SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  5
Télécharger pour lire hors ligne
เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง ความตึงผิว และความหนืด หนา้ 1 
รายวิชา ฟิสิกส์ 6 ใบความรู้ 3 
ประกอบหน่วยการเรียนรู้ 
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง กลศาสตร์ของไหล 
หัวข้อเรื่อง ความตึงผิว และความหนืด 
ความตึงผิว คือ ความพยายามในการยึดผิวของเหลว 
แรงตึงผิวของเหลว คือ แรงที่พยายามยึดของเหลวไว้ แรงตึงผิวจะมีทิศขนานผิวของเหลวและตั้งฉากกับเส้นขอบของ 
วัตถุที่สัมผัสของเหลว 
จากรูปแผ่นฟิลม์ของฟองสบู่ ในโครงเหล็กรูปสี่เหลี่ยม มีเส้นเชือกดังรูป ก. เมื่อใช้เข็มแทงตรงกลางของเส้นเชือกจะทา 
ให้ฟองสบู่ดึงเส้นเชือกให้มีลักษณะเป็นวงกลมดังรูป ข. 
หยดของเหลวมักจะมีลักษณะเป็นทรงกลม เนื่องจากต้องการให้วัตถุมีความเสถียรที่สุด 
รูปทรงของวัตถุที่มีความเสถียรที่สุดและไม่สามารถเปลี่ยนรูปร่างได้ง่าย คือ รูปทรงกลม 
ดังนั้น แรงตึงผิวจึงดึงผิวของของเหลวให้มีพื้นที่ผิวน้อยที่สุด คือ รูปทรงกลม 
การหาค่าความตึงผิว 
ความตึงผิว คือ อัตราส่วนของแรงตึงผิวต่อความยาวของผิวของเหลวที่แตะกับวัตถุ 
 = 
L 
F 
, L ความยาวที่สัมผัสวัตถุจะมีสองด้าน จะได้ 2l 
 = 
2l 
F 
ความหนืด คือ คุณสมบัติของของเหลวในการต้านวัตถุที่เคลื่อนที่ในของเหลวนั้น 
วัตถุที่มีความหนืดมาก ก็จะเกิดแรงหนืดน้อย เพื่อต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุในของเหลวนั้น 
แต่เราต้องออกแรงมาก 
วัตถุที่มีความหนืดน้อย ก็จะเกิดแรงหนืดมาก เพื่อใช้ต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุในของเหลวนั้น 
แต่เราต้องออกแรงน้อย 
F 
ลวดวงกลม 
ของเหลว 
รูป ก. รูป ข.
เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง ความตึงผิว และความหนืด หนา้ 2 
สโตกส์ ค้นพบว่า เมื่อวัตถุทรงกลมรัศมี r เคลื่อนที่ในของไหล แรงต้านของของไหลเนื่องจากความหนืด เป็นสัดส่วน 
โดยตรงกับอัตราเร็วของทรงกลมตันเทียบกับของไหล 
F = 6  r v สมการของสโตกส์ 
F  v 
จะได้ว่า แรงหนืดของของเหลว แปรผันตามความเร็วสุดท้ายของวัตถุในของเหลว 
  
v 
1 
จะได้ว่า ความหนืดของของเหลว แปรผกผันกับความเร็วสุดท้ายของวัตถุในของเหลว 
1. ให้นักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็นว่า ใบมีดโกนลอยอยู่บนผิวน้าได้อย่างไร 
รายวิชา ฟิสิกส์ 6 
ใบงาน 3.2 
ประกอบหน่วยการเรียนรู้ 
Physics VI เรื่อง กลศาสตร์ของไหล 
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( P ) เวลา 40 นาที 
เรื่อง ความตึงผิว และความหนืด 
1. ให้นักเรียนสรุปสาระสาคัญที่ได้จากการสืบค้น ข้อมูล และบันทึกลงในสมุด 
1. ความตึงผิว 
2. ความหนืด 
3. กฎของสโตกส์ 
2. ให้นักเรียนเติมคา หรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 
1. สภาพคะปิลลารีเป็นผลมาจาก…………………………………ของของเหลว 
2. แรงตึงผิวของของเหลวมีทิศ………………………..… กับผิวของเหลวและ……………………… กับเส้นขอบที่ของเหลวสัมผัส 
3. การลาเลียงน้าและอาหารในลาต้นของพืชตามท่อไซเลม เป็นปรากฏการณ์ของ……………………………………………… 
4. การเติมผงซักฟอกลงในน้าเวลาซักผ้า เกี่ยวข้องกับ ปรากฏการณ์ของ……………………………..…………… 
5. ของเหลวที่ไม่มีสารอื่นเจือปน เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นความตึงผิวจะ………………………………………….……… 
6. วัตถุที่ถูกทิ้งลงในของเหลว วัตถุจะเคลื่อนที่ลงด้วยความเร่ง หรือ ความเร็ว ........................ลดลงจนมีค่าเป็นศูนย์ 
รายวิชา ฟิสิกส์ 6 
ใบงาน 3.1 
ประกอบหน่วยการเรียนรู้ 
Physics VI เรื่อง กลศาสตร์ของไหล 
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( A ) เวลา 10 นาที 
เรื่อง ความตึงผิว และความหนืด
เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง ความตึงผิว และความหนืด หนา้ 3 
7. วัตถุที่ถูกทิ้งลงในของเหลว วัตถุจะเคลื่อนที่ลงจนมีความเร็วคงที่ แสดงว่าความเร่งมีค่าเป็น………………………………… 
8. วัตถุที่ถูกทิ้งลงในของเหลว แรงหนืดเนื่องจากของเหลวที่กระทาต่อวัตถุจะมีค่าเพิ่มขึ้นหรือลดลง …………….จนมีค่า 
มากที่สุด แล้วคงตัว 
9. วัตถุที่ถูกทิ้งลงในของเหลว แรงหนืดเนื่องจากของเหลวที่กระทาต่อวัตถุจะมีค่าขึ้นอยู่กับชนิดหรือมวล 
………….…………………..ของของเหลวนั้น 
10. เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ในของเหลว แรงหนืดที่ของเหลวกระทาต่อวัตถุจะขึ้นอยู่กับอัตราเร็วหรือมวล 
…………………………………ของวัตถุ 
รายวิชา ฟิสิกส์ 6 
ใบงาน 3.3 
ประกอบหน่วยการเรียนรู้ 
Physics VI เรื่อง กลศาสตร์ของไหล 
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( A ) เวลา 10 นาที 
เรื่อง ความตึงผิว และความหนืด 
1. ถ้าใช้ลวดวงกลม ที่มีเส้นรอบวงเท่ากับ 0.50 เมตร ทดลองเรื่องความตึง 
ผิวของของเหลว พบว่าออกแรงดึงลวดนี้ขนาด 0.04 นิวตัน จึงจะทาให้ 
ลวดนั้นหลุดพ้นจากผิวของของเหลวได้พอดี จงหาค่าความตึงผิวของ 
ของเหลวนี้เป็นกี่นิวตันต่อเมตร 
วิธีทา  = 
2l 
F 
2. ถ้าใช้ไม้บรรทัดยาว 30 ซม. ทดลองเรื่องความตึงผิวของของเหลว พบว่าออกแรงดึงไม้บรรทัดขนาด 0.8 นิวตัน จึงจะ 
ทาให้หลุดพ้นจากผิวของของเหลวได้พอดี จงหาค่าความตึงผิวของเหลวนี้เป็นกี่นิวตันต่อเมตร 
วิธีทา  = 
2l 
F 
F 
ลวดวงกลม 
ของเหลว
เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง ความตึงผิว และความหนืด หนา้ 4 
รายวิชา ฟิสิกส์ 6 
แบบฝึกทักษะ 3 
ประกอบหน่วยการเรียนรู้ 
Physics VI 
เรื่อง กลศาสตร์ของไหล 
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 
คะแนน 10 คะแนน 
เวลา 20 นาที 
เรื่อง ความตึงผิว และความหนืด 
ตอนที่ 1 ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย / หน้าข้อที่ถูก และกาเครื่องหมาย  หน้าข้อที่ผิด 
……1. สภาพคะปิลลารีเป็นผลมาจากความตึงผิวของของเหลว 
……2. แรงตึงผิวของของเหลวมีทิศขนานกับผิวของเหลวและตั้งฉากกับเส้นขอบที่ของเหลวสัมผัส 
……3. การลาเลียงน้าและอาหารในลาต้นของพืชตามท่อไซเลม เป็นปรากฏการณ์ของแรงตึงผิว 
……4. การเติมผงซักฟอกลงในน้าเวลาซักผ้า เกี่ยวข้องกับ ปรากฏการณ์ของแรงตึงผิว 
……5. ของเหลวที่ไม่มีสารอื่นเจือปน เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นความตึงผิวจะมากขึ้น 
……6. วัตถุที่ถูกทิ้งลงในของเหลว วัตถุจะเคลื่อนที่ลงด้วยความเร่งลดลงจนมีค่าเป็นศูนย์ 
……7. วัตถุที่ถูกทิ้งลงในของเหลว วัตถุจะเคลื่อนที่ลงด้วยความเร็วลดลงจนมีค่าเป็นศูนย์ 
……8. วัตถุที่ถูกทิ้งลงในของเหลว แรงหนืดเนื่องจากของเหลวที่กระทาต่อวัตถุจะมีค่าเพิ่มขึ้นจนมีค่ามากที่สุด 
แล้วคงตัว 
……9. วัตถุที่ถูกทิ้งลงในของเหลว แรงหนืดเนื่องจากของเหลวที่กระทาต่อวัตถุจะมีค่าลดลงจนมีค่าเท่ากับศูนย์ 
..…10. เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ในของเหลว แรงหนืดที่ของเหลวกระทาต่อวัตถุจะขึ้นอยู่กับอัตราเร็วของวัตถุ 
ตอนที่ 2 ให้นักเรียนเลือกคาตอบข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียน O ล้อมรอบข้อนั้น 
1. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ 
1 ) ของเหลวยิ่งอุณหภูมิสูง ความตึงผิวยิ่งลดลง 
2 ) ของเหลวที่มีจุดเดือดสูง ย่อมมีความตึงผิวสูง 
ข้อความใดถูกต้อง 
ก. ข้อ 1 เท่านั้น ข. ข้อ 2 เท่านั้น ค. ผิดทั้งสองข้อ ง. ถูกทั้งสองข้อ 
2. ข้อความในข้อใดที่ไม่ใช่ปรากฏการณ์ของแรงตึงผิว 
ก. การลาเลียงน้าและอาหารในลาต้นของพืชตามท่อไซเลม ข. การเติมผงซักฟอกลงในน้าเวลาซักผ้า 
ค. ปรากฏการณ์คะปิลลารี ง. การสูบน้าหมึกเข้าปากกาหมึกซึมทั่วไป 
3. จากรูป อ่างที่ 1. ใส่น้า อ่างที่ 2. ใส่ปรอท หลอดไหนผิดจากความเป็นจริง 
ก. หลอดที่ 1 ข. หลอดที่ 2 
ค. หลอดที่ 3 ง. หลอดที่ 4 
1 
2 
3 
4 
ปรอท 
น้ำ
เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง ความตึงผิว และความหนืด หนา้ 5 
4. ข้อใดไม่ถูกต้อง 
ก. น้าสบู่จะมีความตึงผิวน้อยกว่าน้าธรรมดา 
ข. ของเหลวที่ไม่มีสารอื่นเจือปน เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นความตึงผิวจะมาก 
ค. ความตึงผิวเป็นสมบัติอย่างหนึ่งที่จะพยายามยึดผิวของของเหลวไว้ 
ง. ความดันของของเหลวจะพยายามทาให้ของของเหลวขยายตัวออกไป 
5. ถ้าใช้ลวดวงกลม ที่มีเส้นรอบวงเท่ากับ 0.25 เมตร ทดลองเรื่องความตึงผิวของ ของเหลว พบว่าออกแรงดึงลวดนี้ขนาด 0.05 นิวตัน จึงจะทาให้ลวดนั้นหลุดพ้นจาก ผิวของของเหลวได้พอดี จงหาค่าความตึงผิวของของเหลวนี้เป็นกี่นิวตันต่อเมตร 
ก. 0.1 ข. 0.2 ค. 0.5 ง. 1.0 
6. ในการคนของเหลวแต่ละชนิดนั้น จะออกแรงคนไม่เท่ากัน แสดงว่าของเหลวแต่ละชนิดมีแรงต้านภายในของ ของเหลวไม่เท่ากัน แรงต้านนี้ เรียกว่าอะไร ของของเหลว 
ก. แรงตึงผิว ข. แรงลอยตัว ค. แรงหนืด ง. แรงเสียดทาน 
7. ข้อความต่อไปนี้ ข้อใดเป็นข้อที่ถูกต้อง 
ก. ขณะที่วัตถุหยุดนิ่งในของเหลว แรงหนืดจะมากที่สุด 
ข. ขณะที่วัตถุเคลื่อน อยู่ที่ระดับความลึกมากๆ ค่าแรงหนืดก็จะมากเป็นทวีคูณ 
ค. แรงหนืดจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับค่าของความเร็ว 
ง. แรงหนืดมีทิศไปทางเดียวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ 
8. จากการปล่อยลูกกลมโลหะให้เคลื่อนที่ในน้ามันหล่อลื่นดังรูป ข้อใดที่ไม่เป็นจริง 
ก. ช่วงต้นที่โลหะเคลื่อนที่จะเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง 
ข. ช่วงปลายโลหะจะเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงตัว 
ค. เมื่อโลหะเคลื่อนที่เร็วขึ้นแรงหนืดจะมีขนาดมากจนเท่ากับน้าหนักและแรงลอยตัว 
ง. แรงลัพธ์ที่กระทาต่อโลหะเปลี่ยนแปลงไปเกิดมาจากค่าแรงลอยตัวของของเหลวเปลี่ยนแปลงไป 
9. เมื่อทดลองหย่อนลูกกลมโลหะเล็กๆ ก้อนหนึ่งลงในของเหลวต่างๆชนิดกัน จะพบว่า 
ก. ความเร็วสุดท้ายของลูกกลมโลหะในของเหลวทุกชนิดมีค่าเท่ากันหมด 
ข. ความเร็วสุดท้ายของลูกกลมโลหะในของเหลวที่มีความหนืดสูงจะมีค่าน้อย 
ค. ความเร็วสุดท้ายของลูกกลมโลหะแปรผันตรงกับความหนืดของของเหลว 
ง. ไม่มีข้อใดถูก 
10. น้ามันหล่อลื่นใดที่มีความหนืดมากที่สุด 
ก. SAE 50 ข. SAE 40 ค. SAE 30 ง. SAE 20 
F 
ลวดวงกลม 
ของเหลว

Contenu connexe

Tendances

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานthanakit553
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2Jiraporn Chaimongkol
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดkrupornpana55
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงานPhanuwat Somvongs
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 

Tendances (20)

คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)พลังงาน (Energy)
พลังงาน (Energy)
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
เฉลยข้อสอบ O netตอนที่ 2
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัดSlแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
Slแบบฝึกหัดทบทวน เรื่อง อัตราเร็ว ความเร็ว ระยะทาง และการกระจัด
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 

Similaire à 3ความตึงผิว และความหนืด

เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหลthanakit553
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1พนภาค ผิวเกลี้ยง
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
แบบทดสอบสมดุล
แบบทดสอบสมดุลแบบทดสอบสมดุล
แบบทดสอบสมดุลkrusarawut
 
P3 scigifted exam2554_1stround
P3 scigifted exam2554_1stroundP3 scigifted exam2554_1stround
P3 scigifted exam2554_1stroundAtas Nama Cinta
 
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...Kruthai Kidsdee
 

Similaire à 3ความตึงผิว และความหนืด (13)

ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบความรู้ 3
ใบความรู้ 3ใบความรู้ 3
ใบความรู้ 3
 
เรื่องที่ 9 ของไหล
เรื่องที่ 9   ของไหลเรื่องที่ 9   ของไหล
เรื่องที่ 9 ของไหล
 
P09
P09P09
P09
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
แบบทดสอบสมดุล
แบบทดสอบสมดุลแบบทดสอบสมดุล
แบบทดสอบสมดุล
 
Fluids
FluidsFluids
Fluids
 
Obj 33101
Obj 33101Obj 33101
Obj 33101
 
P3 scigifted exam2554_1stround
P3 scigifted exam2554_1stroundP3 scigifted exam2554_1stround
P3 scigifted exam2554_1stround
 
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
 

Plus de Wijitta DevilTeacher

ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่Wijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Aการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด AWijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Cการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด CWijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด BWijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่นWijitta DevilTeacher
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกลWijitta DevilTeacher
 
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุWijitta DevilTeacher
 
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุนWijitta DevilTeacher
 
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุนWijitta DevilTeacher
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุนWijitta DevilTeacher
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุมWijitta DevilTeacher
 
07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชนWijitta DevilTeacher
 

Plus de Wijitta DevilTeacher (20)

ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Aการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Cการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
 
Physics atom part 5
Physics atom part 5Physics atom part 5
Physics atom part 5
 
Physics atom part 4
Physics atom part 4Physics atom part 4
Physics atom part 4
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
Physics atom part 2
Physics atom part 2Physics atom part 2
Physics atom part 2
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
 
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
 
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
 
07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน
 

3ความตึงผิว และความหนืด

  • 1. เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง ความตึงผิว และความหนืด หนา้ 1 รายวิชา ฟิสิกส์ 6 ใบความรู้ 3 ประกอบหน่วยการเรียนรู้ ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง กลศาสตร์ของไหล หัวข้อเรื่อง ความตึงผิว และความหนืด ความตึงผิว คือ ความพยายามในการยึดผิวของเหลว แรงตึงผิวของเหลว คือ แรงที่พยายามยึดของเหลวไว้ แรงตึงผิวจะมีทิศขนานผิวของเหลวและตั้งฉากกับเส้นขอบของ วัตถุที่สัมผัสของเหลว จากรูปแผ่นฟิลม์ของฟองสบู่ ในโครงเหล็กรูปสี่เหลี่ยม มีเส้นเชือกดังรูป ก. เมื่อใช้เข็มแทงตรงกลางของเส้นเชือกจะทา ให้ฟองสบู่ดึงเส้นเชือกให้มีลักษณะเป็นวงกลมดังรูป ข. หยดของเหลวมักจะมีลักษณะเป็นทรงกลม เนื่องจากต้องการให้วัตถุมีความเสถียรที่สุด รูปทรงของวัตถุที่มีความเสถียรที่สุดและไม่สามารถเปลี่ยนรูปร่างได้ง่าย คือ รูปทรงกลม ดังนั้น แรงตึงผิวจึงดึงผิวของของเหลวให้มีพื้นที่ผิวน้อยที่สุด คือ รูปทรงกลม การหาค่าความตึงผิว ความตึงผิว คือ อัตราส่วนของแรงตึงผิวต่อความยาวของผิวของเหลวที่แตะกับวัตถุ  = L F , L ความยาวที่สัมผัสวัตถุจะมีสองด้าน จะได้ 2l  = 2l F ความหนืด คือ คุณสมบัติของของเหลวในการต้านวัตถุที่เคลื่อนที่ในของเหลวนั้น วัตถุที่มีความหนืดมาก ก็จะเกิดแรงหนืดน้อย เพื่อต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุในของเหลวนั้น แต่เราต้องออกแรงมาก วัตถุที่มีความหนืดน้อย ก็จะเกิดแรงหนืดมาก เพื่อใช้ต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุในของเหลวนั้น แต่เราต้องออกแรงน้อย F ลวดวงกลม ของเหลว รูป ก. รูป ข.
  • 2. เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง ความตึงผิว และความหนืด หนา้ 2 สโตกส์ ค้นพบว่า เมื่อวัตถุทรงกลมรัศมี r เคลื่อนที่ในของไหล แรงต้านของของไหลเนื่องจากความหนืด เป็นสัดส่วน โดยตรงกับอัตราเร็วของทรงกลมตันเทียบกับของไหล F = 6  r v สมการของสโตกส์ F  v จะได้ว่า แรงหนืดของของเหลว แปรผันตามความเร็วสุดท้ายของวัตถุในของเหลว   v 1 จะได้ว่า ความหนืดของของเหลว แปรผกผันกับความเร็วสุดท้ายของวัตถุในของเหลว 1. ให้นักเรียนเขียนแสดงความคิดเห็นว่า ใบมีดโกนลอยอยู่บนผิวน้าได้อย่างไร รายวิชา ฟิสิกส์ 6 ใบงาน 3.2 ประกอบหน่วยการเรียนรู้ Physics VI เรื่อง กลศาสตร์ของไหล ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( P ) เวลา 40 นาที เรื่อง ความตึงผิว และความหนืด 1. ให้นักเรียนสรุปสาระสาคัญที่ได้จากการสืบค้น ข้อมูล และบันทึกลงในสมุด 1. ความตึงผิว 2. ความหนืด 3. กฎของสโตกส์ 2. ให้นักเรียนเติมคา หรือข้อความลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 1. สภาพคะปิลลารีเป็นผลมาจาก…………………………………ของของเหลว 2. แรงตึงผิวของของเหลวมีทิศ………………………..… กับผิวของเหลวและ……………………… กับเส้นขอบที่ของเหลวสัมผัส 3. การลาเลียงน้าและอาหารในลาต้นของพืชตามท่อไซเลม เป็นปรากฏการณ์ของ……………………………………………… 4. การเติมผงซักฟอกลงในน้าเวลาซักผ้า เกี่ยวข้องกับ ปรากฏการณ์ของ……………………………..…………… 5. ของเหลวที่ไม่มีสารอื่นเจือปน เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นความตึงผิวจะ………………………………………….……… 6. วัตถุที่ถูกทิ้งลงในของเหลว วัตถุจะเคลื่อนที่ลงด้วยความเร่ง หรือ ความเร็ว ........................ลดลงจนมีค่าเป็นศูนย์ รายวิชา ฟิสิกส์ 6 ใบงาน 3.1 ประกอบหน่วยการเรียนรู้ Physics VI เรื่อง กลศาสตร์ของไหล ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( A ) เวลา 10 นาที เรื่อง ความตึงผิว และความหนืด
  • 3. เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง ความตึงผิว และความหนืด หนา้ 3 7. วัตถุที่ถูกทิ้งลงในของเหลว วัตถุจะเคลื่อนที่ลงจนมีความเร็วคงที่ แสดงว่าความเร่งมีค่าเป็น………………………………… 8. วัตถุที่ถูกทิ้งลงในของเหลว แรงหนืดเนื่องจากของเหลวที่กระทาต่อวัตถุจะมีค่าเพิ่มขึ้นหรือลดลง …………….จนมีค่า มากที่สุด แล้วคงตัว 9. วัตถุที่ถูกทิ้งลงในของเหลว แรงหนืดเนื่องจากของเหลวที่กระทาต่อวัตถุจะมีค่าขึ้นอยู่กับชนิดหรือมวล ………….…………………..ของของเหลวนั้น 10. เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ในของเหลว แรงหนืดที่ของเหลวกระทาต่อวัตถุจะขึ้นอยู่กับอัตราเร็วหรือมวล …………………………………ของวัตถุ รายวิชา ฟิสิกส์ 6 ใบงาน 3.3 ประกอบหน่วยการเรียนรู้ Physics VI เรื่อง กลศาสตร์ของไหล ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 5 คะแนน ( A ) เวลา 10 นาที เรื่อง ความตึงผิว และความหนืด 1. ถ้าใช้ลวดวงกลม ที่มีเส้นรอบวงเท่ากับ 0.50 เมตร ทดลองเรื่องความตึง ผิวของของเหลว พบว่าออกแรงดึงลวดนี้ขนาด 0.04 นิวตัน จึงจะทาให้ ลวดนั้นหลุดพ้นจากผิวของของเหลวได้พอดี จงหาค่าความตึงผิวของ ของเหลวนี้เป็นกี่นิวตันต่อเมตร วิธีทา  = 2l F 2. ถ้าใช้ไม้บรรทัดยาว 30 ซม. ทดลองเรื่องความตึงผิวของของเหลว พบว่าออกแรงดึงไม้บรรทัดขนาด 0.8 นิวตัน จึงจะ ทาให้หลุดพ้นจากผิวของของเหลวได้พอดี จงหาค่าความตึงผิวของเหลวนี้เป็นกี่นิวตันต่อเมตร วิธีทา  = 2l F F ลวดวงกลม ของเหลว
  • 4. เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง ความตึงผิว และความหนืด หนา้ 4 รายวิชา ฟิสิกส์ 6 แบบฝึกทักษะ 3 ประกอบหน่วยการเรียนรู้ Physics VI เรื่อง กลศาสตร์ของไหล ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 คะแนน 10 คะแนน เวลา 20 นาที เรื่อง ความตึงผิว และความหนืด ตอนที่ 1 ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย / หน้าข้อที่ถูก และกาเครื่องหมาย  หน้าข้อที่ผิด ……1. สภาพคะปิลลารีเป็นผลมาจากความตึงผิวของของเหลว ……2. แรงตึงผิวของของเหลวมีทิศขนานกับผิวของเหลวและตั้งฉากกับเส้นขอบที่ของเหลวสัมผัส ……3. การลาเลียงน้าและอาหารในลาต้นของพืชตามท่อไซเลม เป็นปรากฏการณ์ของแรงตึงผิว ……4. การเติมผงซักฟอกลงในน้าเวลาซักผ้า เกี่ยวข้องกับ ปรากฏการณ์ของแรงตึงผิว ……5. ของเหลวที่ไม่มีสารอื่นเจือปน เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นความตึงผิวจะมากขึ้น ……6. วัตถุที่ถูกทิ้งลงในของเหลว วัตถุจะเคลื่อนที่ลงด้วยความเร่งลดลงจนมีค่าเป็นศูนย์ ……7. วัตถุที่ถูกทิ้งลงในของเหลว วัตถุจะเคลื่อนที่ลงด้วยความเร็วลดลงจนมีค่าเป็นศูนย์ ……8. วัตถุที่ถูกทิ้งลงในของเหลว แรงหนืดเนื่องจากของเหลวที่กระทาต่อวัตถุจะมีค่าเพิ่มขึ้นจนมีค่ามากที่สุด แล้วคงตัว ……9. วัตถุที่ถูกทิ้งลงในของเหลว แรงหนืดเนื่องจากของเหลวที่กระทาต่อวัตถุจะมีค่าลดลงจนมีค่าเท่ากับศูนย์ ..…10. เมื่อวัตถุเคลื่อนที่ในของเหลว แรงหนืดที่ของเหลวกระทาต่อวัตถุจะขึ้นอยู่กับอัตราเร็วของวัตถุ ตอนที่ 2 ให้นักเรียนเลือกคาตอบข้อที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียน O ล้อมรอบข้อนั้น 1. จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้ 1 ) ของเหลวยิ่งอุณหภูมิสูง ความตึงผิวยิ่งลดลง 2 ) ของเหลวที่มีจุดเดือดสูง ย่อมมีความตึงผิวสูง ข้อความใดถูกต้อง ก. ข้อ 1 เท่านั้น ข. ข้อ 2 เท่านั้น ค. ผิดทั้งสองข้อ ง. ถูกทั้งสองข้อ 2. ข้อความในข้อใดที่ไม่ใช่ปรากฏการณ์ของแรงตึงผิว ก. การลาเลียงน้าและอาหารในลาต้นของพืชตามท่อไซเลม ข. การเติมผงซักฟอกลงในน้าเวลาซักผ้า ค. ปรากฏการณ์คะปิลลารี ง. การสูบน้าหมึกเข้าปากกาหมึกซึมทั่วไป 3. จากรูป อ่างที่ 1. ใส่น้า อ่างที่ 2. ใส่ปรอท หลอดไหนผิดจากความเป็นจริง ก. หลอดที่ 1 ข. หลอดที่ 2 ค. หลอดที่ 3 ง. หลอดที่ 4 1 2 3 4 ปรอท น้ำ
  • 5. เอกสารประกอบเรียน รายวิชาฟิสิกส์ เรื่อง ความตึงผิว และความหนืด หนา้ 5 4. ข้อใดไม่ถูกต้อง ก. น้าสบู่จะมีความตึงผิวน้อยกว่าน้าธรรมดา ข. ของเหลวที่ไม่มีสารอื่นเจือปน เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้นความตึงผิวจะมาก ค. ความตึงผิวเป็นสมบัติอย่างหนึ่งที่จะพยายามยึดผิวของของเหลวไว้ ง. ความดันของของเหลวจะพยายามทาให้ของของเหลวขยายตัวออกไป 5. ถ้าใช้ลวดวงกลม ที่มีเส้นรอบวงเท่ากับ 0.25 เมตร ทดลองเรื่องความตึงผิวของ ของเหลว พบว่าออกแรงดึงลวดนี้ขนาด 0.05 นิวตัน จึงจะทาให้ลวดนั้นหลุดพ้นจาก ผิวของของเหลวได้พอดี จงหาค่าความตึงผิวของของเหลวนี้เป็นกี่นิวตันต่อเมตร ก. 0.1 ข. 0.2 ค. 0.5 ง. 1.0 6. ในการคนของเหลวแต่ละชนิดนั้น จะออกแรงคนไม่เท่ากัน แสดงว่าของเหลวแต่ละชนิดมีแรงต้านภายในของ ของเหลวไม่เท่ากัน แรงต้านนี้ เรียกว่าอะไร ของของเหลว ก. แรงตึงผิว ข. แรงลอยตัว ค. แรงหนืด ง. แรงเสียดทาน 7. ข้อความต่อไปนี้ ข้อใดเป็นข้อที่ถูกต้อง ก. ขณะที่วัตถุหยุดนิ่งในของเหลว แรงหนืดจะมากที่สุด ข. ขณะที่วัตถุเคลื่อน อยู่ที่ระดับความลึกมากๆ ค่าแรงหนืดก็จะมากเป็นทวีคูณ ค. แรงหนืดจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับค่าของความเร็ว ง. แรงหนืดมีทิศไปทางเดียวกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ 8. จากการปล่อยลูกกลมโลหะให้เคลื่อนที่ในน้ามันหล่อลื่นดังรูป ข้อใดที่ไม่เป็นจริง ก. ช่วงต้นที่โลหะเคลื่อนที่จะเคลื่อนที่ด้วยความเร่ง ข. ช่วงปลายโลหะจะเคลื่อนที่ด้วยอัตราเร็วคงตัว ค. เมื่อโลหะเคลื่อนที่เร็วขึ้นแรงหนืดจะมีขนาดมากจนเท่ากับน้าหนักและแรงลอยตัว ง. แรงลัพธ์ที่กระทาต่อโลหะเปลี่ยนแปลงไปเกิดมาจากค่าแรงลอยตัวของของเหลวเปลี่ยนแปลงไป 9. เมื่อทดลองหย่อนลูกกลมโลหะเล็กๆ ก้อนหนึ่งลงในของเหลวต่างๆชนิดกัน จะพบว่า ก. ความเร็วสุดท้ายของลูกกลมโลหะในของเหลวทุกชนิดมีค่าเท่ากันหมด ข. ความเร็วสุดท้ายของลูกกลมโลหะในของเหลวที่มีความหนืดสูงจะมีค่าน้อย ค. ความเร็วสุดท้ายของลูกกลมโลหะแปรผันตรงกับความหนืดของของเหลว ง. ไม่มีข้อใดถูก 10. น้ามันหล่อลื่นใดที่มีความหนืดมากที่สุด ก. SAE 50 ข. SAE 40 ค. SAE 30 ง. SAE 20 F ลวดวงกลม ของเหลว