดูลจำกบนลงล่ำง
(Top-down Approach)
• เป็นกำรทดสอบโปรแกรมโดยทดสอบโมดูล
จำกบนลงล่ำง ตัวอย่ำง
Module A
Module B Module C Module D
Module E Module F
เริ่มทดสอบจำก Module
A ก่อน แล้วค่อยเพิ่ม
Module B,C และ D ตำม
ลำำดับต่อไปคือเพิ่ม
Module E,F ทดสอบรวม
กับ A,B,C,D
A
A,B,C,D
A,B,C,D,E,F
กำรทดสอบแบบเพิ่มโมดูลจำกล่ำงขึ้นบน (Bottom-
up Approach)
• เป็นกำรทดสอบโปรแกรมโดยทดสอบโมดูล
ล่ำงขึ้นบน ตัวอย่ำง
Module A
Module B Module C Module D
Module E Module F
เริ่มทดสอบจำก Module E,F
ก่อน แล้วค่อยเพิ่ม Module
B,C และ D ตำมลำำดับต่อไป
คือเพิ่ม Module ทดสอบรวม
กับ E,F,B,C,D,A
E,F,B,C,D,A
E,F,B,C,D
E,F
4. ทดสอบด้วยโมดูลตัวแทน (Stub Testing)
– กำรทดสอบแบบเพิ่มโมดูล (Integration Testing) นั้นจะค่อย ๆ เพิ่ม
โมดูลเข้ำมำทดสอบตำมลำำดับ กรณีที่เพิ่มจำกบนลงล่ำง คือ เริ่ม
ทดสอบจำก Module A ก่อน แล้วค่อยเพิ่ม Module B,C และ D ตำม
ลำำดับก่อนเพิ่ม Module E,F แต่ควำมจริง Module B ต้องเรียกใช้
ข้อมูลจำก Module E,F ที่อยู่ในระดับล่ำงซึ่งยังไม่ถึงรอบกำรทดสอบ
ปัญหำคือ อำจไม่เห็นผลลัพธ์ ดังนั้นจึงต้องสร้ำง Stub Testing เป็น
ตัวแทน Module E,F เพื่อทดสอบชั่วครำว
– กลุ่มคำำสั่งสั้นๆ ที่เขียนขึ้นมำเพื่อเป็นโมดูลตัวแทนในกำรทดสอบ
โปรแกรม
5. ทดสอบรวม (System Testing)
– คล้ำยกำรทดสอบแบบ Integration แต่จะต่ำงกันตรงที่จะทดสอบ
โปรแกรมหนึ่ง และเพิ่มเรื่อยๆจะครบทั้งโปรแกรม
กำรทดสอบด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์
(Automated Testing)
กลยุทธ์ในกำรทดสอบระบบ
1. ทดสอบกำรทำำงำนสูงสุด (Peak load Testing)
 ทดสอบประสิทธิภำพของระบบในกำรทำำรำยกำรมำกที่สุด ณ ช่วงเวลำใด เวลำหนึ่ง
เพื่อทดสอบว่ำระบบรองรับกำรทำำรำยกำรมำกที่สุดเท่ำใด
2. ทดสอบประสิทธิภำพของเวลำ (Performance Testing)
 ทดสอบระยะเวลำในกำรประมวลผลรำยกำร ว่ำใช้ระยะเวลำนำนเพียงใด ทั้งกำร
ประมวลผลแบบกลุ่ม (Batch Processing) และกำรประมวลผลแบบออนไลน์
(Online processing)
3. ทดสอบกำรกู้ระบบ(Recovery Testing)
 ทดสอบควำมสำมำรถในกำรกู้ระบบกรณีระบบล้ม
4. ทดสอบกำรเก็บข้อมูล(Storage Testing)
 ทดสอบควำมสำมำรถในกำรเก็บข้อมูล ว่ำเก็บข้อมูลได้มำกที่สุดเท่ำไหร่
5. ทดสอบกระบวนกำร(Procedure Testing)
 ทดสอบกำรใช้คู่มือประกอบกำรใช้งำนว่ำผู้ใช้เข้ำใจมำกน้อยเพียงใด
6. ทดสอบผู้ใช้(User Testing)
 ทดสอบกำรใช้งำนจริงของผู้ใช้ระบบ เพื่อต้องกำรทรำบว่ำเมื่อเกิดปัญหำจะแก้ไข
อย่ำงไร
กำรทดสอบกำรยอมรับของระบบโดยผู้ใช้
(Acceptance Testing)
1. กำรทดสอบอัลฟำ (Alpha Testing)
– ใช้ข้อมูลสมมติในกำรทดสอบ สมมติสถำนกำรณ์
– มีกำรทดสอบ 4 ประกำร คือ
• กำรทดสอบกำรกู้คืนข้อมูล (Recovery Testing) :
ทดสอบกรณีระล้ม
• กำรทดสอบควำมปลอดภัย (Security Testing) : ทดสอบ
กรณีมีกำรลักลอบกำรเรียกใช้ข้อมูล
• กำรทดสอบควำมกดดัน (Stress Testing) : ทดสอบ
ประสิทธิภำพของระบบกรณีอยู่ภำยใต้ควำมกดดัน เช่น
กำรเข้ำใช้งำนพร้อมกันของผู้ใช้หลำยคน
• กำรทดสอบประสิทธิภำพกำรทำำงำน (Performance
Testing) : ทดสอบประสิทธิภำพกำรทำำงำนภำยใต้สภำพ
แวดล้อมที่แตกต่ำงกัน เช่น ระบบปฏิบัติกำร
2. กำรทดสอบเบต้ำ (Beta Testing)
– ใช้ข้อมูลจริงในกำรทดสอบ ภำยใต้
สถำนกำรณ์จริง
– เป็นกำรซ้อมกำรติดตั้งระบบเพื่อใช้งำนจริง
– เป็นกำรทดสอบระบบอย่ำงสมจริง ทั้ง
สถำนกำรณ์ ข้อมูล ขั้นตอนกำรทำำงำน
เอกสำรคู่มือ กำรฝึกอบรม กำรสนับสนุนกำร
ทำำงำน รวมทั้งกำรแก้ปัญหำจำกกำรทดสอบ
แบบ Alpha ด้วย
กำรทดสอบกำรยอมรับของระบบโดยผู้ใช้
(Acceptance Testing)

Contenu connexe

Tendances

ระบบจองห้องประชุมออนไลน์
ระบบจองห้องประชุมออนไลน์ระบบจองห้องประชุมออนไลน์
ระบบจองห้องประชุมออนไลน์Preepram Laedvilai
 
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-4page
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-4pageใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-4page
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
3 ca-computer system structure
3 ca-computer system structure3 ca-computer system structure
3 ca-computer system structurekrissapat
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่Surapong Jakang
 
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์russana
 
โรงเรียนช่างเขียนแบบก่อสร้างสยาม
โรงเรียนช่างเขียนแบบก่อสร้างสยามโรงเรียนช่างเขียนแบบก่อสร้างสยาม
โรงเรียนช่างเขียนแบบก่อสร้างสยามguest0b9161
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”Royphim Namsongwong
 
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัวหน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัวJanchai Pokmoonphon
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
รูปเล่มโครงงาน E-book Adobe Photoshop CC เพื่อการสร้างงานโปสเตอร์
รูปเล่มโครงงาน E-book Adobe Photoshop CC เพื่อการสร้างงานโปสเตอร์รูปเล่มโครงงาน E-book Adobe Photoshop CC เพื่อการสร้างงานโปสเตอร์
รูปเล่มโครงงาน E-book Adobe Photoshop CC เพื่อการสร้างงานโปสเตอร์Znackiie Rn
 
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นวิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นJindarat JB'x Kataowwy
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventorคู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App InventorSomchart Phaeumnart
 
แบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpointแบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpointpoomarin
 
ระบบไหลเวียนโลหิต
ระบบไหลเวียนโลหิตระบบไหลเวียนโลหิต
ระบบไหลเวียนโลหิตThaweekoon Intharachai
 

Tendances (20)

ระบบจองห้องประชุมออนไลน์
ระบบจองห้องประชุมออนไลน์ระบบจองห้องประชุมออนไลน์
ระบบจองห้องประชุมออนไลน์
 
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-4page
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-4pageใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-4page
ใบความรู้+อากาศสำคัญอย่างไร+ป.3+246+dltvscip3+55t2sci p03 f15-4page
 
3 ca-computer system structure
3 ca-computer system structure3 ca-computer system structure
3 ca-computer system structure
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
 
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
บทที่ 4 หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
โรงเรียนช่างเขียนแบบก่อสร้างสยาม
โรงเรียนช่างเขียนแบบก่อสร้างสยามโรงเรียนช่างเขียนแบบก่อสร้างสยาม
โรงเรียนช่างเขียนแบบก่อสร้างสยาม
 
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ (Human Computer Interaction)
 
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
 
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัวหน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
หน่วยที่ 1-เทคโนโลยีรอบตัว
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
รูปเล่มโครงงาน E-book Adobe Photoshop CC เพื่อการสร้างงานโปสเตอร์
รูปเล่มโครงงาน E-book Adobe Photoshop CC เพื่อการสร้างงานโปสเตอร์รูปเล่มโครงงาน E-book Adobe Photoshop CC เพื่อการสร้างงานโปสเตอร์
รูปเล่มโครงงาน E-book Adobe Photoshop CC เพื่อการสร้างงานโปสเตอร์
 
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นวิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
 
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
หลักการเขียนผังงาน(Flow chart)
 
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
ใบความรู้ Powerpoint 2010
ใบความรู้ Powerpoint 2010 ใบความรู้ Powerpoint 2010
ใบความรู้ Powerpoint 2010
 
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventorคู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
คู่มือการอบรมครู การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน ด้วย MIT App Inventor
 
แบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpointแบบทดสอบ Powerpoint
แบบทดสอบ Powerpoint
 
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์  ชุดที่  4แบบทดสอบคอมพิวเตอร์  ชุดที่  4
แบบทดสอบคอมพิวเตอร์ ชุดที่ 4
 
ระบบไหลเวียนโลหิต
ระบบไหลเวียนโลหิตระบบไหลเวียนโลหิต
ระบบไหลเวียนโลหิต
 

En vedette

ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการrunjaun
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2kanjana Pongkan
 
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรมกิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรมdraught
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีsukanya5729
 
A guide to low resistance testing
A guide to low resistance testingA guide to low resistance testing
A guide to low resistance testingRonimack Trajano
 
ขั้นตอนและหลักการสร้างระบบงาน
ขั้นตอนและหลักการสร้างระบบงานขั้นตอนและหลักการสร้างระบบงาน
ขั้นตอนและหลักการสร้างระบบงานเกวลิน เผ่าภูไพร
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)chalunthorn teeyamaneerat
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบบทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบSarawut Panchon
 
การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์Watinee Poksup
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการskiats
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการKhannikar Elle
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDskiats
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการtumetr
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตchalunthorn teeyamaneerat
 
Information Systems Life Cycle
Information Systems Life CycleInformation Systems Life Cycle
Information Systems Life Cycle4goggas
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงานPhanuwat Somvongs
 

En vedette (20)

ระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการระบบปฏิบัติการ
ระบบปฏิบัติการ
 
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ 2
 
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรมกิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
SDLC
SDLCSDLC
SDLC
 
A guide to low resistance testing
A guide to low resistance testingA guide to low resistance testing
A guide to low resistance testing
 
ขั้นตอนและหลักการสร้างระบบงาน
ขั้นตอนและหลักการสร้างระบบงานขั้นตอนและหลักการสร้างระบบงาน
ขั้นตอนและหลักการสร้างระบบงาน
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
แนวทางการดูแลผู้ป่วย ไข้เลือดออก (สำหรับครอบครัว)
 
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบบทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
บทที่ 3 การวิเคราะห์ระบบและการออกแบบระบบ
 
การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์การพัฒนาซอฟแวร์
การพัฒนาซอฟแวร์
 
Tools
ToolsTools
Tools
 
การรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการการรวบรวมความต้องการ
การรวบรวมความต้องการ
 
Present.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapdPresent.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapd
 
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคารการติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
การติดตั้งไฟฟ้าภายนอกอาคาร
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
การเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFDการเขียนแผนภาพ DFD
การเขียนแผนภาพ DFD
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 
อาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไตอาหารบำบัดโรคไต
อาหารบำบัดโรคไต
 
Information Systems Life Cycle
Information Systems Life CycleInformation Systems Life Cycle
Information Systems Life Cycle
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 

Similaire à การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)

การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบการนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
แนวทางการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
แนวทางการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์แนวทางการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
แนวทางการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์Janchai Pokmoonphon
 
System Development Life Cycle
System Development  Life  CycleSystem Development  Life  Cycle
System Development Life Cycleeiszer
 
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาคีตะบลู รักคำภีร์
 
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธีSaranyu Srisrontong
 
Chapter 6 system development
Chapter 6 system developmentChapter 6 system development
Chapter 6 system developmentPa'rig Prig
 
EveryBitsConsult_Services_Overview2.0
EveryBitsConsult_Services_Overview2.0EveryBitsConsult_Services_Overview2.0
EveryBitsConsult_Services_Overview2.0Atthaboon Sanurt
 
GOOD_PRACTICE_FOR_ME_SITE_ENGINEER_TS170831.pdf
GOOD_PRACTICE_FOR_ME_SITE_ENGINEER_TS170831.pdfGOOD_PRACTICE_FOR_ME_SITE_ENGINEER_TS170831.pdf
GOOD_PRACTICE_FOR_ME_SITE_ENGINEER_TS170831.pdfPawachMetharattanara
 

Similaire à การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation) (20)

การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบการนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
การนำระบบไปใช้/การบำรุงรักษาระบบ
 
Project Sky
Project SkyProject Sky
Project Sky
 
Sallai pro
Sallai proSallai pro
Sallai pro
 
แนวทางการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
แนวทางการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์แนวทางการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
แนวทางการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
 
System Development Life Cycle
System Development  Life  CycleSystem Development  Life  Cycle
System Development Life Cycle
 
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
 
Sdlc
SdlcSdlc
Sdlc
 
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
การแก้ปัญหาการออกแบบและพัฒนาขั้นตอนวิธี
 
Chapter 02
Chapter 02Chapter 02
Chapter 02
 
Chapter 6 system development
Chapter 6 system developmentChapter 6 system development
Chapter 6 system development
 
SA Chapter 14
SA Chapter 14SA Chapter 14
SA Chapter 14
 
EveryBitsConsult_Services_Overview2.0
EveryBitsConsult_Services_Overview2.0EveryBitsConsult_Services_Overview2.0
EveryBitsConsult_Services_Overview2.0
 
..
....
..
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2Lesson 4 (misson)2
Lesson 4 (misson)2
 
Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)Lesson 4 (misson)
Lesson 4 (misson)
 
GOOD_PRACTICE_FOR_ME_SITE_ENGINEER_TS170831.pdf
GOOD_PRACTICE_FOR_ME_SITE_ENGINEER_TS170831.pdfGOOD_PRACTICE_FOR_ME_SITE_ENGINEER_TS170831.pdf
GOOD_PRACTICE_FOR_ME_SITE_ENGINEER_TS170831.pdf
 
3
33
3
 
Unit01
Unit01Unit01
Unit01
 
Mini Master in software testing
Mini Master in software testingMini Master in software testing
Mini Master in software testing
 

Plus de tumetr

ขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook pageขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook pagetumetr
 
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015tumetr
 
Aec rit v.1.0-facebook
Aec rit v.1.0-facebookAec rit v.1.0-facebook
Aec rit v.1.0-facebooktumetr
 
Aec rit v.1.0-po_p
Aec rit v.1.0-po_pAec rit v.1.0-po_p
Aec rit v.1.0-po_ptumetr
 
The system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designThe system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designtumetr
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลtumetr
 
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)tumetr
 
ระบบ (System)
ระบบ (System)ระบบ (System)
ระบบ (System)tumetr
 
An approach-to-planning-software-projects
An approach-to-planning-software-projectsAn approach-to-planning-software-projects
An approach-to-planning-software-projectstumetr
 
An introduction
An introductionAn introduction
An introductiontumetr
 
Huffman
HuffmanHuffman
Huffmantumetr
 
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานtumetr
 
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการกลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการtumetr
 
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการกลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการtumetr
 
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารหน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารtumetr
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารtumetr
 
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพหน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพtumetr
 
avl tree ,b-tree
avl tree ,b-treeavl tree ,b-tree
avl tree ,b-treetumetr
 
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)tumetr
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)tumetr
 

Plus de tumetr (20)

ขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook pageขั้นตอนการสร้าง Facebook page
ขั้นตอนการสร้าง Facebook page
 
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
ตั้งรับ ขับเคลื่อนธุรกิจและผลักดันคนไอทีไทยสู่-Aec-2015
 
Aec rit v.1.0-facebook
Aec rit v.1.0-facebookAec rit v.1.0-facebook
Aec rit v.1.0-facebook
 
Aec rit v.1.0-po_p
Aec rit v.1.0-po_pAec rit v.1.0-po_p
Aec rit v.1.0-po_p
 
The system-analysis-and-design
The system-analysis-and-designThe system-analysis-and-design
The system-analysis-and-design
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูล
 
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
ส่วนจัดการสื่อประสานผู้ใช้(User interface-management)
 
ระบบ (System)
ระบบ (System)ระบบ (System)
ระบบ (System)
 
An approach-to-planning-software-projects
An approach-to-planning-software-projectsAn approach-to-planning-software-projects
An approach-to-planning-software-projects
 
An introduction
An introductionAn introduction
An introduction
 
Huffman
HuffmanHuffman
Huffman
 
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
 
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการกลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
กลยุทธ์การเลือกทำเลที่ตั้งสถานประกอบการ
 
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการกลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
 
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารหน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
 
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหารหน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
หน่วยที่ 5.3.1 สารปนเปื้อนในอาหาร
 
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพหน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
หน่วยที่ 5.2 ผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพ
 
avl tree ,b-tree
avl tree ,b-treeavl tree ,b-tree
avl tree ,b-tree
 
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
โครงสร้างข้อมูลแบบลิงค์ลิสต์ (linklist)
 
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
การวิเคราะห์อัลกอริทึม(algorithm analysis)
 

การพัฒนาและติดตั้งระบบ(System implementation)