SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  40
Télécharger pour lire hors ligne
ฟิสิกส์อะตอม 3
การทดลองด้านสเปกตรัม
สเปกตรัมจากอะตอมของแก๊ส
การแผ่รังสีของวัตถุดา
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
การศึกษาสเปกตรัมของอะตอมเป็นการศึกษาเกี่ยวกับการวัดความยาวคลื่น
และความเข้ม ของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่อะตอมปล่อยออกมาหรือดูดกลืน
เข้าไป นักวิทยาศาสตร์ได้อาศัยผลการทดลองเกี่ยวกับสเปกตรัมของ
อะตอมเพื่อเป็นแนวทาง สาหรับสร้างทฤษฎีขึ้นมาอธิบายการจัดเรียงตัว
ของอิเล็กตรอนในอะตอม
ทาไม
นักวิทยาศาสตร์สนใจศึกษาสเปกตรัมอะตอม
เพราะ สเปกตรัมอะตอมเปรียบเสมือนลายพิมพ์ นิ้วมือของมนุษย์ซึ่งใช้พิสูจน์บุคคลได้ เนื่องจากลายพิมพ์
นิ้วมือแต่ละคนไม่เหมือนกัน เป็นลักษณะเฉพาะบุคคล สเปกตรัมอะตอมก็เช่นกัน เป็นลักษณะเฉพาะอะตอม
ธาตุแต่ละชนิดจะมีชุดของสเปกตรัมอะตอมไม่เหมือนกันเลย ดังนั้นเราจึงใช้ข้อมูลที่อ่านได้จากชุดของ
สเปกตรัมเพื่อพิสูจน์อะตอมได้
สเปกตรัมอะตอม
เกิดขึ้นได้อย่างไร
1: เกิดจากการเผาวัตถุแข็งหรือวัตถุเหลวให้ร้อน เช่น การเผาเกลือแกง (NaCl) จะได้
ไอร้อนของโซเดียม บริสุทธ์ซึ่งจะปล่อยคลื่นแสงที่ประกอบด้วยคลื่นทุก ย่านความถี่
อย่างต่อเนื่อง สเปกตรัมที่เกิดจากวิธีนี้เรียกว่า สเปกตรัมต่อเนื่องแถบสว่าง
(continuous bright spectrum)
2: เกิดจากการเผาแก๊สให้ร้อน แทนที่จะเป็นวัตถุแข็ง สเปกตรัมที่เกิดจากวิธีนี้เรียกว่า
สเปกตรัมเส้นสว่าง (bright line spectrum)
3: เกิดจากการปล่อยให้คลื่นแสงที่มีความถี่ต่อเนื่อง(จากแบบที่ 1) ผ่านแก๊สเย็น
สเปกตรัมที่เกิดจากวิธีนี้ เรียกว่า สเปกตรัมต่อเนื่องกับเส้นมืด (continuous spectrum
with dark lines)
ภาพนี้ดัดแปลงมาจาก
http://www.astro.virginia.edu/class/majewski/astr313/lectures/spectroscopy/spec.html
สรุปว่า
สเปกตรัมอะตอมเกิดจากการคายคลื่นแสงของอะตอมขณะร้อน
• ถ้าเป็นอะตอมของวัตถุแข็งหรือเหลวร้อนจะให้สเปกตรัม
ต่อเนื่องแถบสว่าง
• ถ้าเป็นอะตอมของแก๊สร้อนจะให้สเปกตรัมเส้นสว่าง
• แต่ถ้าเป็นอะตอมของแก๊สเย็น จะได้สเปกตรัมแบบเส้นมืด ซึ่ง
เกิดจากการดูดกลืนคลื่นแสง
The above image
shows a continuous
spectrum (top), an
absorption
spectrum (middle),
and an emission
spectrum (bottom)
for some of the
"Balmer lines" of
hydrogen—those
that lie within the
visible part of the
spectrum. The
sketch to the right is
a more-detailed
version, indicating
additional possible
transitions for an
electron in a
hydrogen atom.
ตัวอย่างสเปกตรัมอะตอมแบบเส้นสว่างของธาตุบางตัว
ตัวอย่างการคายพลังงานของอิเล็กตรอนของ
อะตอมไฮโดรเจนเกิดเป็นสเปกตรัมAt left is a hydrogen
spectral tube excited
by a 5000 volt
transformer. The three
prominent hydrogen
lines are shown at the
right of the image
through a 600
lines/mm diffraction
grating.
•Violet (380-435nm)
•Blue(435-500 nm)
•Cyan (500-520 nm)
•Green (520-565 nm)
•Yellow (565- 590 nm)
•Orange (590-625 nm)
•Red (625-740 nm)
ความยาวคลื่นของสเปกตรัมของแก๊สไฮโดรเจนร้อนมี 5 อนุกรม โดยมีชื่อเรียกตาม
นักวิทยาศาสตร์ที่ค้นพบสเปกตรัมแต่ละเส้นในอนุกรมนั้น และสามารถคานวณหาค่าความยาว
คลื่นของสเปกตรัมแต่ละเส้นในอนุกรมต่างๆ ได้โดยใช้สมการ
)
n
1
n
1
(R
1
2
i
2
f
H 

เมื่อ  คือ ความยาวคลื่นของสเปกตรัม (m)
RH คือ ค่านิจของริดเบอร์ก = 1.1 x 107 m-1
nf คือ ตัวเลขจานวนเต็มที่เท่ากับ 2
ni คือ ตัวเลขจานวนเต็มเริ่มตั้งแต่ 3, 4, 5,....
อนุกรมของสเปกตรัมชุดต่างๆ ของไฮโดรเจน
ชื่ออนุกรม ปีที่ค้นพบ
ส่วนกลับของ
ความยาวคลื่น nf ni
ช่วงของรังสี
ไลมาน (Lyman) 1906-1914 1 2, 3, 4,... อัลตราไวโอเลต( UV )
บัลเมอร์ (Balmer) 1885 2 3, 4, 5,... แสงที่ตามองเห็นถึงUV
พาสเชน (Paschen) 1908 3 4, 5, 6,...
อินฟราเรด ( IR )
แบรกเกต (Bracket) 1922 4 5, 6, 7,...
ฟุนด์ (Pfund) 1924 5 6, 7, 8,...
)
1
1
1
(
1
22
i
H
n
R 

)
1
2
1
(
1
22
i
H
n
R 

)
1
3
1
(
1
22
i
H
n
R 

)
1
4
1
(
1
22
i
H
n
R 

)
1
5
1
(
1
22
i
H
n
R 

จากสมการของบัลเมอร์ เมื่อเราแทนค่า nf = 2
ni = 3 จะได้  = 6,562.8 0A เป็นความยาวคลื่นของแสงสีแดง
ni = 4 จะได้  = 4,861.3 0A เป็นความยาวคลื่นของแสงสีน้าเงิน
ni = 5 จะได้  = 4,340.5 0A เป็นความยาวคลื่นของแสงสีม่วง
ni = 6 จะได้  = 4,101.7 0A เป็นความยาวคลื่นของแสงสีเหนือม่วง
)
1
2
1
(
1
22
i
H
n
R 

This spectrum was produced by
exciting a glass tube of hydrogen
gas with about 5000 volts from a
transformer. It was viewed
through a diffraction grating
with 600 lines/mm. The colors
cannot be expected to be
accurate because of differences
in display devices.
The spectral series of hydrogen, on a logarithmic scale.
http://jersey.uoregon.edu/vlab/elements/Elements.html
สเปกตรัมจากอะตอมของแก๊ส
1. ระดับพลังงานในสุด ( n = 1 ) จะเป็นระดับที่มีพลังงานต่า สุด และ
ถัดออกมาจะเป็น ระดับที่มีพลังงานมากขึ้นเรื่อยๆ และปกติ
อิเล็กตรอนชอบที่จะอยู่ชั้นในสุด ( n = 1 ) เพราะจะมี เสถียรภาพมาก
ที่สุด ภาวะเช่นนี้เรียกสภาวะพื้น( Ground State )
สเปกตรัมจากอะตอมของแก๊ส
2. หากอิเล็กตรอนได้รับพลังงานที่เหมาะสม อิเล็กตรอนจะดูด
พลังงานนั้นแล้วเคลื่อนย้ายจากระดับพลังงานต่าขึ้นไประดับพลังงาน
สูงกว่าเดิม เรียกภาวะเช่นนี้ว่าเป็นสภาวะกระตุ้น ( Excited State )
แต่ภาวะถูกกระตุ้นนี้อิเล็กตรอนจะมีพลังงานมากเกินไปจึงไม่เสถียร
อิเล็กตรอนจะคายพลังงานส่วนหนึ่งออกมแล้วเคลื่อนย้ายลงมาอยู่ใน
ระดับพลังงานที่ต่ากว่าเดิม
สเปกตรัมจากอะตอมของแก๊ส
3. พลังงานที่อิเล็กตรอนคายออกมาจะอยู่ในรูปของคลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้ าเสมอ
จากการวิเคราะห์สเปกตรัมของธาตุไฮโดรเจน พบว่าชุดความถี่
ของเส้นสเปกตรัมในช่วงที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่านั้นมี
ชื่อเรียกว่า
ก. Lyman series
ข. Balmer series
ค. Paschen series
ง. Brackett series
ในช่วงระดับพลังงานต่าสุดสามระดับแรกของอะตอมไฮโดรเจน คลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้ าที่ควรพบจะอยู่ในชุดความถี่ที่เรียกว่า
ก. ชุดไลมานและชุดบาล์มเมอร์
ข. ชุดไลมานและชุดพาเชน
ค. ชุดบาล์มเมอร์และชุดพาเชน
ง. ชุดไลมาน ชุดบาล์มเมอร์ และชุดพาเชน
การแผ่รังสีของวัตถุดา
วัตถุดา (Black Body ) คือ วัตถุที่มีการแผ่รังสีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ า
พลังงานที่แผ่ออกมาจากวัตถุดาแต่ละชนิดจะขึ้นอยู่กับแอมพลิจูดการสั่นของอะตอม
จานวนอะตอมในวัตถุ มีขนาดของพลังงานเป็น E = hf, 2hf, 3hf, . .. ..
สามารถเขียนเป็นสมการได้ ว่า E = n(hf)
เมื่อ n คือ เป็นตัวเลขจานวนเต็มบวก โดย n = 1,2, 3, . . . .
f คือ ความถี่ธรรมชาติการสั่นของอะตอมคู่ ( Hz )
h คือ ค่านิจของแพลงค์ ( h = 6.63 x 10-34 J.s )
• ปริมาณ hf จึงหมายถึง 1 ก้อนพลังงานแสง ซึ่งเรียกว่า 1 ควอนตัม
หรือ 1 โฟตอน (1 เม็ดแสง)
• อิเล็กตรอนโวลต์ (eV) เป็นหน่วยวัดพลังงานสาหรับอนุภาคขนาดเล็ก
โดย 1 eV = 1.6 x 10 -19 จูล
• พลังงาน 1 eV. จะเป็นพลังงานที่ได้จากการเร่งอิเล็กตรอนผ่านความต่าง
ศักย์ 1 โวลต์ (เร่งอิเล็กตรอน
• ผ่านความต่างศักย์ V โวลต์ จะทาให้อิเล็กตรอนมีพลังงานเป็น V
อิเล็กตรอนโวลต์)
Electron transitions and their resulting wavelengths for
hydrogen. Energy levels are not to scale.
การเคลื่อนอิเล็กตรอน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าที่คาย ชื่อชุดสเปกตรัม(อนุกรม)
จากชั้นบน ลงมา ชั้น 1 รังสีอัลตราไวโอเลต ไลแมน
จากชั้น 6 ลงมา ชั้น 2 แสงสีม่วง (410 nm) บัลเมอร์
จากชั้น 5 ลงมา ชั้น 2 แสงสีน้าเงิน(434 nm)
จากชั้น 4 ลงมา ชั้น 2 แสงสีน้าทะเล (484 nm)
จากชั้น 3 ลงมา ชั้น 2 แสงสีแดง (656 nm)
จากชั้นบน ลงมา ชั้น 3 รังสีอินฟาเรด พาสเชน
จากชั้นบน ลงมา ชั้น 4 รังสีอินฟาเรด แบรกเกต
จากชั้นบน ลงมา ชั้น 5 รังสีอินฟาเรด ฟุนด์
ตัวอย่างการคายพลังงานของอิเล็กตรอนของอะตอมไฮโดรเจนเกิดเป็นสเปกตรัมดังนี้
ทฤษฎีอะตอมของโบร์
อะตอมประกอบด้วยโปรตอนและ
นิวตรอน อยู่ภายในนิวเคลียส ส่วน
อิเล็กตรอนวิ่งอยู่รอบ ๆ นิวเคลียสเป็น
ชั้น ๆ หรือเป็นระดับพลังงานซึ่งมีค่า
เป็นขั้น ๆ อย่างเด็ดขาด ไม่มีค่าที่
ต่อเนื่องกัน
สรุปผลการทดลอง
การเปล่งแสงของธาตุไฮโดรเจน เกิดจากอิเล็กตรอนเปลี่ยนระดับพลังงานจากวงโคจรสูง
ไปสู่วงโคจรต่า พร้อมทั้งคายพลังงานในรูปแสงสีต่าง ๆ
ศึกษาสเปกตรัมการเปล่งแสงของธาตุ
โดยบรรจุแก๊สไฮโดรเจนในหลอดปล่อย
ประจุ จากนั้นให้พลังงานเข้าไปพบว่า
อิเล็กตรอนเคลื่อนจากขั้วบวกไปขั้วลบ
ชนกับแก๊สไฮโดรเจน จากนั้นเปล่งแสง
ออกมาผ่านปริซึมทาให้เราเห็นเป็นเส้น
สเปกตรัมสีต่าง ๆ ตกบนฉากรับภาพ
โบร์ ได้เสนอแบบจาลองอะตอมของไฮโดรเจนขึ้นมาโดยนาแนวคิดเรื่อง
ควอนตัมของ พลังงานของพลังค์ มาใช้กับแบบจาลองอะตอมของ
รัทเทอร์ฟอร์ด พร้อมทั้งเสนอสมมติฐานขึ้น ใหม่ 2 ข้อ ได้แก่
• อิเล็กตรอนมีวงโคจรรอบนิวเคลียสเป็นชั้นๆ โดยในแต่ละวงโคจร
จะมีโมเมนตัมเชิงมุม
• เมื่ออิเล็กตรอนเปลี่ยนวงโคจรจะคายหรือดูดพลังงาน เป็น
1 ควอนตัม
จากทฤษฎีของโบร์ทาให้แสดงได้ว่า อะตอมไฮโดรเจน จะมี
1. รัศมีอะตอม ;
2. อัตราเร็วของอิเล็กตรอน ;
3. พลังงานของอะตอม ;
ระดับพลังงาน - 13.6 eV เป็นระดับพลังงานของอิเล็กตรอน
อะตอมไฮโดรเจนวงในสุด เรียกว่า สถานะพื้น (ground state)
ถ้าอิเล็กตรอนอยู่ในระดับพลังงานสูงกว่าสถานะพื้นหรือในวงโคจร
ที่ n ≥ 2 เรียกสภาวะนี้ว่า สถานะกระตุ้น (excited state)
สเปกตรัมของอะตอมไฮโดรเจน จะเกิดจากการเปลี่ยนวงโคจรของ
อิเล็กตรอน คานวณได้จากความสัมพันธ์จากสูตร
หรือใช้สูตร Δ E (หน่วยเป็น eV) กับ λ (หน่วยเป็นนาโนเมตร)
จากสูตร
ภาพของอะตอมจากทฤษฎีของเบอร์ (Bohr) คือ
• ก. อิเล็กตรอนจะวิ่งวนรอบนิวเคลียสในวงโคจรบางวงโดยไม่แผ่คลื่น
แม่เหล็กไฟฟ้ าออกมา
• ข. อิเล็กตรอนรอบ ๆ นิวเคลียสเป็นเสมือนกลุ่มหมอกที่ห่อหุ้มนิวเคลียส
อยู่ที่ใดมีหมอกหนาแน่นมากจะมีโอกาสพบอิเล็กตรอน ณ ที่นั้นมาก
• ค. อิเล็กตรอนวิ่งวนรอบนิวเคลียสด้วยระยะห่างจากนิวเคลียสมาก เมื่อ
เทียบกับขนาดนิวเคลียส
• ง. อิเล็กตรอนที่อยู่รอบนิวเคลียสมีสมบัติคลื่นนิ่ง
อะตอมไฮโดรเจนจะอยู่ในสถานะพื้น เมื่อวงโคจร
อิเล็กตรอน
ก. ติดกับนิวเคลียส
ข. หลุดจากอะตอม
ค. อยู่ในระดับพลังงานต่าสุด
ง. อยู่ในสภาพสมดุล
สเปคตรัมที่ได้จากอะตอมของธาตุต่าง ๆ จะ
ก. เหมือนกันสาหรับธาตุทุกธาตุ
ข. จะแสดงคุณสมบัติเฉพาะของแต่ละธาตุ
ค. จะได้เป็นแถบสว่างเสมอ
ง. ได้เป็นเส้นมืดเสมอ
อะตอมจะมีการปล่อยโฟตอน เมื่ออิเล็กตรอน ตัวหนึ่งของอะตอม
ก. ชนกับตัวอื่น
ข. เมื่ออิเล็กตรอนเปลี่ยนสถานะ
ค. เมื่ออิเล็กตรอนเปลี่ยนสถานะไปอยู่ใน สถานะที่มีระดับพลังงานต่ากว่า
ง. เมื่ออิเล็กตรอนเปลี่ยนสถานะไปอยู่ในสถานะที่มีระดับพลังงานสูงกว่า
Physics atom part 3

Contenu connexe

Tendances

ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
การสลายของธาตุกัมมันตรังสี
การสลายของธาตุกัมมันตรังสีการสลายของธาตุกัมมันตรังสี
การสลายของธาตุกัมมันตรังสีChanthawan Suwanhitathorn
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุkruannchem
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559Pinutchaya Nakchumroon
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า Faris Singhasena
 
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าChapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าNapasorn Juiin
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลายyaowaluk
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...Prachoom Rangkasikorn
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมTa Lattapol
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์Chanthawan Suwanhitathorn
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าWorrachet Boonyong
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงพัน พัน
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจรWichai Likitponrak
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 

Tendances (20)

ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
การสลายของธาตุกัมมันตรังสี
การสลายของธาตุกัมมันตรังสีการสลายของธาตุกัมมันตรังสี
การสลายของธาตุกัมมันตรังสี
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก - 2559
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า
 
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้าChapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
Chapter 1 แหล่งกำเนิดไฟฟ้าและอุปกรณ์ไฟฟ้า
 
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลายแบบทดสอบก่อนเรียน  เรื่องการเตรียมสารละลาย
แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่องการเตรียมสารละลาย
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์ฟิสิกส์นิวเคลียร์
ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
ใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสงใบความรู้เรื่องแสง
ใบความรู้เรื่องแสง
 
เรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆเรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆ
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 

Similaire à Physics atom part 3

9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721CUPress
 
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2GanKotchawet
 
Atomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrAtomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrSaipanya school
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าwongteamjan
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]numpueng
 
การค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนการค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนkrupatcharee
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าuntika
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าrattanapon
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคChanthawan Suwanhitathorn
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุkrupatcharee
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด ณรรตธร คงเจริญ
 
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสารสมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสารพัน พัน
 

Similaire à Physics atom part 3 (20)

Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721
 
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
คลื่นเเม่เหล็กไฟฟ้า กลุ่มที่ 1 ม.6/2
 
Atomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohrAtomic model ruth & bohr
Atomic model ruth & bohr
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
Physics atom part 4
Physics atom part 4Physics atom part 4
Physics atom part 4
 
พลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้าพลังงานไฟฟ้า
พลังงานไฟฟ้า
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
 
การค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนการค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอน
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
 
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาคทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
ทวิภาวะของคลื่นและอนุภาค
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
Atom 3
Atom 3Atom 3
Atom 3
 
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสารสมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
 

Plus de Wijitta DevilTeacher

ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่Wijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Aการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด AWijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Cการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด CWijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด BWijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่นWijitta DevilTeacher
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกลWijitta DevilTeacher
 
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุWijitta DevilTeacher
 
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุนWijitta DevilTeacher
 
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุนWijitta DevilTeacher
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุนWijitta DevilTeacher
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุมWijitta DevilTeacher
 
07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชนWijitta DevilTeacher
 
06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดลWijitta DevilTeacher
 

Plus de Wijitta DevilTeacher (20)

ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Aการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Cการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
 
Physics atom part 5
Physics atom part 5Physics atom part 5
Physics atom part 5
 
Physics atom part 2
Physics atom part 2Physics atom part 2
Physics atom part 2
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
 
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
 
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
 
07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน
 
06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล
 

Physics atom part 3