SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  84
Télécharger pour lire hors ligne
1
เรียนรูจากโจทยเรื่องตรรกศาสตรเบื้องตน
1. เหตุ 1) ไมมีคนขยันคนใดเปนคนตกงาน
2) มีคนตกงานที่เปนคนใชเงินเกง
3) มีคนขยันที่ไมเปนคนใชเงินเกง
ผล ในขอใดตอไปนี้เปนการสรุปผลจาก เหตุ ขางตนที่เปนไปอยางสมเหตุสมผล
[O-net ปการศึกษา 2548]
1. มีคนขยันที่เปนคนใชเงินเกง
2. มีคนใชเงินเกงที่เปนคนตกงาน
3. มีคนใชเงินเกงที่เปนคนขยัน
4. มีคนตกงานที่เปนคนขยัน
2
2. จงพิจารณาขอความตอไปนี้
(1) นักกีฬาทุกคนมีสุขภาพดี
(2) คนที่มีสุขภาพดีบางคนเปนคนดี
(3) ภราดรเปนนักกีฬา และเปนคนดี
แผนภาพในขอใดตอไปนี้ มีความเปนไปไดที่จะสอดคลองกับขอความทั้งสามขอขางตน เมื่อจุด
แทนภราดร [O-net ปการศึกษา 2549]
1. 2.
3. 4.
• •
•
•
3
3. จงพิจารณาขอความตอไปนี้
1. คนตีกอลฟเกงทุกคนเปนคนสายตาดี
2. คนที่ตีกอลฟไดไกลกวา 300 หลา บางคน เปนคนสายตาดี
3. ธงชัยตีกอลฟเกงแตตีไดไมไกลกวา 300 หลา
แผนภาพในขอใดตอไปนี้ มีความเปนไปไดที่จะสอดคลองกับขอความทั้งสามขอขางตน เมื่อจุด
แทนธงชัย [O-net ปการศึกษา 2550]
1. 2.
3. 4.
• •
•
•
4
4. กําหนดเหตุใหดังตอไปนี้
เหตุ
(ก) ทุกจังหวัดที่อยูไกลจากกรุงเทพมหานครเปนจังหวัดที่มีอากาศดี
(ข) เชียงใหมเปนจังหวัดที่มีอากาศดี
ขอสรุปในขอใดตอไปนี้สมเหตุสมผล [O-net ปการศึกษา 2551]
1. เชียงใหมเปนจังหวัดที่อยูไมไกลจากกรุงเทพมหานคร
2. นราธิวาสเปนจังหวัดที่อยูไมไกลจากกรุงเทพมหานคร
3. เชียงใหมเปนจังหวัดที่อยูไกลจากกรุงเทพมหานคร
4. นราธิวาสเปนจังหวัดที่อยูไกลจากกรุงเทพมหานคร
5
5. พิจารณาการใหเหตุผลตอไปนี้
เหตุ 1) A
2) เหตุเปนพืชมีดอก
ผล เห็ดเปนพืชชั้นสูง
ขอสรุปขางตนสมเหตุสมผล ถา A แทนขอความใด [O-net ปการศึกษา 2552]
1. พืชชั้นสูงทุกชนิดมีดอก
2. พืชชั้นสูงบางชนิดมีดอก
3. พืชมีดอกทุกชนิดเปนพืชชั้นสูง
4. พืชมีดอกบางชนิดเปนพืชชั้นสูง
6
6. พิจารณาการอางเหตุผลตอไปนี้
ก. เหตุ 1. ถาฝนไมตกแลวเดชาไปโรงเรียน
2. ฝนตก
ผล เดชาไมไปโรงเรียน
ข. เหตุ 1. รัตนาขยันเรียน หรือรัตนาสอบชิงทุนรัฐบาลได
2. รัตนาไมขยันเรียน
ผล รัตนาสอบชิงทุนรัฐบาลได
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [O-net ปการศึกษา 2553]
1. ก. สมเหตุสมผล และ ข. สมเหตุสมผล
2. ก. สมเหตุสมผล และ ข. ไมสมเหตุสมผล
3. ก. ไมสมเหตุสมผล และ ข. สมเหตุสมผล
4. ก. ไมสมเหตุสมผล และ ข. ไมสมเหตุสมผล
7
7. ถาเอกภพสัมพันธเปนจํานวนจริง ขอความที่ถูกตองคือขอใด
[Entrance คณิต กข. ป 2520]
ก.
2
[ ]x x x x∀ + = เปนจริง เพราะ 2
2 2 2+ =
ข.
2
[ ]x x x x∀ + = เปนจริง เพราะ 2
1 1 1+ ≠
ค.
2
[ ]x x x x∀ + = เปนจริง เพราะ
2
[ ]x x x x∃ + = เปนจริง
ง.
2
[ ]x x x x∀ + = เปนเท็จ เพราะ
2
[ ]x x x x∃ + ≠ เปนจริง
8
8. ขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนจริง
[Entrance คณิต กข. ป 2521]
ก. ( ) ( )x y x y∨ → →∼
ข. ( ) ( )x y x y→ → →∼ ∼
ค. ( ) ( )x y x y∨ → →∼ ∼
ง. [( ) ] ( )x y x x y∧ → → →∼ ∼
จ. [( ) ] ( )x y y x y∧ → → →∼ ∼
9
9. ประพจน ( )x y z→ → สมมูลกับประพจนในขอใดตอไปนี้
[Entrance คณิต กข. ป 2521]
ก. ( )x z y→ →
ข. ( )y x z→ →
ค. ( )y z x→ →
ง. ( )z x y→ →
จ. ( )x z y→ →
10
10. ถากําหนดเอกภพสัมพันธ { 1,0,1}= − จงบอกวาประพจนใดเปนจริง
[Entrance คณิต กข. ป 2521]
ก.
2 2
[ ]x y x y y x∀ ∀ − = −
ข.
2 2
[ ]x y x y y x∀ ∀ − ≠ −
ค.
2 2
[ ]x y x y y x∀ ∃ − = −
ง.
2 2
[ ]x y x y y x∃ ∀ − = −
จ.
2 2
[ ]x y x y y x∃ ∀ − ≠ −
11
11. ประพจนในขอใดตอไปนี้เปนจริง
[Entrance คณิต กข. ป 2522]
ก. ( ) ( )p q p q→ → ∧∼ ∼
ข. ( ) ( )p q p q→ ↔ ∨∼
ค. [( ) ] [ ( ) ]p q r p q r∨ ∨ ↔ ∧ ∧∼ ∼ ∼
ง. [( ) ( )] [( ) ]p r q r p q r→ ∧ → ↔ ∧ →
จ. [( ) ( )] [ ( )]p q p r p q r→ ∨ → → → ∧
12
12. ภาควิชาตองการนัดอาจารยในภาค 5 คน มาประชุมพรอมกันโดยไมทําใหการประชุมนี้มี
ผลกระทบกระเทือนตอชั่วโมงสอนของอาจารยในแตละวัน ซึ่งแบงเปนภาคเชาและบาย ถาทราบวา
อาจารย ก. วางสอน วันจันทร,พุธเชา,พฤหัสเชา และ วันศุกร
อาจารย ข. มีชั่วโมงสอน จันทรบาย และ พฤหัสเชา เทานั้น
อาจารย ค. วางสอน จันทรเชา,อังคารเชา,พุธบาย,พฤหัสเชา และ ศุกรเชา
อาจารย ง. สอนทุกวัน ยกเวน จันทรบาย,อังคารบาย,วันพุธ,พฤหัสเชา และ วันศุกรทั้งวัน
อาจารย จ. มีแตงานวิจัย ไมมีชั่วโมงสอน
อยากทราบวา ภาควิชาควรนัดอาจารยมาประชุมในวันและเวลาชวงใด
[Entrance คณิต กข. ป 2523]
ก. จันทรเชา ข. พุธเชา ค. พฤหัสเชา
ง. ศุกรเชา จ. ไมมีคําตอบที่ถูกตองสมบูรณ
13
13. ถาทราบวาไมมีนักเรียนเกเรคนไหนที่ขยัน และ นักเรียนทุกคนที่สอบไดเปนเด็กขยัน แดงเปน
นักเรียนที่ขยัน ดังนั้น
[Entrance คณิต กข. ป 2523]
ก. แดงสอบได และ แดงเปนเด็กอยูในโอวาท ไมเกเร
ข. แดงสอบตกและแดงเกเร
ค. แดงเปนเด็กเกเร แตแดงโชคดีสอบได
ง. แดงเปนเด็กอยูในโอวาท ไมเกเร แตแดงโชครายสอบตก
จ. ไมมีขอใดถูก
14
14. ประพจนตอไปนี้ขอใดผิด
[Entrance คณิต กข. ป 2523]
ก. ( )p q p p q∨ ∧ ↔ ∧∼ ∼
ข. ( ( ) ( )) ( ( ) ( ))p q p q p q p q∨ → ∧ ↔ ∧ → ∨∼ ∼
ค. ( ) ( )p q p q↔ ↔ ↔∼ ∼ ∼
ง. ( ) ( )p q p q∧ → ↔ มีคาความจริงเปนจริงเสมอ
จ. ( )p q p q→ ↔ ∧∼ ∼
15
15. กําหนดให p,q,r เปนประพจนใดๆ ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
[Entrance คณิต กข. ป 2524]
ก. ( )r p q∨ ∧ ∼ ไมสมมูลกับ ( )p q r→ ∨∼
ข. ( )p q r∨ ∨∼ ไมสมมูลกับ ( )p q r→ ∨
ค. [ ( )] [ ( )]q r r q q q∧ ∨ ∨ ∧ ∧∼ ∼ สมมูลกับ q
ง. ( )p q r∧ → สมมูลกับ ( )r p q→ ∧∼ ∼ ∼
จ. ( )p q r∧ → สมมูลกับ ( )r p q∨ ∧∼
16
16. กําหนดใหเอกภพสัมพัทธ คือ { 2, 1,0,1,2}− −
P(x) คือ x เปนจํานวนคี่
Q(x) คือ
4
x
เปนจํานวนคู
ประพจน A คือ [ ( ) ( )]x P x Q x∀ ∨
ประพจน B คือ [ ( ) (0)]x P x Q∃ →
ประพจน C คือ [ ( 1) ( )]x Q P x∀ − →
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
[Entrance คณิต กข. ป 2524]
ก. ประพจน A และประพจน B เทานั้นที่มีคาความจริงเปนจริง
ข. ประพจน A และประพจน B เทานั้นที่มีคาความจริงเปนเท็จ
ค. ประพจน A และประพจน C เทานั้นที่มีคาความจริงเปนจริง
ง. ประพจน A และประพจน C เทานั้นที่มีคาความจริงเปนเท็จ
จ. ประพจน A เพียงประพจนเดียวเทานั้นที่มีคาความจริงเปนจริง
17
17. ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง
[Entrance คณิต กข. ป 2524]
ก. ในกรณีที่ [ ( )]x P x∀ มีคาความจริงเปนเท็จ อาจมีกรณีที่ [ ( )]x P x∃ มีคาความจริงเปน
จริง
ข. ประโยค “ถาเขียน 3 ใหอยูในรูปทศนิยมแลว จะไดทศนิยมตําแหนงที่หาสิบ คือ 2” ไม
เปนประพจน เพราะไมสามารถสรุปไดทันทีวา ประโยคนี้มีคาความจริงเปนอยางไร
ค. ให p,q,r และ s เปนประพจนใดๆ โดยที่ p มีคาความจริงเปนจริง q มีคาความจริงเปนเท็จ
จะไดประพจน ( ) [( ) ( )]p s q r s p∧ → ∨ ∧ ↔∼ ∼ มีคาความจริงเปนจริง
ง. ประโยค “ ถา 2x ≠ แลว 2
1x < − ” เปนประโยคเปด
จ. นิเสธ [ ( )]x P x∃ ∼ คือ [ ( )]x P x∀
18
18. กําหนด p,q,r,s เปนประพจนโดยที่ ( ) ( )p r q s∨ → ∨ เปนเท็จ และ p q→
เปนจริง ประพจนในขอใดตอไปนี้เปนเท็จ
[Entrance คณิต กข. ป 2525]
ก. p s→ ข. q s→ ค. r s→
ง. q r→ จ. s r→
19
19. กําหนดเอกภพสัมพัทธเปนเซตของจํานวนจริงบวก จงพิจารณาวานิเสธของ
1
[( ) ( )]N x x N
x
ε ε∀ ∃ ∀ > → < คือประพจนขอใดตอไปนี้
[Entrance คณิต กข. ป 2525]
ก.
1
[( ) ( )]N x x N
x
ε ε∀ ∃ ∀ ≤ → ≥
ข.
1
[( ) ( )]N x x N
x
ε ε∃ ∀ ∃ > → <
ค.
1
[( ) ( )]N x x N
x
ε ε∀ ∃ ∀ ≤ → <
ง.
1
[( ) ( )]N x x N
x
ε ε∃ ∀ ∃ > ∧ ≥
จ.
1
[( ) ( )]N x x N
x
ε ε∃ ∀ ∃ ≤ ∧ <
20
20. ให x เปนเซตของผูแทนราษฎร y เปนเซตของจังหวัดของประเทศไทย และ P(x,y) แทน
ขอความ “x เปนผูแทนราษฎรของจังหวัด y” ขอใดตอไปนี้เปนเท็จ
[Entrance คณิต กข. ป 2526]
ก. [ ( , )]x y P x y∀ ∃
ข. [ ( , )]y x P x y∀ ∃
ค. [ ( , )]x y P x y∃ ∀
ง. [ ( , )]y x P x y∃ ∃
21
21. กําหนดให P(x) แทนประโยค
2
[ 1, ]x x x R∃ ≠ − ∈
Q(x) แทนประโยค rx D∈ เมื่อ {( , ) | 2}r x y R R y x= ∈ × = −
R(x) แทนประโยค x เปนจํานวนตรรกยะที่อยูระหวาง 0.010010001…
กับ 0.1010010001…
S(x) แทนประโยค x เปนจํานวนเชิงซอน
จงหาวาประโยคในขอใดมีคาเปนจริง
[Entrance คณิต กข. ป 2527]
ก. [ (0.01) ( )] [ ( 2) (0.01)]R S Q Rπ→ ∧ →∼ ∼
ข. [ ( ) ( 2)] [ ( ) (0.01)]P x Q P x R∨ → ↔∼ ∼
ค. [ ( ) ( ( 2) ( ))] ( 2)P x Q P x Q∨ → →∼
ง. [ ( ) ( ( ) (0.01))] ( 2)S S R Qπ π∨ → →∼
22
22. ถา ( ) ( )x x y z∨ → ∨∼ มีคาเปนเท็จ แลว ( )x x∧ ∼ มีคาความจริงเหมือนขอใด
[Entrance คณิต กข. ป 2527]
ก. ( )x z y∨ →
ข. [( ) ]x z y x→ ∧ →∼
ค. ( ) ( )x y x y∨ → ∧∼ ∼
ง. ( )x y z∧ →∼
23
23. กําหนดให R เปนเซตของจํานวนจริง N เปนเซตของจํานวนนับ และเอกภพสัมพัทธเปน R
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
[Entrance คณิต กข. ป 2528]
ก. รูปสัญลักษณของขอความ “มีจํานวนจริงบวก x ซึ่ง 2
1 7x + ≤ ” คือ
2
[ 0 1 7]x x x∃ > → + ≤
ข. รูปสัญลักษณของขอความ “สําหรับจํานวนจริง x ใดๆมีจํานวนจริง y ซึ่ง 10x y+ >
หรือ
2 2
3x y+ = ” คือ
2 2
[ 0 3]y x x y x y∃ ∀ + > ∨ + =
ค. รูปสัญลักษณของขอความ “แตละจํานวนจริง x และ y จะได
3 3
9x y+ > ” คือ
3 3
[ 9]x y x y∃ ∃ + >
ง. รูปสัญลักษณของขอความ “ถาทุกจํานวนจริง x มากกวา 5 แลว จะมีจํานวนนับ y ซึ่ง
2
1 0y− > ” คือ
2
[ 5] [ 1 0]x x y y N y∀ > → ∃ ∈ ∧ − >
24
24. กําหนดให R เปนเซตของจํานวนจริง Q เปนเซตของจํานวนตรรกยะ I เปนเซตของจํานวน
เต็ม และเอกภพสัมพัทธเปน R ขอความใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนจริง
[Entrance คณิต กข. ป 2528]
ก.
2
[ 2] [ 9 3]x x Q x x x x∃ ∉ ∧ > → ∀ > → >
ข. [ 3 8]x x I x∀ ∈ ∨ + >
ค. { |x x Q∈ และ x มีเศษเปนศูนย}เปนเซตอนันต↔
2 2
[ 1 0]x x x x x∃ ≤ ∨ + + =
ง.
3 2
[ 5 1 4] [ 1 0 2]x x x x x x∃ + − < ∧ ∀ − < → ≥ −
25
25. ใหเอกภพสัมพัทธเปนเซตของจํานวนเต็ม ประพจนใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนจริง
[Entrance คณิต กข. ป 2529]
ก. [( 0) ( 0)] { [ 0] [ 0]}x x x x x x x∀ > ∨ ≤ → ∀ > ∨ ∀ ≤
ข. { [ 0] [ 0]} { [( 0) ( 0)]x x x x x x x∃ > ∧ ∃ ≤ → ∃ > ∧ ≤
ค. [( 0) ( 0)] { [ 0] [ 0]}x x x x x x x∀ > → > → ∃ > → ∀ >
ง. [( 0) ( 0)] { [ 0] [ 0]}x x x x x x x∀ > → > → ∀ > → ∀ >
26
26. นิยาม ทอโทโลยี คือประพจนที่มีคาความจริงเปนจริงทุกกรณี ประพจนใดตอไปนี้ไมเปนทอ
โทโลยี
[Entrance คณิต กข. ป 2529]
ก. [( ) ( )] ( )p q r p q p r∧ → ∧ → → →
ข. [( ) ( )] ( )p q q r p r→ ∧ → → →
ค. [( ( )] [( ) ]p q r p q r→ → ↔ → →
ง. [( ( )] [( ) ]p q r p q r↔ ↔ ↔ ↔ ↔
27
27. ขอใดตอไปนี้ผิด
[Entrance คณิต กข. ป 2530]
ก. ( )p r q∧ ∨∼ ∼ ∼ กับ ( )q r p→ ∨ ∼ เปนขอความที่สมมูลกัน
ข. กําหนดใหประพจน p มีคาความจริงเปนจริง
ประพจน q มีคาความจริงเปนเท็จ
คาความจริงของขอความ [( ) ]q p r r→ ∨ ↔∼ เปนจริง
ค. กําหนดใหเอกภพสัมพัทธ คือ {0,1,2,3}ประโยค [ 3 0]x x∀ − ≥ มีคาความจริงเปน
จริง
ง. กําหนดใหเอกภพสัมพัทธ คือ เซตของจํานวนนับ ขอความ
2
{( [ 1x x∃ − เปนจํานวนนับ]
2
[ 1 0]) [ 0]}x x x
x
∧∀ + ≥ → ∀ < มีคาความจริงเปนเท็จ
28
28. ถา ( )p q∨∼ และ r p→ มีคาความจริงเปนจริงแลว ขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปน
เท็จ
[Entrance คณิต กข. ป 2531]
ก. ( ) ( )p q r q∨ → ∧∼ ∼
ข. ( ) ( )p q r q∧ → ∧∼
ค. ( ) ( )p q r q p→ ∧ → ∨ ∼
ง. ( ) ( )p r q p q→ ∨ → ∧∼ ∼
29
29. ขอความคูใดไมสมมูลกัน
[Entrance คณิต กข. ป 2532]
ก. p q∨ และ ( )p q∧∼ ∼ ∼
ข. ( )p q∧∼ ∼ และ q p→∼ ∼
ค. ( )p q p→ →∼ และ q p→∼
ง. p q↔∼ และ ( ) ( )p q q p→ ∧ →∼ ∼
30
30. กําหนดใหขอความตอไปนี้มีคาความจริงเปนเท็จ
[Entrance คณิต กข. ป 2533]
“ผูที่ใสรองเทาแตะและกางเกงขาสั้น เปนผูที่ไมไดรับอนุญาตใหเขามาในโรงงาน”
ถา p แทน ผูที่ใสรองเทาแตะ
q แทน ผูที่ใสกางเกงขาใส
r แทน ผูที่ไมไดรับอนุญาตใหเขามาในโรงงาน
แลวขอความใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนเท็จ
ก. ( )p q r∨ →∼
ข. ( )p q r∧ →∼ ∼
ค. ( )p q r∧ →∼
ง. ( )p q r∨ →∼ ∼
31
31. ใหเอกภพสัมพัทธ { | 1 2}U x R x= ∈ − ≤ ขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนจริง
[Entrance คณิต กข. ป 2533]
ก.
2
[ 3 6]x x∀ − <
ข. [1 2 5]x x∀ < + <
ค. [ 2 2 ]x x x∃ + < −
ง. [ 2]x x∃ >
32
32. ให p และ q เปนประพจน ถา p*q มีคาความจริงตามตารางขางลางนี้
p q p*q
T T F
T F F
F T F
F F T
แลวประพจน p*q สมมูลกับประพจนในขอใดตอไปนี้
[Entrance คณิต กข. ป 2534]
ก. ( )p q→∼ ∼
ข. p q→∼
ค. ( )q p→∼ ∼
ง. q p→∼
33
33. กําหนดเอกภพสัมพัทธ {1, 1, , }U i i= − − โดยที่ 1i = − ขอใดมีคาความจริงเปน
เท็จ
[Entrance คณิต กข. ป 2534]
ก.
2
[ 1]z z∃ =
ข.
36
[ 1]z z∀ =
ค.
1
[ ]z z
z
∃ =
ง.
3
[ 0]z z z∀ − =
34
34. กําหนดให
p คือ ประพจน “ถา a,b,c เปนจํานวนจริง และ ab<ac แลว b<c” และ
q คือ ประพจน “ถา x และ y เปนจํานวนอตรรกยะแลว x+y เปนจํานวนอตรรกยะ”
ประพจนในขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนจริง
[Entrance คณิต กข. ป 2534]
ก. p q∧ ∼
ข. p q∧
ค. p q∧∼ ∼
ง. p q∧∼
35
35. ประพจนที่สมมูลกับประพจน p q↔ คือประพจนในขอใด
[Entrance คณิต กข. ป 2535]
ก. ( ) ( )p q q p→ ∧ ∧ ∼
ข. ( ) ( )q p q p→ ∧ ∨∼ ∼ ∼
ค. ( ) ( )p q q p∧ ∧ →∼
ง. ( ) ( )p q p q∧ ∧ →∼ ∼ ∼
36
36. ใหเอกภพสัมพัทธคือ เซตของจํานวนจริง พิจารณาขอความตอไปนี้
(1)
2
4log
[ 0 2 ]x
x x x∀ ≠ → =
(2)
1
[2 3 ]x x
x +
∃ =∼
ขอใดตอไปนี้ถูก
[Entrance คณิต กข. ป 2536]
ก. (1)จริง(2)เท็จ
ข. (1)เท็จ(2)จริง
ค. จริงทั้ง (1)และ(2)
ง. เท็จทั้ง (1)และ(2)
37
37. กําหนดให p คือประพจน “ถา a+c > b+c แลว a > b เมื่อ a,b,c คือจํานวนจริง
ใดๆ” q คือประพจน “สําหรับจํานวนจริง x ใดๆ 2x ≥ ก็ตอเมื่อ 2x ≥ ”
ดังนั้น ประพจน p q∨∼ จะมีคาความจริง ไมเหมือนกับคาความจริงของประพจนขอใด
ตอไปนี้
[Entrance คณิต กข. ป 2536]
ก. p q∧∼
ข. p q∧
ค. ( )p q∨∼
ง. p q∨ ∼
38
38. ประพจนใดตอไปนี้สมมูลกับประพจน ( ) ( )p r q r→ ∧ →
[Entrance คณิต กข. ป 2537]
ก. ( )p q r∧ ∨ ∼
ข. ( )p q r∧ →
ค. ( )p q r∨ ∨∼
ง. ( )p q r∨ →∼
39
39. กําหนดใหเอกภพสัมพัทธเปนเซตของจํานวนจริง และ p แทนประพจน
“สําหรับจํานวนจริงบวก x ใดๆ ผลบวกของ x กับ
1
x
มีคามากกวา 1”
พิจารณาขอความตอไปนี้
(1) p สมมูลกับ
1
[ 0 ( 1)]x x x
x
∀ ≤ ∨ + >
(2) p มีคาความจริงเปนจริง
ขอใดตอไปนี้ถูก
[Entrance คณิต กข. ป 2537]
ก. ทั้ง(1)และ(2) ถูก
ข. (1) ถูก (2) ผิด
ค. (1) ผิด (2) ถูก
ง. ทั้ง(1)และ(2) ผิด
40
40. พิจารณาขอความตอไปนี้
(1) เหตุ 1. นายสมหมายเปนคนขยันหรือนายสมหมายไดที่หนึ่งของหอง
2. นายสมหมายไมเปนคนขยัน
ผล นายสมหมายสอบไดที่หนึ่งของหอง
(2) เหตุ 1. ถาสมศรีไปเที่ยวชายทะเลแลวสมศรีไมสบาย
2. สมศรีไมสบาย
ผล สมศรีไปเที่ยวชายทะเล
การอางเหตุผลใน (1) ละ (2) ขางตน สมเหตุสมผลหรือไม
[Entrance คณิต กข. ป 2537]
ก. (1) สมเหตุสมผล (2) สมเหตุสมผล
ข. (1) สมเหตุสมผล (2) ไมสมเหตุสมผล
ค. (1) ไมสมเหตุสมผล (2) สมเหตุสมผล
ง. (1) ไมสมเหตุสมผล (2) ไมสมเหตุสมผล
41
41. ให p,q และ r เปนประพจน ถา ( ) ( )p q q r∧ → ∨∼ มีคาความจริงเปนเท็จ แลว
ประพจนในขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนจริง
[Entrance คณิต กข. ป 2538]
ก. p q∨∼
ข. p r→∼
ค. p q∧
ง. q r↔∼
42
42. พิจารณาขอความตอไปนี้
(1) ถา p และ q เปนประพจน โดยที่ p q→ เปนสัจจนิรันดร แลว p q∨ ∼ เปนสัจจนิ
รันดรดวย
(2) นิเสธของขอความ [ 6] [ 8]x x x x∃ < → ∀ > คือ [ 6] [ 8]x x x x∀ ≥ ∧ ∃ ≤
ขอใดตอไปนี้ถูก
[Entrance คณิต กข. ป 2538]
ก. ทั้งขอ (1) และขอ (2) ถูก
ข. ขอ (1) ถูก ขอ (2) ผิด
ค. ขอ (1) ผิด ขอ (2) ถูก
ง. ทั้งขอ (1) และขอ (2) ผิด
43
43. ถา p และ q เปนประพจนแลว ประพจน ( )p q p→ →∼ สมมูลกับประพจนในขอ
ใดตอไปนี้
[Entrance คณิต กข. ป 2540]
ก. ( )p p q∨ ∧∼ ∼
ข. ( )p p q∨ ∨∼
ค. ( )p p q→ ∨∼ ∼
ง. ( )p p q→ ∧∼
44
44. กําหนดให p,q,r,s เปนประพจน ประพจนในขอใดตอไปนี้ไมเปนสัจจนิรันดร
[Entrance คณิต กข. ป 2541]
ก. [ ( )] [( ) ( )]p q r p q p r∨ ∧ ↔ ∨ ∧ ∨
ข. [ ( )] [ ( )]p q r p q r∨ ∧ ∨ ∨ ∧∼
ค. [( ) )] [ ( )]p q r r p q∨ → ↔ → ∧∼ ∼ ∼
ง. [( ) ( ) ( ) ]p q q r s r s p→ ∧ → ∧ ∨ ∧ ↔∼ ∼
45
45. ประพจน ( ( ))p q r p→ → ∨∼ สมมูลกับประพจนในขอใดตอไปนี้
[Entrance คณิต 1- ตุลาคม ป 2541]
ก. ( )p q r∨ ∨∼
ข. ( )p q r∨ ∨∼
ค. ( )p q r∨ ∨ ∼
ง. ( ) ( )p q r∨ ∨∼ ∼
46
46. พิจารณาการอางเหตุผลตอไปนี้ เมื่อ p,q และ r เปนประพจน
(1) เหตุ 1. ( )p p q∨ ∧ ∼
2. p q→
ผล q
(2) เหตุ 1. p r→∼
2. r s∨∼
3. s∼
ผล p
ขอใดตอไปนี้ถูก
[Entrance คณิต 1- ตุลาคม ป 2541]
ก. (1) และ (2) สมเหตุสมผล
ข. (1) สมเหตุสมผล แต (2) ไมสมเหตุสมผล
ค. (1) ไมสมเหตุสมผล แต (2) สมเหตุสมผล
ง. (1) และ (2) ไมสมเหตุสมผล
47
47. ให p,q,r,s และ t เปนประพจน ถาประพจน ( ) ( )p q r s∧ → ∨ มีคาความจริงเปน
เท็จแลว ประพจนในขอใดตอไปนี้ มีคาความจริงเปนเท็จ
[Entrance คณิต 1- ตุลาคม ป 2543]
ก. ( ) ( )p r s t∧ ↔ ∧
ข. ( ) ( )p s q t∧ → ∨
ค. ( ) ( )p s r t∧ ∨ ∧
ง. ( ) ( )r p s t→ ∧ →
48
48. กําหนดเอกภพสัมพัทธคือ {2 | }U n n I +
= ∈ เมื่อ I+
เปนเซตของจํานวนเต็มบวก
พิจารณาขอความตอไปนี้
(1)
2 3
[2 18(2 ) 4 0]x x
x +
∃ − + = มีคาความจริงเปนจริง
(2) 2 2[log ( 2) log ( 1) 2]x x x∃ + + − = มีคาความจริงเปนจริง
[Entrance คณิต 1- ตุลาคม ป 2543]
ก. (1) ถูก และ (2) ถูก
ข. (1) ถูก และ (2) ผิด
ค. (1) ผิด และ (2) ถูก
ง. (1) ผิด และ (2) ถูก
49
49. พิจารณาขอความตอไปนี้ เมื่อเอกภพสัมพัทธ คือ เซตของจํานวนจริง
(1) [cot 2 cot 0]x x x∃ − =
(2)
4 4 21
[sin cos 1 sin 2 ]
2
x x x x∀ + = −
คาความจริงของขอความ (1) และ (2) เปนไปตามขอใด
[Entrance คณิต 1- ตุลาคม ป 2544]
ก. (1) เปนจริง และ (2) เปนจริง
ข. (1) เปนจริง และ (2) เปนเท็จ
ค. (1) เปนเท็จ และ (2) เปนจริง
ง. (1) เปนเท็จ และ (2) เปนเท็จ
50
50. กําหนดให p,q,r เปนประพจนที่มีคาความจริงเปน จริง เท็จ และ เท็จ ตามลําดับ ประพจน
ในขอใดตอไปนี้ มีคาความจริงเหมือนกับประพจน ( ) ( )p q r p→ ∨ ∧∼ ∼
[Entrance คณิต 1- ตุลาคม ป 2544]
ก. ( ) ( )r p q r→ ∧ ∨∼
ข. ( ) ( )q r p q∧ ↔ →∼ ∼ ∼
ค. ( ) ( )p r q r∨ → ∧∼ ∼
ง. ( ) ( )p q r q→ ∨ ↔∼
51
51. พิจารณาขอความตอไปนี้
(1) ถา p,q เปนประพจน โดยที่ p มีคาความจริงเปนจริง และ ( )q p q→ ∨∼ ∼ เปน
สัจจนิรันดรแลว q มีคาความจริงเปนจริง
(2) นิเสธของขอความ [ ( ) ( ) ( )]x P x Q x R x∃ ∧ ∧∼ ∼ คือขอความ
[ ( ) ( ( ) ( ))]x Q x P x R x∀ → ∨
ขอใดตอไปนี้ถูก
[Entrance คณิต 1- ตุลาคม ป 2545]
ก. (1) ถูก และ (2) ถูก
ข. (1) ถูก และ (2) ผิด
ค. (1) ผิด และ (2) ถูก
ง. (1) ผิด และ (2) ผิด
52
52. กําหนดให P(x) และ Q(x) เปนประโยคเปด โดยที่ [ ( )] [ ( )]x P x x Q x∀ → ∃ ∼
มีคาความจริงเปนเท็จ เมื่อเอกภพสัมพัทธคือ เซตของจํานวนจริง ขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปน
จริง
[Entrance คณิต 1- ป 2545]
ก. [ ( ) ( )]x P x Q x∃ ∧ ∼
ข. [ ( ) ( )]x P x Q x∃ ∨∼ ∼
ค. [ ( ) ( )]x P x Q x∀ →∼
ง. [ ( ) ( )]x P x Q x∀ →
53
53. พิจารณาการอางเหตุผลตอไปนี้
(1) เหตุ 1. p q∧
2. ( ) ( )q r s p∨ → ∧
3. p r→∼
4. s r∧ ∼
ผล s r∧ ∼
(2) เหตุ 1. ( ) ( )P x Q x→∼
2. ( ) ( )Q x R x∨
ผล ( ) ( )P x R x→
ขอใดตอไปนี้ถูก
[Entrance คณิต 1- ตุลาคม ป 2546]
ก. (1) และ (2) สมเหตุสมผลทั้งคู
ข. (1) สมเหตุสมผล แต (2) ไมสมเหตุสมผล
ค. (1) ไมสมเหตุสมผล แต (2) สมเหตุสมผล
ง. (1) และ (2) ไมสมเหตุสมผลทั้งคู
54
54. ใหเอกภพสัมพัทธ คือ เซตของจํานวนจริง
ถา P(x) แทนขอความ 2
3 0x x− <
และ Q(x) แทนขอความ 2 log 1x− < < −
แลวประโยคในขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนจริง
[Entrance คณิต 1- ตุลาคม ป 2546]
ก. [ ( ) ( )]x P x Q x∀ →
ข. [ ( ) ( )]x Q x P x∀ →
ค. [ ( ) ( )]x P x Q x∀ →∼
ง. [ ( ) ( )]x P x Q x∀ →∼
55
55. พิจารณาขอความตอไปนี้
(1) ถาประพจน [ ( )] ( )p q r r s∧ → → ∨ มีคาความจริงเปนเท็จ แลว p q s∧ →
มีคาความจริงเปนเท็จ
(2) นิเสธของขอความ
2
[( ) ( )]x y x y x y∀ ∃ > ∧ < คือ
2
[( ) ( )]x y x y y x∃ ∀ > → ≤
ขอใดตอไปนี้ถูก
[Entrance คณิต 1- ป 2547]
ก. (1) ถูก และ (2) ถูก
ข. (1) ถูก แต (2) ผิด
ค. (1) ผิด แต (2) ถูก
ง. (1) ผิด และ (2) ผิด
56
56. กําหนดเอกภพสัมพัทธ คือ ชวงเปด ( 2,2)− พิจารณาขอความตอไปนี้
(1) ประพจน
2 2
[x x x x x∀ + ≤ + และ
2
]x x≤ มีคาความจริงเปนจริง
(2) ประพจน
2
[ 6 0]x x x∃ − − ≥ มีคาความจริงเปนจริง
ขอใดตอไปนี้ถูก
[Entrance คณิต 1- ป 2547]
ก. (1) ถูก และ (2) ถูก
ข. (1) ถูก แต (2) ผิด
ค. (1) ผิด แต (2) ถูก
ง. (1) ผิด และ (2) ผิด
57
57. กําหนดเอกภพสัมพัทธคือ { 3, 2, 1,1,2,3}U = − − − ขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปน
เท็จ
[A-net กุมภาพันธ ป 2549]
1. [ ]x y x y y∃ ∀ + <
2.
2
[ ]x y x y x∃ ∀ − <
3.
2
[ ]x y xy x∃ ∀ =
4.
2
[ ]x y x y y∃ ∀ =
58
58. ให p,q,r เปนประพจน
ถาประพจน ( )p q r→ ∨ มีคาความจริงเปนจริง
และ ( )p q r∨ ∧ มีคาความจริงเปนเท็จ
แลวประพจนในขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนเท็จ
[A-net กุมภาพันธ ป 2549]
1. ( )q p r∨ →∼
2. ( )p p q→ ∨∼ ∼
3. ( ) ( )q r p q r∨ → ∨ ∧∼
4. [( ) ( )] [ ( )]q r p q r∨ → ∧ ∨∼ ∼
59
59. พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ใหเอกภพสัมพัทธคือเซตของจํานวนเฉพาะบวก
ขอความ
2
[ 1 ]x y x x y∀ ∃ + + = มีคาความจริงเปนจริง
ข. นิเสธของขอความ [ ( ) ( ( ) ( ))]x P x Q x R x∀ → ∨ คือ
[ ( ) ( ) ( )]x P x Q x R x∃ ∧ ∧∼ ∼
ขอใดตอไปนี้ถูก
[A-net กุมภาพันธ ป 2550]
1. ก ถูก และ ข ถูก
2. ก ถูก และ ข ผิด
3. ก ผิด และ ข ถูก
4. ก ผิด และ ข ผิด
60
60. กําหนดเหตุใหดังนี้
1. เอกภพสัมพัทธไมเปนเซตวาง 2. [ ( ) ( )]x P x Q x∀ →
3. [ ( ) ( )]x Q x R x∀ ∨ 4. [ ( )]x R x∃ ∼
ขอความในขอใดตอไปนี้เปนผลที่ทําใหการอางเหตุผล สมเหตุสมผล
[A-net กุมภาพันธ ป 2551]
1. [ ( )]x P x∃
2. [ ( )]x Q x∃
3. [ ( )]x P x∀
4. [ ( )]x Q x∀
61
61. กําหนดให p,q,r เปนประพจน จงพิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ประพจน ( ( ))p p q r→ → ∨ สมมูลกับประพจน ( )p q r→ ∨
ข. ประพจน ( )p q r∧ → สมมูลกับประพจน ( ) ( )q p p r→ ∨ →∼ ∼
ขอใดตอไปนี้ถูก
[PAT1 มีนาคม ป 2552]
1. ก ถูก และ ข ถูก
2. ก ถูก และ ข ผิด
3. ก ผิด และ ข ถูก
4. ก ผิด และ ข ผิด
62
62. กําหนดใหเอกภพสัมพัทธ คือ {{1,2},{1,3},{2,3}}U =
ขอใดตอไปนี้ถูก
[PAT1 มีนาคม ป 2552]
1. [ ]x y x y∀ ∀ ∩ ≠ ∅
2. [ ]x y x y U∀ ∀ ∪ =
3. [ ]x y y x y x∀ ∃ ≠ ∧ ⊂
4. [ ]x y y x y x∃ ∀ ≠ ∧ ⊂
63
63. กําหนดให P(x) และ Q(x) เปนประโยคเปด
ประโยค [ ( )] [ ( )]x P x x Q x∀ → ∃ ∼ สมมูลกับประโยคในขอใดตอไปนี้
[PAT1 กรกฎาคม ป 2552]
1. [ ( )] [ ( )]x P x x Q x∀ → ∃∼
2. [ ( )] [ ( )]x Q x x P x∀ → ∃ ∼
3. [ ( )] [ ( )]x P x x Q x∃ → ∀
4. [ ( )] [ ( )]x Q x x P x∃ → ∀∼
64
64. กําหนดให { | 10}U n I n+
= ∈ ≤ ประโยคในขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนเท็จ
[PAT1 กรกฎาคม ป 2552]
1.
2 2
[( ) ( )]x y x y x y∀ ∀ = → =
2.
2
[( 1) ( )]x y x x y∀ ∃ ≠ → >
3. [ ]x y xy x y∃ ∀ ≤ +
4.
2 2
[( ) 9 ]x y x y y xy∃ ∃ − ≥ +
65
65. กําหนดใหเอกภพสัมพัทธคือ เซต { 2, 1,1,2}− −
ประโยคในขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนเท็จ
[PAT1 ตุลาคม ป 2552]
1. [ 0 1]x y x x y∃ ∃ ≤ ∧ = +
2. [ ( ) 0]x y x y x y∃ ∀ ≤ ∧ − + ≥
3. [ 0 0]x y x y x y∀ ∃ + = ∨ − =
4. [ ]x y x y x y∀ ∀ < ∨ >
66
66. กําหนดให p,q,r เปนประพจน
พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ถา q r∧ มีคาความจริงเปนจริง แลว p และ [( ) ]p q r p∨ ∧ → มีคาความ
จริงเหมือนกัน
ข. ถา p มีคาความจริงเปนเท็จแลว r และ ( )p q r∧ → มีคาความจริงเหมือนกัน
ขอใดตอไปนี้เปนจริง
[PAT1 ตุลาคม ป 2552]
1. ก ถูก และ ข ถูก
2. ก ถูก และ ข ผิด
3. ก ผิด และ ข ถูก
4. ก ผิด และ ข ผิด
67
67. กําหนดให p และ q เปนประพจนใดๆ
ขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนเท็จ
[PAT1 มีนาคม ป 2553]
1. ( )p q p→ ∨
2. ( )p p q∧ →∼
3. [( ) ]p q p q→ ∧ →
4. ( ) ( )p q p q→ ↔ ∧∼ ∼ ∼
68
68. ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
[PAT1 มีนาคม ป 2553]
1. ถาเอกภพสัมพัทธคือ { 1,0,1}− คาความจริงของ
2 2
[ ]x y x x y y∀ ∃ + = + เปนเท็จ
2. ถาเอกภพสัมพัทธเปนเซตของจํานวนจริง คาความจริงของ 3[3 log ]x
x x∃ = เปนจริง
3. ถาเอกภพสัมพัทธเปนเซตของจํานวนจริง นิเสธของขอความ
[( 0 0) ( 0)]x y x y xy∀ ∃ > ∧ ≤ ∧ < คือ
[( 0) ( 0 0)]x y xy x y∃ ∀ < → ≤ ∨ >
4. ถาเอกภพสัมพัทธเปนเซตของจํานวนเต็ม นิเสธของขอความ
3 2
[ 0 ]x x x x∀ > → ≥
คือ
3
[( 0) ( )]x x x x∃ ≤ ∧ <
69
69. กําหนดให A,B และ C เปนประพจนใดๆ
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
[PAT1 ตุลาคม ป 2553]
1. ถา A B↔ มีคาความจริงเปนจริงแลว ( ) ( )B C A C∧ → →∼ มีคาความ
จริงเปนเท็จ
2. ประพจน [( ) ( )]A A B B C→ ∧ ∨ ∨ เปนสัจจนิรันดร
3. ประพจน [( ) ] [( ) ( )]A B C A B A C∧ → → → → → เปนสัจจนิรันดร
4. ประพจน ( ) ( )A C B C→ ∧ → สมมูลกับประพจน ( )A B C∧ →
70
70. กําหนดเอกภพสัมพัทธคือ เซตของจํานวนจริง และ
( )P x แทน
2
( 1) 1x x+ = +
( )Q x แทน 1 2x + >
ขอใดตอไปนี้มีคาความจริง ตรงขามกับประพจน [ ( )] [ ( )]x P x x Q x∃ → ∀
[PAT1 ตุลาคม ป 2553]
1. [ ( )] [ ( )]x P x x Q x∃ → ∀∼ ∼
2. [ ( )] [ ( )]x P x x Q x∃ → ∃
3. [ ( ) ( )] [ ( )]x P x Q x x P x∃ ∧ → ∀
4. [ ( ) ( )] [ ( )]x P x Q x x Q x∃ ∨ → ∀
71
71. กําหนดให p,q,r และ s เปนประพจนที่ ประพจน ( ) ( )p q r s∨ → ∨ มีคาความ
จริงเปนเท็จ และ ประพจน p r↔ มีคาความจริงเปนจริง ประพจนในขอใดมีคาความจริงเปน
จริง
[PAT1 กรกฎาาคม ป 2553]
1. ( ) ( )q p q r→ ∧ →
2. [ ( )]q p q r→ ∨ ∧ ∼
3. ( ) ( )p s r q→ ↔ ↔
4. ( ) [ ( )]r s q p r↔ ∧ → ∧
72
72. กําหนดเอกภพสัมพัทธ คือ { 1,0,1}−
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
[PAT1 กรกฎาาคม ป 2553]
1. [ 2 0]x y x y∀ ∀ + + > มีคาความจริงเปนจริง
2. [ 0]x y x y∀ ∃ + ≥ มีคาความจริงเปนเท็จ
3. [ 1]x y x y∃ ∀ + = มีคาความจริงเปนเท็จ
4. [ 1]x y x y∃ ∃ + > มีคาความจริงเปนเท็จ
73
73. กําหนดให p,q และ r เปนประพจนโดยที่ ( ),p q r r p→ → ∨ ∼ และ p มีคา
ความจริงเปนจริง ประพจนในขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนเท็จ
[PAT1 มีนาคม ป 2554]
1. [ ( )] ( )p q r q r→ → ↔ ∧∼ ∼
2. [ ( )] [( ) )]p r q r p q→ → ↔ → →
3. [ ( )] [ ( )]p r q r p q→ ∧ ↔ → ∧∼
4. [ ( )] [ ( )]p q r r p q∨ → ↔ → →∼
74
74. กําหนดเอกภพสัมพัทธคือ ชวงเปด ( , )
4 2
π π
พิจารณาขอความตอไปนี้
(ก) คาความจริงของ
sin cos
[(cos ) (sin ) ]x x
x x x∀ < เปนจริง
(ข) คาความจริงของ
cos cos
[(cos ) (sin ) ]x x
x x x∃ < เปนเท็จ
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
[PAT1 มีนาคม ป 2554]
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
75
75. กําหนดให p,q และ r เปนประพจนใดๆ โดยที่ p q→∼ มีคาความจริงเปนเท็จ
พิจารณาขอความตอไปนี้
ก. ( ) [( ) ]p r p r q↔ → ∨ → มีคาความจริงเปนเท็จ
ข. ( ) [ ]p r q p→ → →∼ มีคาความจริงเปนจริง
ขอสรุปใดถูกตอง
[PAT1 ธันวาคม ป 2554]
1. ก ถูก ข ถูก
2. ก ถูก ข ผิด
3. ก ผิด ข ถูก
4. ก ผิด ข ผิด
76
76. กําหนดให P(x) และ Q(x) เปนประโยคเปด ถา [ ( )] [ ( )]x P x x Q x∀ ∧ ∀ ∼ มีคา
ความจริงเปนจริงแลว ประพจนในขอใดมีคาความจริงเปนเท็จ
[PAT1 ธันวาคม ป 2554]
1. [ ( ) ( )]x P x Q x∀ →
2. [ ( ) ( )]x P x Q x∃ ∨∼ ∼
3. [ ( ) ( )]x P x Q x∃ ∧ ∼
4. [ ( ) ( )]x P x Q x∀ →∼
77
77. กําหนดให p,q,r และ s เปนประพจนใดๆ
ประพจน [( ) ] [( ) ( )]p q p r s r s∧ ∨ → ∨ ∧ ∨∼ ∼ ∼ สมมูลกับประพจนในขอใด
ตอไปนี้
[PAT1 ตุลาคม ป 2555]
1. p r→
2. q r→
3. ( ) ( )p r q r∨ ∧ ∨
4. ( ) ( )q r q s∨ ∧ ∨
78
78. กําหนดให p และ q เปนประพจน ประพจนในขอใดตอไปนี้เปนสัจจนิรันดร
[PAT1 ตุลาคม ป 2555]
1. ( ) ( )p q q p→ → →
2. ( ) ( )p q p q∨ → →∼ ∼
3. [( ) ] ( )p q p p q∧ → → →∼ ∼
4. [( ) ] ( )p q q p q∧ → → →∼
79
79. พิจารณาขอความตอไปนี้
(ก) ถา p,q และ r เปนประพจนโดยที่ ( )p q r→ ∧ มีคาความจริงเปนจริง แลว
[( ) ( )]r p q p r→ → ∧ →∼ มีคาความจริงเปนจริง
(ข) กําหนดเอกภพสัมพัทธคือ
2
{ | 2 3}x R x x∈ ≤ + เมื่อ R คือเซตของจํานวนจริง แลว
3
[3 6 3 ]x x
x −
∃ + = มีคาความจริงเปนจริง
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
[PAT1 ตุลาคม ป 2555]
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
80
80. กําหนดให P แทนประพจน “ถา A C B C∪ ⊂ ∪ แลว A B⊂ เมื่อ A,B และ
C เปนเซตใดๆ”
และให Q แทนประพจน “ถาC A B⊂ ∪ แลว C A⊂ และ C B⊂ เมื่อ A,B และ
C เปนเซตใดๆ”
พิจารณาขอความตอไปนี้
(ก) ประพจน [( ) ]P Q Q P∨ ∧ ↔∼ มีคาความจริงเปนจริง
(ข) ประพจน ( ) ( )P Q P Q→ → ∧∼ ∼ มีคาความจริงเปนเท็จ
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
[PAT1 มีนาคม ป 2556]
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
81
81. กําหนดให a และ b เปนจํานวนจริง โดยที่ ab>0
ให p แทนประพจน “ถา a b< แลว
1 1
a b
> ” และ q แทนประพจน “ ab a b= ”
ประพจนในขอใดมีคาความจริงเปนจริง
[PAT1 มีนาคม ป 2557]
1. ( ) ( )p q q p→ ∨ ∧ ∼
2. ( ) ( )q p q p→ ∧ ∨∼ ∼ ∼
3. ( ) ( )p q q p∧ ∧ →∼
4. ( ) ( )p q p q→ → ∧∼
82
82. กําหนดให p,q,r และ s เปนประพจนใดๆ พิจารณาขอความตอไปนี้
(ก) ถาประพจน ( ) ( )p q r s∨ ↔ ∧ และประพจน p มีคาความจริงเปนจริง แลวสรุปได
วา ประพจน s มีคาความจริงเปนจริง
(ข) ประพจน ( ) ( )p q r s∧ → ∧ สมมูลกับประพจน
[ ( )] [ ( )]q p r p q s→ → ∧ → →
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
[PAT1 มีนาคม ป 2557]
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
83
83. กําหนดใหเอกภพสัมพัทธคือ เซตของจํานวนจริงบวก พิจารณาขอความตอไปนี้
(ก) ประพจน
2 2
[ 5 4 6 5]x x x x x∀ − + < + + มีคาความจริงเปนจริง
(ข) ประพจน
2
[ 1 2 2]x x x∀ − < − มีคาความจริงเปนเท็จ
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
[PAT1 เมษายน ป 2557]
1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก
2. (ก) ถูก แต (ข) ผิด
3. (ก) ผิด แต (ข) ถูก
4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
84
84. กําหนดให p,q,r,s และ t เปนประพจน ซึ่ง ( )p q r→ ∧ มีคาความจริงเปนเท็จ
( )p s t↔ ∨ มีคาความจริงเปนจริง
ประพจนในขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนจริง
[PAT1 เมษายน ป 2557]
1. ( ) ( )q s p q∧ → ∧
2. ( )s t q∧ →∼
3. ( )q s p∨ ↔
4. ( )p r s→ →

Contenu connexe

Tendances

แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
sontayath
 

Tendances (19)

Analytic geometry1
Analytic geometry1Analytic geometry1
Analytic geometry1
 
Calculus
CalculusCalculus
Calculus
 
Vector
VectorVector
Vector
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
Trigonometry1
Trigonometry1Trigonometry1
Trigonometry1
 
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
แบบฝึกทักษะเมทริกซ์ เล่ม 1 ระบบสมการเชิงเส้น เผยแพร่
 
Expo
ExpoExpo
Expo
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
Cal 7
Cal 7Cal 7
Cal 7
 
59 matrix-101059
59 matrix-10105959 matrix-101059
59 matrix-101059
 
Cal 3
Cal 3Cal 3
Cal 3
 
Cal 2
Cal 2Cal 2
Cal 2
 
ความสัมพันธ์601
ความสัมพันธ์601ความสัมพันธ์601
ความสัมพันธ์601
 
Cal 8
Cal 8Cal 8
Cal 8
 
60 matrix-021060
60 matrix-02106060 matrix-021060
60 matrix-021060
 
Pat1 54-10+key
Pat1 54-10+keyPat1 54-10+key
Pat1 54-10+key
 
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึมบทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
บทที่ 1 เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โปเนนเชียลและลอการิทึม
 
Cal 9
Cal 9Cal 9
Cal 9
 

Similaire à Logic problem p

Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Suwaraporn Chaiyajina
 
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Theyok Tanya
 
Pat1 53
Pat1  53Pat1  53
Pat1 53
DearPR
 
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒPat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Majolica-g
 
การสอบย่อย1 ตรรกศาสตร์
การสอบย่อย1  ตรรกศาสตร์การสอบย่อย1  ตรรกศาสตร์
การสอบย่อย1 ตรรกศาสตร์
krukanidfkw
 

Similaire à Logic problem p (20)

ข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริงข้อสอบจำนวนจริง
ข้อสอบจำนวนจริง
 
Add m5-2-chapter1
Add m5-2-chapter1Add m5-2-chapter1
Add m5-2-chapter1
 
Conc mat กสพท54
Conc mat กสพท54Conc mat กสพท54
Conc mat กสพท54
 
logic reasoning
logic reasoninglogic reasoning
logic reasoning
 
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริงแบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
 
Pat1 58-03+key
Pat1 58-03+keyPat1 58-03+key
Pat1 58-03+key
 
Math9
Math9Math9
Math9
 
Pat1 53-10+key
Pat1 53-10+keyPat1 53-10+key
Pat1 53-10+key
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
Pat1
Pat1Pat1
Pat1
 
ข้อสอบ PAT1 53 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
ข้อสอบ PAT1 53 ความถนัดทางคณิตศาสตร์ข้อสอบ PAT1 53 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
ข้อสอบ PAT1 53 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
 
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
 
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
Pat1 ความถนัดทางคณิตศาสตร์
 
Pat1 53
Pat1  53Pat1  53
Pat1 53
 
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒPat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
Pat1 เธ„เธงเธฒเธกเธ–เธ™เธฑเธ”เธ—เธฒเธ‡เธ„เธ“เธดเธ•เธจเธฒเธชเธ•เธฃเนŒ
 
Pat1 53
Pat1 53Pat1 53
Pat1 53
 
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6 สรุปเนื้อหา O- net ม.6
สรุปเนื้อหา O- net ม.6
 
Real
RealReal
Real
 
การสอบย่อย1 ตรรกศาสตร์
การสอบย่อย1  ตรรกศาสตร์การสอบย่อย1  ตรรกศาสตร์
การสอบย่อย1 ตรรกศาสตร์
 
Medical sheet
Medical sheetMedical sheet
Medical sheet
 

Plus de Thanuphong Ngoapm

Plus de Thanuphong Ngoapm (20)

เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdf
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdfเฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdf
เฉลยข้อสอบคณิตศาสตร์ ระดับมัธยมต้น สพฐ. ปี 2566 (รอบแรก)คณิตม.ต้น66.pdf
 
เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565
เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565
เฉลยข้อสอบแข่งขันคณิตศาสตร์ นานาชาติ ระดับชั้นมัธยมต้น รอบแรก สพฐ. ปี2565
 
การประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdf
การประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdfการประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdf
การประยุกต์อินทิเกรทในคณิตศาสตร์แคลคูลัส.pdf
 
อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
อินทิกรัล แคลคูลัสสำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
 
intro_linear_algebra_key6.1.pdf
intro_linear_algebra_key6.1.pdfintro_linear_algebra_key6.1.pdf
intro_linear_algebra_key6.1.pdf
 
math_เครื่องกล_เฉลย.pdf
math_เครื่องกล_เฉลย.pdfmath_เครื่องกล_เฉลย.pdf
math_เครื่องกล_เฉลย.pdf
 
เฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdfเฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_มีค.61.pdf
 
เฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdfเฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชา_ธค.59.pdf
 
เฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdfเฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdf
เฉลยคณิต1_9วิชาสามัญ_ธค.58.pdf
 
ลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdf
ลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdfลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdf
ลำดับและอนุกรม_onet_เฉลย.pdf
 
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdf
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdfความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdf
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน_onet_เฉลย.pdf
 
ความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdf
ความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdfความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdf
ความน่าจะเป็น_onet_เฉลย.pdf
 
ตรีโกณ_onet_เฉลย.pdf
ตรีโกณ_onet_เฉลย.pdfตรีโกณ_onet_เฉลย.pdf
ตรีโกณ_onet_เฉลย.pdf
 
สถิติ_onet_เฉลย.pdf
สถิติ_onet_เฉลย.pdfสถิติ_onet_เฉลย.pdf
สถิติ_onet_เฉลย.pdf
 
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdf
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdfเลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdf
เลขยกกำลัง_onet_เฉลย_.pdf
 
การให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdf
การให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdfการให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdf
การให้เหตุผล_onet_เฉลย.pdf
 
จำนวนจริง_onet_เฉลย.pdf
จำนวนจริง_onet_เฉลย.pdfจำนวนจริง_onet_เฉลย.pdf
จำนวนจริง_onet_เฉลย.pdf
 
เซต_onet_เฉลย.pdf
เซต_onet_เฉลย.pdfเซต_onet_เฉลย.pdf
เซต_onet_เฉลย.pdf
 
analyticalof3rdPolynomial.pdf
analyticalof3rdPolynomial.pdfanalyticalof3rdPolynomial.pdf
analyticalof3rdPolynomial.pdf
 
4thpolynoml.pdf
4thpolynoml.pdf4thpolynoml.pdf
4thpolynoml.pdf
 

Logic problem p

  • 1. 1 เรียนรูจากโจทยเรื่องตรรกศาสตรเบื้องตน 1. เหตุ 1) ไมมีคนขยันคนใดเปนคนตกงาน 2) มีคนตกงานที่เปนคนใชเงินเกง 3) มีคนขยันที่ไมเปนคนใชเงินเกง ผล ในขอใดตอไปนี้เปนการสรุปผลจาก เหตุ ขางตนที่เปนไปอยางสมเหตุสมผล [O-net ปการศึกษา 2548] 1. มีคนขยันที่เปนคนใชเงินเกง 2. มีคนใชเงินเกงที่เปนคนตกงาน 3. มีคนใชเงินเกงที่เปนคนขยัน 4. มีคนตกงานที่เปนคนขยัน
  • 2. 2 2. จงพิจารณาขอความตอไปนี้ (1) นักกีฬาทุกคนมีสุขภาพดี (2) คนที่มีสุขภาพดีบางคนเปนคนดี (3) ภราดรเปนนักกีฬา และเปนคนดี แผนภาพในขอใดตอไปนี้ มีความเปนไปไดที่จะสอดคลองกับขอความทั้งสามขอขางตน เมื่อจุด แทนภราดร [O-net ปการศึกษา 2549] 1. 2. 3. 4. • • • •
  • 3. 3 3. จงพิจารณาขอความตอไปนี้ 1. คนตีกอลฟเกงทุกคนเปนคนสายตาดี 2. คนที่ตีกอลฟไดไกลกวา 300 หลา บางคน เปนคนสายตาดี 3. ธงชัยตีกอลฟเกงแตตีไดไมไกลกวา 300 หลา แผนภาพในขอใดตอไปนี้ มีความเปนไปไดที่จะสอดคลองกับขอความทั้งสามขอขางตน เมื่อจุด แทนธงชัย [O-net ปการศึกษา 2550] 1. 2. 3. 4. • • • •
  • 4. 4 4. กําหนดเหตุใหดังตอไปนี้ เหตุ (ก) ทุกจังหวัดที่อยูไกลจากกรุงเทพมหานครเปนจังหวัดที่มีอากาศดี (ข) เชียงใหมเปนจังหวัดที่มีอากาศดี ขอสรุปในขอใดตอไปนี้สมเหตุสมผล [O-net ปการศึกษา 2551] 1. เชียงใหมเปนจังหวัดที่อยูไมไกลจากกรุงเทพมหานคร 2. นราธิวาสเปนจังหวัดที่อยูไมไกลจากกรุงเทพมหานคร 3. เชียงใหมเปนจังหวัดที่อยูไกลจากกรุงเทพมหานคร 4. นราธิวาสเปนจังหวัดที่อยูไกลจากกรุงเทพมหานคร
  • 5. 5 5. พิจารณาการใหเหตุผลตอไปนี้ เหตุ 1) A 2) เหตุเปนพืชมีดอก ผล เห็ดเปนพืชชั้นสูง ขอสรุปขางตนสมเหตุสมผล ถา A แทนขอความใด [O-net ปการศึกษา 2552] 1. พืชชั้นสูงทุกชนิดมีดอก 2. พืชชั้นสูงบางชนิดมีดอก 3. พืชมีดอกทุกชนิดเปนพืชชั้นสูง 4. พืชมีดอกบางชนิดเปนพืชชั้นสูง
  • 6. 6 6. พิจารณาการอางเหตุผลตอไปนี้ ก. เหตุ 1. ถาฝนไมตกแลวเดชาไปโรงเรียน 2. ฝนตก ผล เดชาไมไปโรงเรียน ข. เหตุ 1. รัตนาขยันเรียน หรือรัตนาสอบชิงทุนรัฐบาลได 2. รัตนาไมขยันเรียน ผล รัตนาสอบชิงทุนรัฐบาลได ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [O-net ปการศึกษา 2553] 1. ก. สมเหตุสมผล และ ข. สมเหตุสมผล 2. ก. สมเหตุสมผล และ ข. ไมสมเหตุสมผล 3. ก. ไมสมเหตุสมผล และ ข. สมเหตุสมผล 4. ก. ไมสมเหตุสมผล และ ข. ไมสมเหตุสมผล
  • 7. 7 7. ถาเอกภพสัมพันธเปนจํานวนจริง ขอความที่ถูกตองคือขอใด [Entrance คณิต กข. ป 2520] ก. 2 [ ]x x x x∀ + = เปนจริง เพราะ 2 2 2 2+ = ข. 2 [ ]x x x x∀ + = เปนจริง เพราะ 2 1 1 1+ ≠ ค. 2 [ ]x x x x∀ + = เปนจริง เพราะ 2 [ ]x x x x∃ + = เปนจริง ง. 2 [ ]x x x x∀ + = เปนเท็จ เพราะ 2 [ ]x x x x∃ + ≠ เปนจริง
  • 8. 8 8. ขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนจริง [Entrance คณิต กข. ป 2521] ก. ( ) ( )x y x y∨ → →∼ ข. ( ) ( )x y x y→ → →∼ ∼ ค. ( ) ( )x y x y∨ → →∼ ∼ ง. [( ) ] ( )x y x x y∧ → → →∼ ∼ จ. [( ) ] ( )x y y x y∧ → → →∼ ∼
  • 9. 9 9. ประพจน ( )x y z→ → สมมูลกับประพจนในขอใดตอไปนี้ [Entrance คณิต กข. ป 2521] ก. ( )x z y→ → ข. ( )y x z→ → ค. ( )y z x→ → ง. ( )z x y→ → จ. ( )x z y→ →
  • 10. 10 10. ถากําหนดเอกภพสัมพันธ { 1,0,1}= − จงบอกวาประพจนใดเปนจริง [Entrance คณิต กข. ป 2521] ก. 2 2 [ ]x y x y y x∀ ∀ − = − ข. 2 2 [ ]x y x y y x∀ ∀ − ≠ − ค. 2 2 [ ]x y x y y x∀ ∃ − = − ง. 2 2 [ ]x y x y y x∃ ∀ − = − จ. 2 2 [ ]x y x y y x∃ ∀ − ≠ −
  • 11. 11 11. ประพจนในขอใดตอไปนี้เปนจริง [Entrance คณิต กข. ป 2522] ก. ( ) ( )p q p q→ → ∧∼ ∼ ข. ( ) ( )p q p q→ ↔ ∨∼ ค. [( ) ] [ ( ) ]p q r p q r∨ ∨ ↔ ∧ ∧∼ ∼ ∼ ง. [( ) ( )] [( ) ]p r q r p q r→ ∧ → ↔ ∧ → จ. [( ) ( )] [ ( )]p q p r p q r→ ∨ → → → ∧
  • 12. 12 12. ภาควิชาตองการนัดอาจารยในภาค 5 คน มาประชุมพรอมกันโดยไมทําใหการประชุมนี้มี ผลกระทบกระเทือนตอชั่วโมงสอนของอาจารยในแตละวัน ซึ่งแบงเปนภาคเชาและบาย ถาทราบวา อาจารย ก. วางสอน วันจันทร,พุธเชา,พฤหัสเชา และ วันศุกร อาจารย ข. มีชั่วโมงสอน จันทรบาย และ พฤหัสเชา เทานั้น อาจารย ค. วางสอน จันทรเชา,อังคารเชา,พุธบาย,พฤหัสเชา และ ศุกรเชา อาจารย ง. สอนทุกวัน ยกเวน จันทรบาย,อังคารบาย,วันพุธ,พฤหัสเชา และ วันศุกรทั้งวัน อาจารย จ. มีแตงานวิจัย ไมมีชั่วโมงสอน อยากทราบวา ภาควิชาควรนัดอาจารยมาประชุมในวันและเวลาชวงใด [Entrance คณิต กข. ป 2523] ก. จันทรเชา ข. พุธเชา ค. พฤหัสเชา ง. ศุกรเชา จ. ไมมีคําตอบที่ถูกตองสมบูรณ
  • 13. 13 13. ถาทราบวาไมมีนักเรียนเกเรคนไหนที่ขยัน และ นักเรียนทุกคนที่สอบไดเปนเด็กขยัน แดงเปน นักเรียนที่ขยัน ดังนั้น [Entrance คณิต กข. ป 2523] ก. แดงสอบได และ แดงเปนเด็กอยูในโอวาท ไมเกเร ข. แดงสอบตกและแดงเกเร ค. แดงเปนเด็กเกเร แตแดงโชคดีสอบได ง. แดงเปนเด็กอยูในโอวาท ไมเกเร แตแดงโชครายสอบตก จ. ไมมีขอใดถูก
  • 14. 14 14. ประพจนตอไปนี้ขอใดผิด [Entrance คณิต กข. ป 2523] ก. ( )p q p p q∨ ∧ ↔ ∧∼ ∼ ข. ( ( ) ( )) ( ( ) ( ))p q p q p q p q∨ → ∧ ↔ ∧ → ∨∼ ∼ ค. ( ) ( )p q p q↔ ↔ ↔∼ ∼ ∼ ง. ( ) ( )p q p q∧ → ↔ มีคาความจริงเปนจริงเสมอ จ. ( )p q p q→ ↔ ∧∼ ∼
  • 15. 15 15. กําหนดให p,q,r เปนประพจนใดๆ ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [Entrance คณิต กข. ป 2524] ก. ( )r p q∨ ∧ ∼ ไมสมมูลกับ ( )p q r→ ∨∼ ข. ( )p q r∨ ∨∼ ไมสมมูลกับ ( )p q r→ ∨ ค. [ ( )] [ ( )]q r r q q q∧ ∨ ∨ ∧ ∧∼ ∼ สมมูลกับ q ง. ( )p q r∧ → สมมูลกับ ( )r p q→ ∧∼ ∼ ∼ จ. ( )p q r∧ → สมมูลกับ ( )r p q∨ ∧∼
  • 16. 16 16. กําหนดใหเอกภพสัมพัทธ คือ { 2, 1,0,1,2}− − P(x) คือ x เปนจํานวนคี่ Q(x) คือ 4 x เปนจํานวนคู ประพจน A คือ [ ( ) ( )]x P x Q x∀ ∨ ประพจน B คือ [ ( ) (0)]x P x Q∃ → ประพจน C คือ [ ( 1) ( )]x Q P x∀ − → ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [Entrance คณิต กข. ป 2524] ก. ประพจน A และประพจน B เทานั้นที่มีคาความจริงเปนจริง ข. ประพจน A และประพจน B เทานั้นที่มีคาความจริงเปนเท็จ ค. ประพจน A และประพจน C เทานั้นที่มีคาความจริงเปนจริง ง. ประพจน A และประพจน C เทานั้นที่มีคาความจริงเปนเท็จ จ. ประพจน A เพียงประพจนเดียวเทานั้นที่มีคาความจริงเปนจริง
  • 17. 17 17. ขอใดตอไปนี้ไมถูกตอง [Entrance คณิต กข. ป 2524] ก. ในกรณีที่ [ ( )]x P x∀ มีคาความจริงเปนเท็จ อาจมีกรณีที่ [ ( )]x P x∃ มีคาความจริงเปน จริง ข. ประโยค “ถาเขียน 3 ใหอยูในรูปทศนิยมแลว จะไดทศนิยมตําแหนงที่หาสิบ คือ 2” ไม เปนประพจน เพราะไมสามารถสรุปไดทันทีวา ประโยคนี้มีคาความจริงเปนอยางไร ค. ให p,q,r และ s เปนประพจนใดๆ โดยที่ p มีคาความจริงเปนจริง q มีคาความจริงเปนเท็จ จะไดประพจน ( ) [( ) ( )]p s q r s p∧ → ∨ ∧ ↔∼ ∼ มีคาความจริงเปนจริง ง. ประโยค “ ถา 2x ≠ แลว 2 1x < − ” เปนประโยคเปด จ. นิเสธ [ ( )]x P x∃ ∼ คือ [ ( )]x P x∀
  • 18. 18 18. กําหนด p,q,r,s เปนประพจนโดยที่ ( ) ( )p r q s∨ → ∨ เปนเท็จ และ p q→ เปนจริง ประพจนในขอใดตอไปนี้เปนเท็จ [Entrance คณิต กข. ป 2525] ก. p s→ ข. q s→ ค. r s→ ง. q r→ จ. s r→
  • 19. 19 19. กําหนดเอกภพสัมพัทธเปนเซตของจํานวนจริงบวก จงพิจารณาวานิเสธของ 1 [( ) ( )]N x x N x ε ε∀ ∃ ∀ > → < คือประพจนขอใดตอไปนี้ [Entrance คณิต กข. ป 2525] ก. 1 [( ) ( )]N x x N x ε ε∀ ∃ ∀ ≤ → ≥ ข. 1 [( ) ( )]N x x N x ε ε∃ ∀ ∃ > → < ค. 1 [( ) ( )]N x x N x ε ε∀ ∃ ∀ ≤ → < ง. 1 [( ) ( )]N x x N x ε ε∃ ∀ ∃ > ∧ ≥ จ. 1 [( ) ( )]N x x N x ε ε∃ ∀ ∃ ≤ ∧ <
  • 20. 20 20. ให x เปนเซตของผูแทนราษฎร y เปนเซตของจังหวัดของประเทศไทย และ P(x,y) แทน ขอความ “x เปนผูแทนราษฎรของจังหวัด y” ขอใดตอไปนี้เปนเท็จ [Entrance คณิต กข. ป 2526] ก. [ ( , )]x y P x y∀ ∃ ข. [ ( , )]y x P x y∀ ∃ ค. [ ( , )]x y P x y∃ ∀ ง. [ ( , )]y x P x y∃ ∃
  • 21. 21 21. กําหนดให P(x) แทนประโยค 2 [ 1, ]x x x R∃ ≠ − ∈ Q(x) แทนประโยค rx D∈ เมื่อ {( , ) | 2}r x y R R y x= ∈ × = − R(x) แทนประโยค x เปนจํานวนตรรกยะที่อยูระหวาง 0.010010001… กับ 0.1010010001… S(x) แทนประโยค x เปนจํานวนเชิงซอน จงหาวาประโยคในขอใดมีคาเปนจริง [Entrance คณิต กข. ป 2527] ก. [ (0.01) ( )] [ ( 2) (0.01)]R S Q Rπ→ ∧ →∼ ∼ ข. [ ( ) ( 2)] [ ( ) (0.01)]P x Q P x R∨ → ↔∼ ∼ ค. [ ( ) ( ( 2) ( ))] ( 2)P x Q P x Q∨ → →∼ ง. [ ( ) ( ( ) (0.01))] ( 2)S S R Qπ π∨ → →∼
  • 22. 22 22. ถา ( ) ( )x x y z∨ → ∨∼ มีคาเปนเท็จ แลว ( )x x∧ ∼ มีคาความจริงเหมือนขอใด [Entrance คณิต กข. ป 2527] ก. ( )x z y∨ → ข. [( ) ]x z y x→ ∧ →∼ ค. ( ) ( )x y x y∨ → ∧∼ ∼ ง. ( )x y z∧ →∼
  • 23. 23 23. กําหนดให R เปนเซตของจํานวนจริง N เปนเซตของจํานวนนับ และเอกภพสัมพัทธเปน R ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [Entrance คณิต กข. ป 2528] ก. รูปสัญลักษณของขอความ “มีจํานวนจริงบวก x ซึ่ง 2 1 7x + ≤ ” คือ 2 [ 0 1 7]x x x∃ > → + ≤ ข. รูปสัญลักษณของขอความ “สําหรับจํานวนจริง x ใดๆมีจํานวนจริง y ซึ่ง 10x y+ > หรือ 2 2 3x y+ = ” คือ 2 2 [ 0 3]y x x y x y∃ ∀ + > ∨ + = ค. รูปสัญลักษณของขอความ “แตละจํานวนจริง x และ y จะได 3 3 9x y+ > ” คือ 3 3 [ 9]x y x y∃ ∃ + > ง. รูปสัญลักษณของขอความ “ถาทุกจํานวนจริง x มากกวา 5 แลว จะมีจํานวนนับ y ซึ่ง 2 1 0y− > ” คือ 2 [ 5] [ 1 0]x x y y N y∀ > → ∃ ∈ ∧ − >
  • 24. 24 24. กําหนดให R เปนเซตของจํานวนจริง Q เปนเซตของจํานวนตรรกยะ I เปนเซตของจํานวน เต็ม และเอกภพสัมพัทธเปน R ขอความใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนจริง [Entrance คณิต กข. ป 2528] ก. 2 [ 2] [ 9 3]x x Q x x x x∃ ∉ ∧ > → ∀ > → > ข. [ 3 8]x x I x∀ ∈ ∨ + > ค. { |x x Q∈ และ x มีเศษเปนศูนย}เปนเซตอนันต↔ 2 2 [ 1 0]x x x x x∃ ≤ ∨ + + = ง. 3 2 [ 5 1 4] [ 1 0 2]x x x x x x∃ + − < ∧ ∀ − < → ≥ −
  • 25. 25 25. ใหเอกภพสัมพัทธเปนเซตของจํานวนเต็ม ประพจนใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนจริง [Entrance คณิต กข. ป 2529] ก. [( 0) ( 0)] { [ 0] [ 0]}x x x x x x x∀ > ∨ ≤ → ∀ > ∨ ∀ ≤ ข. { [ 0] [ 0]} { [( 0) ( 0)]x x x x x x x∃ > ∧ ∃ ≤ → ∃ > ∧ ≤ ค. [( 0) ( 0)] { [ 0] [ 0]}x x x x x x x∀ > → > → ∃ > → ∀ > ง. [( 0) ( 0)] { [ 0] [ 0]}x x x x x x x∀ > → > → ∀ > → ∀ >
  • 26. 26 26. นิยาม ทอโทโลยี คือประพจนที่มีคาความจริงเปนจริงทุกกรณี ประพจนใดตอไปนี้ไมเปนทอ โทโลยี [Entrance คณิต กข. ป 2529] ก. [( ) ( )] ( )p q r p q p r∧ → ∧ → → → ข. [( ) ( )] ( )p q q r p r→ ∧ → → → ค. [( ( )] [( ) ]p q r p q r→ → ↔ → → ง. [( ( )] [( ) ]p q r p q r↔ ↔ ↔ ↔ ↔
  • 27. 27 27. ขอใดตอไปนี้ผิด [Entrance คณิต กข. ป 2530] ก. ( )p r q∧ ∨∼ ∼ ∼ กับ ( )q r p→ ∨ ∼ เปนขอความที่สมมูลกัน ข. กําหนดใหประพจน p มีคาความจริงเปนจริง ประพจน q มีคาความจริงเปนเท็จ คาความจริงของขอความ [( ) ]q p r r→ ∨ ↔∼ เปนจริง ค. กําหนดใหเอกภพสัมพัทธ คือ {0,1,2,3}ประโยค [ 3 0]x x∀ − ≥ มีคาความจริงเปน จริง ง. กําหนดใหเอกภพสัมพัทธ คือ เซตของจํานวนนับ ขอความ 2 {( [ 1x x∃ − เปนจํานวนนับ] 2 [ 1 0]) [ 0]}x x x x ∧∀ + ≥ → ∀ < มีคาความจริงเปนเท็จ
  • 28. 28 28. ถา ( )p q∨∼ และ r p→ มีคาความจริงเปนจริงแลว ขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปน เท็จ [Entrance คณิต กข. ป 2531] ก. ( ) ( )p q r q∨ → ∧∼ ∼ ข. ( ) ( )p q r q∧ → ∧∼ ค. ( ) ( )p q r q p→ ∧ → ∨ ∼ ง. ( ) ( )p r q p q→ ∨ → ∧∼ ∼
  • 29. 29 29. ขอความคูใดไมสมมูลกัน [Entrance คณิต กข. ป 2532] ก. p q∨ และ ( )p q∧∼ ∼ ∼ ข. ( )p q∧∼ ∼ และ q p→∼ ∼ ค. ( )p q p→ →∼ และ q p→∼ ง. p q↔∼ และ ( ) ( )p q q p→ ∧ →∼ ∼
  • 30. 30 30. กําหนดใหขอความตอไปนี้มีคาความจริงเปนเท็จ [Entrance คณิต กข. ป 2533] “ผูที่ใสรองเทาแตะและกางเกงขาสั้น เปนผูที่ไมไดรับอนุญาตใหเขามาในโรงงาน” ถา p แทน ผูที่ใสรองเทาแตะ q แทน ผูที่ใสกางเกงขาใส r แทน ผูที่ไมไดรับอนุญาตใหเขามาในโรงงาน แลวขอความใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนเท็จ ก. ( )p q r∨ →∼ ข. ( )p q r∧ →∼ ∼ ค. ( )p q r∧ →∼ ง. ( )p q r∨ →∼ ∼
  • 31. 31 31. ใหเอกภพสัมพัทธ { | 1 2}U x R x= ∈ − ≤ ขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนจริง [Entrance คณิต กข. ป 2533] ก. 2 [ 3 6]x x∀ − < ข. [1 2 5]x x∀ < + < ค. [ 2 2 ]x x x∃ + < − ง. [ 2]x x∃ >
  • 32. 32 32. ให p และ q เปนประพจน ถา p*q มีคาความจริงตามตารางขางลางนี้ p q p*q T T F T F F F T F F F T แลวประพจน p*q สมมูลกับประพจนในขอใดตอไปนี้ [Entrance คณิต กข. ป 2534] ก. ( )p q→∼ ∼ ข. p q→∼ ค. ( )q p→∼ ∼ ง. q p→∼
  • 33. 33 33. กําหนดเอกภพสัมพัทธ {1, 1, , }U i i= − − โดยที่ 1i = − ขอใดมีคาความจริงเปน เท็จ [Entrance คณิต กข. ป 2534] ก. 2 [ 1]z z∃ = ข. 36 [ 1]z z∀ = ค. 1 [ ]z z z ∃ = ง. 3 [ 0]z z z∀ − =
  • 34. 34 34. กําหนดให p คือ ประพจน “ถา a,b,c เปนจํานวนจริง และ ab<ac แลว b<c” และ q คือ ประพจน “ถา x และ y เปนจํานวนอตรรกยะแลว x+y เปนจํานวนอตรรกยะ” ประพจนในขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนจริง [Entrance คณิต กข. ป 2534] ก. p q∧ ∼ ข. p q∧ ค. p q∧∼ ∼ ง. p q∧∼
  • 35. 35 35. ประพจนที่สมมูลกับประพจน p q↔ คือประพจนในขอใด [Entrance คณิต กข. ป 2535] ก. ( ) ( )p q q p→ ∧ ∧ ∼ ข. ( ) ( )q p q p→ ∧ ∨∼ ∼ ∼ ค. ( ) ( )p q q p∧ ∧ →∼ ง. ( ) ( )p q p q∧ ∧ →∼ ∼ ∼
  • 36. 36 36. ใหเอกภพสัมพัทธคือ เซตของจํานวนจริง พิจารณาขอความตอไปนี้ (1) 2 4log [ 0 2 ]x x x x∀ ≠ → = (2) 1 [2 3 ]x x x + ∃ =∼ ขอใดตอไปนี้ถูก [Entrance คณิต กข. ป 2536] ก. (1)จริง(2)เท็จ ข. (1)เท็จ(2)จริง ค. จริงทั้ง (1)และ(2) ง. เท็จทั้ง (1)และ(2)
  • 37. 37 37. กําหนดให p คือประพจน “ถา a+c > b+c แลว a > b เมื่อ a,b,c คือจํานวนจริง ใดๆ” q คือประพจน “สําหรับจํานวนจริง x ใดๆ 2x ≥ ก็ตอเมื่อ 2x ≥ ” ดังนั้น ประพจน p q∨∼ จะมีคาความจริง ไมเหมือนกับคาความจริงของประพจนขอใด ตอไปนี้ [Entrance คณิต กข. ป 2536] ก. p q∧∼ ข. p q∧ ค. ( )p q∨∼ ง. p q∨ ∼
  • 38. 38 38. ประพจนใดตอไปนี้สมมูลกับประพจน ( ) ( )p r q r→ ∧ → [Entrance คณิต กข. ป 2537] ก. ( )p q r∧ ∨ ∼ ข. ( )p q r∧ → ค. ( )p q r∨ ∨∼ ง. ( )p q r∨ →∼
  • 39. 39 39. กําหนดใหเอกภพสัมพัทธเปนเซตของจํานวนจริง และ p แทนประพจน “สําหรับจํานวนจริงบวก x ใดๆ ผลบวกของ x กับ 1 x มีคามากกวา 1” พิจารณาขอความตอไปนี้ (1) p สมมูลกับ 1 [ 0 ( 1)]x x x x ∀ ≤ ∨ + > (2) p มีคาความจริงเปนจริง ขอใดตอไปนี้ถูก [Entrance คณิต กข. ป 2537] ก. ทั้ง(1)และ(2) ถูก ข. (1) ถูก (2) ผิด ค. (1) ผิด (2) ถูก ง. ทั้ง(1)และ(2) ผิด
  • 40. 40 40. พิจารณาขอความตอไปนี้ (1) เหตุ 1. นายสมหมายเปนคนขยันหรือนายสมหมายไดที่หนึ่งของหอง 2. นายสมหมายไมเปนคนขยัน ผล นายสมหมายสอบไดที่หนึ่งของหอง (2) เหตุ 1. ถาสมศรีไปเที่ยวชายทะเลแลวสมศรีไมสบาย 2. สมศรีไมสบาย ผล สมศรีไปเที่ยวชายทะเล การอางเหตุผลใน (1) ละ (2) ขางตน สมเหตุสมผลหรือไม [Entrance คณิต กข. ป 2537] ก. (1) สมเหตุสมผล (2) สมเหตุสมผล ข. (1) สมเหตุสมผล (2) ไมสมเหตุสมผล ค. (1) ไมสมเหตุสมผล (2) สมเหตุสมผล ง. (1) ไมสมเหตุสมผล (2) ไมสมเหตุสมผล
  • 41. 41 41. ให p,q และ r เปนประพจน ถา ( ) ( )p q q r∧ → ∨∼ มีคาความจริงเปนเท็จ แลว ประพจนในขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนจริง [Entrance คณิต กข. ป 2538] ก. p q∨∼ ข. p r→∼ ค. p q∧ ง. q r↔∼
  • 42. 42 42. พิจารณาขอความตอไปนี้ (1) ถา p และ q เปนประพจน โดยที่ p q→ เปนสัจจนิรันดร แลว p q∨ ∼ เปนสัจจนิ รันดรดวย (2) นิเสธของขอความ [ 6] [ 8]x x x x∃ < → ∀ > คือ [ 6] [ 8]x x x x∀ ≥ ∧ ∃ ≤ ขอใดตอไปนี้ถูก [Entrance คณิต กข. ป 2538] ก. ทั้งขอ (1) และขอ (2) ถูก ข. ขอ (1) ถูก ขอ (2) ผิด ค. ขอ (1) ผิด ขอ (2) ถูก ง. ทั้งขอ (1) และขอ (2) ผิด
  • 43. 43 43. ถา p และ q เปนประพจนแลว ประพจน ( )p q p→ →∼ สมมูลกับประพจนในขอ ใดตอไปนี้ [Entrance คณิต กข. ป 2540] ก. ( )p p q∨ ∧∼ ∼ ข. ( )p p q∨ ∨∼ ค. ( )p p q→ ∨∼ ∼ ง. ( )p p q→ ∧∼
  • 44. 44 44. กําหนดให p,q,r,s เปนประพจน ประพจนในขอใดตอไปนี้ไมเปนสัจจนิรันดร [Entrance คณิต กข. ป 2541] ก. [ ( )] [( ) ( )]p q r p q p r∨ ∧ ↔ ∨ ∧ ∨ ข. [ ( )] [ ( )]p q r p q r∨ ∧ ∨ ∨ ∧∼ ค. [( ) )] [ ( )]p q r r p q∨ → ↔ → ∧∼ ∼ ∼ ง. [( ) ( ) ( ) ]p q q r s r s p→ ∧ → ∧ ∨ ∧ ↔∼ ∼
  • 45. 45 45. ประพจน ( ( ))p q r p→ → ∨∼ สมมูลกับประพจนในขอใดตอไปนี้ [Entrance คณิต 1- ตุลาคม ป 2541] ก. ( )p q r∨ ∨∼ ข. ( )p q r∨ ∨∼ ค. ( )p q r∨ ∨ ∼ ง. ( ) ( )p q r∨ ∨∼ ∼
  • 46. 46 46. พิจารณาการอางเหตุผลตอไปนี้ เมื่อ p,q และ r เปนประพจน (1) เหตุ 1. ( )p p q∨ ∧ ∼ 2. p q→ ผล q (2) เหตุ 1. p r→∼ 2. r s∨∼ 3. s∼ ผล p ขอใดตอไปนี้ถูก [Entrance คณิต 1- ตุลาคม ป 2541] ก. (1) และ (2) สมเหตุสมผล ข. (1) สมเหตุสมผล แต (2) ไมสมเหตุสมผล ค. (1) ไมสมเหตุสมผล แต (2) สมเหตุสมผล ง. (1) และ (2) ไมสมเหตุสมผล
  • 47. 47 47. ให p,q,r,s และ t เปนประพจน ถาประพจน ( ) ( )p q r s∧ → ∨ มีคาความจริงเปน เท็จแลว ประพจนในขอใดตอไปนี้ มีคาความจริงเปนเท็จ [Entrance คณิต 1- ตุลาคม ป 2543] ก. ( ) ( )p r s t∧ ↔ ∧ ข. ( ) ( )p s q t∧ → ∨ ค. ( ) ( )p s r t∧ ∨ ∧ ง. ( ) ( )r p s t→ ∧ →
  • 48. 48 48. กําหนดเอกภพสัมพัทธคือ {2 | }U n n I + = ∈ เมื่อ I+ เปนเซตของจํานวนเต็มบวก พิจารณาขอความตอไปนี้ (1) 2 3 [2 18(2 ) 4 0]x x x + ∃ − + = มีคาความจริงเปนจริง (2) 2 2[log ( 2) log ( 1) 2]x x x∃ + + − = มีคาความจริงเปนจริง [Entrance คณิต 1- ตุลาคม ป 2543] ก. (1) ถูก และ (2) ถูก ข. (1) ถูก และ (2) ผิด ค. (1) ผิด และ (2) ถูก ง. (1) ผิด และ (2) ถูก
  • 49. 49 49. พิจารณาขอความตอไปนี้ เมื่อเอกภพสัมพัทธ คือ เซตของจํานวนจริง (1) [cot 2 cot 0]x x x∃ − = (2) 4 4 21 [sin cos 1 sin 2 ] 2 x x x x∀ + = − คาความจริงของขอความ (1) และ (2) เปนไปตามขอใด [Entrance คณิต 1- ตุลาคม ป 2544] ก. (1) เปนจริง และ (2) เปนจริง ข. (1) เปนจริง และ (2) เปนเท็จ ค. (1) เปนเท็จ และ (2) เปนจริง ง. (1) เปนเท็จ และ (2) เปนเท็จ
  • 50. 50 50. กําหนดให p,q,r เปนประพจนที่มีคาความจริงเปน จริง เท็จ และ เท็จ ตามลําดับ ประพจน ในขอใดตอไปนี้ มีคาความจริงเหมือนกับประพจน ( ) ( )p q r p→ ∨ ∧∼ ∼ [Entrance คณิต 1- ตุลาคม ป 2544] ก. ( ) ( )r p q r→ ∧ ∨∼ ข. ( ) ( )q r p q∧ ↔ →∼ ∼ ∼ ค. ( ) ( )p r q r∨ → ∧∼ ∼ ง. ( ) ( )p q r q→ ∨ ↔∼
  • 51. 51 51. พิจารณาขอความตอไปนี้ (1) ถา p,q เปนประพจน โดยที่ p มีคาความจริงเปนจริง และ ( )q p q→ ∨∼ ∼ เปน สัจจนิรันดรแลว q มีคาความจริงเปนจริง (2) นิเสธของขอความ [ ( ) ( ) ( )]x P x Q x R x∃ ∧ ∧∼ ∼ คือขอความ [ ( ) ( ( ) ( ))]x Q x P x R x∀ → ∨ ขอใดตอไปนี้ถูก [Entrance คณิต 1- ตุลาคม ป 2545] ก. (1) ถูก และ (2) ถูก ข. (1) ถูก และ (2) ผิด ค. (1) ผิด และ (2) ถูก ง. (1) ผิด และ (2) ผิด
  • 52. 52 52. กําหนดให P(x) และ Q(x) เปนประโยคเปด โดยที่ [ ( )] [ ( )]x P x x Q x∀ → ∃ ∼ มีคาความจริงเปนเท็จ เมื่อเอกภพสัมพัทธคือ เซตของจํานวนจริง ขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปน จริง [Entrance คณิต 1- ป 2545] ก. [ ( ) ( )]x P x Q x∃ ∧ ∼ ข. [ ( ) ( )]x P x Q x∃ ∨∼ ∼ ค. [ ( ) ( )]x P x Q x∀ →∼ ง. [ ( ) ( )]x P x Q x∀ →
  • 53. 53 53. พิจารณาการอางเหตุผลตอไปนี้ (1) เหตุ 1. p q∧ 2. ( ) ( )q r s p∨ → ∧ 3. p r→∼ 4. s r∧ ∼ ผล s r∧ ∼ (2) เหตุ 1. ( ) ( )P x Q x→∼ 2. ( ) ( )Q x R x∨ ผล ( ) ( )P x R x→ ขอใดตอไปนี้ถูก [Entrance คณิต 1- ตุลาคม ป 2546] ก. (1) และ (2) สมเหตุสมผลทั้งคู ข. (1) สมเหตุสมผล แต (2) ไมสมเหตุสมผล ค. (1) ไมสมเหตุสมผล แต (2) สมเหตุสมผล ง. (1) และ (2) ไมสมเหตุสมผลทั้งคู
  • 54. 54 54. ใหเอกภพสัมพัทธ คือ เซตของจํานวนจริง ถา P(x) แทนขอความ 2 3 0x x− < และ Q(x) แทนขอความ 2 log 1x− < < − แลวประโยคในขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนจริง [Entrance คณิต 1- ตุลาคม ป 2546] ก. [ ( ) ( )]x P x Q x∀ → ข. [ ( ) ( )]x Q x P x∀ → ค. [ ( ) ( )]x P x Q x∀ →∼ ง. [ ( ) ( )]x P x Q x∀ →∼
  • 55. 55 55. พิจารณาขอความตอไปนี้ (1) ถาประพจน [ ( )] ( )p q r r s∧ → → ∨ มีคาความจริงเปนเท็จ แลว p q s∧ → มีคาความจริงเปนเท็จ (2) นิเสธของขอความ 2 [( ) ( )]x y x y x y∀ ∃ > ∧ < คือ 2 [( ) ( )]x y x y y x∃ ∀ > → ≤ ขอใดตอไปนี้ถูก [Entrance คณิต 1- ป 2547] ก. (1) ถูก และ (2) ถูก ข. (1) ถูก แต (2) ผิด ค. (1) ผิด แต (2) ถูก ง. (1) ผิด และ (2) ผิด
  • 56. 56 56. กําหนดเอกภพสัมพัทธ คือ ชวงเปด ( 2,2)− พิจารณาขอความตอไปนี้ (1) ประพจน 2 2 [x x x x x∀ + ≤ + และ 2 ]x x≤ มีคาความจริงเปนจริง (2) ประพจน 2 [ 6 0]x x x∃ − − ≥ มีคาความจริงเปนจริง ขอใดตอไปนี้ถูก [Entrance คณิต 1- ป 2547] ก. (1) ถูก และ (2) ถูก ข. (1) ถูก แต (2) ผิด ค. (1) ผิด แต (2) ถูก ง. (1) ผิด และ (2) ผิด
  • 57. 57 57. กําหนดเอกภพสัมพัทธคือ { 3, 2, 1,1,2,3}U = − − − ขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปน เท็จ [A-net กุมภาพันธ ป 2549] 1. [ ]x y x y y∃ ∀ + < 2. 2 [ ]x y x y x∃ ∀ − < 3. 2 [ ]x y xy x∃ ∀ = 4. 2 [ ]x y x y y∃ ∀ =
  • 58. 58 58. ให p,q,r เปนประพจน ถาประพจน ( )p q r→ ∨ มีคาความจริงเปนจริง และ ( )p q r∨ ∧ มีคาความจริงเปนเท็จ แลวประพจนในขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนเท็จ [A-net กุมภาพันธ ป 2549] 1. ( )q p r∨ →∼ 2. ( )p p q→ ∨∼ ∼ 3. ( ) ( )q r p q r∨ → ∨ ∧∼ 4. [( ) ( )] [ ( )]q r p q r∨ → ∧ ∨∼ ∼
  • 59. 59 59. พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. ใหเอกภพสัมพัทธคือเซตของจํานวนเฉพาะบวก ขอความ 2 [ 1 ]x y x x y∀ ∃ + + = มีคาความจริงเปนจริง ข. นิเสธของขอความ [ ( ) ( ( ) ( ))]x P x Q x R x∀ → ∨ คือ [ ( ) ( ) ( )]x P x Q x R x∃ ∧ ∧∼ ∼ ขอใดตอไปนี้ถูก [A-net กุมภาพันธ ป 2550] 1. ก ถูก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก ผิด และ ข ผิด
  • 60. 60 60. กําหนดเหตุใหดังนี้ 1. เอกภพสัมพัทธไมเปนเซตวาง 2. [ ( ) ( )]x P x Q x∀ → 3. [ ( ) ( )]x Q x R x∀ ∨ 4. [ ( )]x R x∃ ∼ ขอความในขอใดตอไปนี้เปนผลที่ทําใหการอางเหตุผล สมเหตุสมผล [A-net กุมภาพันธ ป 2551] 1. [ ( )]x P x∃ 2. [ ( )]x Q x∃ 3. [ ( )]x P x∀ 4. [ ( )]x Q x∀
  • 61. 61 61. กําหนดให p,q,r เปนประพจน จงพิจารณาขอความตอไปนี้ ก. ประพจน ( ( ))p p q r→ → ∨ สมมูลกับประพจน ( )p q r→ ∨ ข. ประพจน ( )p q r∧ → สมมูลกับประพจน ( ) ( )q p p r→ ∨ →∼ ∼ ขอใดตอไปนี้ถูก [PAT1 มีนาคม ป 2552] 1. ก ถูก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก ผิด และ ข ผิด
  • 62. 62 62. กําหนดใหเอกภพสัมพัทธ คือ {{1,2},{1,3},{2,3}}U = ขอใดตอไปนี้ถูก [PAT1 มีนาคม ป 2552] 1. [ ]x y x y∀ ∀ ∩ ≠ ∅ 2. [ ]x y x y U∀ ∀ ∪ = 3. [ ]x y y x y x∀ ∃ ≠ ∧ ⊂ 4. [ ]x y y x y x∃ ∀ ≠ ∧ ⊂
  • 63. 63 63. กําหนดให P(x) และ Q(x) เปนประโยคเปด ประโยค [ ( )] [ ( )]x P x x Q x∀ → ∃ ∼ สมมูลกับประโยคในขอใดตอไปนี้ [PAT1 กรกฎาคม ป 2552] 1. [ ( )] [ ( )]x P x x Q x∀ → ∃∼ 2. [ ( )] [ ( )]x Q x x P x∀ → ∃ ∼ 3. [ ( )] [ ( )]x P x x Q x∃ → ∀ 4. [ ( )] [ ( )]x Q x x P x∃ → ∀∼
  • 64. 64 64. กําหนดให { | 10}U n I n+ = ∈ ≤ ประโยคในขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนเท็จ [PAT1 กรกฎาคม ป 2552] 1. 2 2 [( ) ( )]x y x y x y∀ ∀ = → = 2. 2 [( 1) ( )]x y x x y∀ ∃ ≠ → > 3. [ ]x y xy x y∃ ∀ ≤ + 4. 2 2 [( ) 9 ]x y x y y xy∃ ∃ − ≥ +
  • 65. 65 65. กําหนดใหเอกภพสัมพัทธคือ เซต { 2, 1,1,2}− − ประโยคในขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนเท็จ [PAT1 ตุลาคม ป 2552] 1. [ 0 1]x y x x y∃ ∃ ≤ ∧ = + 2. [ ( ) 0]x y x y x y∃ ∀ ≤ ∧ − + ≥ 3. [ 0 0]x y x y x y∀ ∃ + = ∨ − = 4. [ ]x y x y x y∀ ∀ < ∨ >
  • 66. 66 66. กําหนดให p,q,r เปนประพจน พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. ถา q r∧ มีคาความจริงเปนจริง แลว p และ [( ) ]p q r p∨ ∧ → มีคาความ จริงเหมือนกัน ข. ถา p มีคาความจริงเปนเท็จแลว r และ ( )p q r∧ → มีคาความจริงเหมือนกัน ขอใดตอไปนี้เปนจริง [PAT1 ตุลาคม ป 2552] 1. ก ถูก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก ผิด และ ข ผิด
  • 67. 67 67. กําหนดให p และ q เปนประพจนใดๆ ขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนเท็จ [PAT1 มีนาคม ป 2553] 1. ( )p q p→ ∨ 2. ( )p p q∧ →∼ 3. [( ) ]p q p q→ ∧ → 4. ( ) ( )p q p q→ ↔ ∧∼ ∼ ∼
  • 68. 68 68. ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT1 มีนาคม ป 2553] 1. ถาเอกภพสัมพัทธคือ { 1,0,1}− คาความจริงของ 2 2 [ ]x y x x y y∀ ∃ + = + เปนเท็จ 2. ถาเอกภพสัมพัทธเปนเซตของจํานวนจริง คาความจริงของ 3[3 log ]x x x∃ = เปนจริง 3. ถาเอกภพสัมพัทธเปนเซตของจํานวนจริง นิเสธของขอความ [( 0 0) ( 0)]x y x y xy∀ ∃ > ∧ ≤ ∧ < คือ [( 0) ( 0 0)]x y xy x y∃ ∀ < → ≤ ∨ > 4. ถาเอกภพสัมพัทธเปนเซตของจํานวนเต็ม นิเสธของขอความ 3 2 [ 0 ]x x x x∀ > → ≥ คือ 3 [( 0) ( )]x x x x∃ ≤ ∧ <
  • 69. 69 69. กําหนดให A,B และ C เปนประพจนใดๆ ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT1 ตุลาคม ป 2553] 1. ถา A B↔ มีคาความจริงเปนจริงแลว ( ) ( )B C A C∧ → →∼ มีคาความ จริงเปนเท็จ 2. ประพจน [( ) ( )]A A B B C→ ∧ ∨ ∨ เปนสัจจนิรันดร 3. ประพจน [( ) ] [( ) ( )]A B C A B A C∧ → → → → → เปนสัจจนิรันดร 4. ประพจน ( ) ( )A C B C→ ∧ → สมมูลกับประพจน ( )A B C∧ →
  • 70. 70 70. กําหนดเอกภพสัมพัทธคือ เซตของจํานวนจริง และ ( )P x แทน 2 ( 1) 1x x+ = + ( )Q x แทน 1 2x + > ขอใดตอไปนี้มีคาความจริง ตรงขามกับประพจน [ ( )] [ ( )]x P x x Q x∃ → ∀ [PAT1 ตุลาคม ป 2553] 1. [ ( )] [ ( )]x P x x Q x∃ → ∀∼ ∼ 2. [ ( )] [ ( )]x P x x Q x∃ → ∃ 3. [ ( ) ( )] [ ( )]x P x Q x x P x∃ ∧ → ∀ 4. [ ( ) ( )] [ ( )]x P x Q x x Q x∃ ∨ → ∀
  • 71. 71 71. กําหนดให p,q,r และ s เปนประพจนที่ ประพจน ( ) ( )p q r s∨ → ∨ มีคาความ จริงเปนเท็จ และ ประพจน p r↔ มีคาความจริงเปนจริง ประพจนในขอใดมีคาความจริงเปน จริง [PAT1 กรกฎาาคม ป 2553] 1. ( ) ( )q p q r→ ∧ → 2. [ ( )]q p q r→ ∨ ∧ ∼ 3. ( ) ( )p s r q→ ↔ ↔ 4. ( ) [ ( )]r s q p r↔ ∧ → ∧
  • 72. 72 72. กําหนดเอกภพสัมพัทธ คือ { 1,0,1}− ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT1 กรกฎาาคม ป 2553] 1. [ 2 0]x y x y∀ ∀ + + > มีคาความจริงเปนจริง 2. [ 0]x y x y∀ ∃ + ≥ มีคาความจริงเปนเท็จ 3. [ 1]x y x y∃ ∀ + = มีคาความจริงเปนเท็จ 4. [ 1]x y x y∃ ∃ + > มีคาความจริงเปนเท็จ
  • 73. 73 73. กําหนดให p,q และ r เปนประพจนโดยที่ ( ),p q r r p→ → ∨ ∼ และ p มีคา ความจริงเปนจริง ประพจนในขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนเท็จ [PAT1 มีนาคม ป 2554] 1. [ ( )] ( )p q r q r→ → ↔ ∧∼ ∼ 2. [ ( )] [( ) )]p r q r p q→ → ↔ → → 3. [ ( )] [ ( )]p r q r p q→ ∧ ↔ → ∧∼ 4. [ ( )] [ ( )]p q r r p q∨ → ↔ → →∼
  • 74. 74 74. กําหนดเอกภพสัมพัทธคือ ชวงเปด ( , ) 4 2 π π พิจารณาขอความตอไปนี้ (ก) คาความจริงของ sin cos [(cos ) (sin ) ]x x x x x∀ < เปนจริง (ข) คาความจริงของ cos cos [(cos ) (sin ) ]x x x x x∃ < เปนเท็จ ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT1 มีนาคม ป 2554] 1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต (ข) ผิด 3. (ก) ผิด แต (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
  • 75. 75 75. กําหนดให p,q และ r เปนประพจนใดๆ โดยที่ p q→∼ มีคาความจริงเปนเท็จ พิจารณาขอความตอไปนี้ ก. ( ) [( ) ]p r p r q↔ → ∨ → มีคาความจริงเปนเท็จ ข. ( ) [ ]p r q p→ → →∼ มีคาความจริงเปนจริง ขอสรุปใดถูกตอง [PAT1 ธันวาคม ป 2554] 1. ก ถูก ข ถูก 2. ก ถูก ข ผิด 3. ก ผิด ข ถูก 4. ก ผิด ข ผิด
  • 76. 76 76. กําหนดให P(x) และ Q(x) เปนประโยคเปด ถา [ ( )] [ ( )]x P x x Q x∀ ∧ ∀ ∼ มีคา ความจริงเปนจริงแลว ประพจนในขอใดมีคาความจริงเปนเท็จ [PAT1 ธันวาคม ป 2554] 1. [ ( ) ( )]x P x Q x∀ → 2. [ ( ) ( )]x P x Q x∃ ∨∼ ∼ 3. [ ( ) ( )]x P x Q x∃ ∧ ∼ 4. [ ( ) ( )]x P x Q x∀ →∼
  • 77. 77 77. กําหนดให p,q,r และ s เปนประพจนใดๆ ประพจน [( ) ] [( ) ( )]p q p r s r s∧ ∨ → ∨ ∧ ∨∼ ∼ ∼ สมมูลกับประพจนในขอใด ตอไปนี้ [PAT1 ตุลาคม ป 2555] 1. p r→ 2. q r→ 3. ( ) ( )p r q r∨ ∧ ∨ 4. ( ) ( )q r q s∨ ∧ ∨
  • 78. 78 78. กําหนดให p และ q เปนประพจน ประพจนในขอใดตอไปนี้เปนสัจจนิรันดร [PAT1 ตุลาคม ป 2555] 1. ( ) ( )p q q p→ → → 2. ( ) ( )p q p q∨ → →∼ ∼ 3. [( ) ] ( )p q p p q∧ → → →∼ ∼ 4. [( ) ] ( )p q q p q∧ → → →∼
  • 79. 79 79. พิจารณาขอความตอไปนี้ (ก) ถา p,q และ r เปนประพจนโดยที่ ( )p q r→ ∧ มีคาความจริงเปนจริง แลว [( ) ( )]r p q p r→ → ∧ →∼ มีคาความจริงเปนจริง (ข) กําหนดเอกภพสัมพัทธคือ 2 { | 2 3}x R x x∈ ≤ + เมื่อ R คือเซตของจํานวนจริง แลว 3 [3 6 3 ]x x x − ∃ + = มีคาความจริงเปนจริง ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT1 ตุลาคม ป 2555] 1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต (ข) ผิด 3. (ก) ผิด แต (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
  • 80. 80 80. กําหนดให P แทนประพจน “ถา A C B C∪ ⊂ ∪ แลว A B⊂ เมื่อ A,B และ C เปนเซตใดๆ” และให Q แทนประพจน “ถาC A B⊂ ∪ แลว C A⊂ และ C B⊂ เมื่อ A,B และ C เปนเซตใดๆ” พิจารณาขอความตอไปนี้ (ก) ประพจน [( ) ]P Q Q P∨ ∧ ↔∼ มีคาความจริงเปนจริง (ข) ประพจน ( ) ( )P Q P Q→ → ∧∼ ∼ มีคาความจริงเปนเท็จ ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT1 มีนาคม ป 2556] 1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต (ข) ผิด 3. (ก) ผิด แต (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
  • 81. 81 81. กําหนดให a และ b เปนจํานวนจริง โดยที่ ab>0 ให p แทนประพจน “ถา a b< แลว 1 1 a b > ” และ q แทนประพจน “ ab a b= ” ประพจนในขอใดมีคาความจริงเปนจริง [PAT1 มีนาคม ป 2557] 1. ( ) ( )p q q p→ ∨ ∧ ∼ 2. ( ) ( )q p q p→ ∧ ∨∼ ∼ ∼ 3. ( ) ( )p q q p∧ ∧ →∼ 4. ( ) ( )p q p q→ → ∧∼
  • 82. 82 82. กําหนดให p,q,r และ s เปนประพจนใดๆ พิจารณาขอความตอไปนี้ (ก) ถาประพจน ( ) ( )p q r s∨ ↔ ∧ และประพจน p มีคาความจริงเปนจริง แลวสรุปได วา ประพจน s มีคาความจริงเปนจริง (ข) ประพจน ( ) ( )p q r s∧ → ∧ สมมูลกับประพจน [ ( )] [ ( )]q p r p q s→ → ∧ → → ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT1 มีนาคม ป 2557] 1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต (ข) ผิด 3. (ก) ผิด แต (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
  • 83. 83 83. กําหนดใหเอกภพสัมพัทธคือ เซตของจํานวนจริงบวก พิจารณาขอความตอไปนี้ (ก) ประพจน 2 2 [ 5 4 6 5]x x x x x∀ − + < + + มีคาความจริงเปนจริง (ข) ประพจน 2 [ 1 2 2]x x x∀ − < − มีคาความจริงเปนเท็จ ขอใดตอไปนี้ถูกตอง [PAT1 เมษายน ป 2557] 1. (ก) ถูก และ (ข) ถูก 2. (ก) ถูก แต (ข) ผิด 3. (ก) ผิด แต (ข) ถูก 4. (ก) ผิด และ (ข) ผิด
  • 84. 84 84. กําหนดให p,q,r,s และ t เปนประพจน ซึ่ง ( )p q r→ ∧ มีคาความจริงเปนเท็จ ( )p s t↔ ∨ มีคาความจริงเปนจริง ประพจนในขอใดตอไปนี้มีคาความจริงเปนจริง [PAT1 เมษายน ป 2557] 1. ( ) ( )q s p q∧ → ∧ 2. ( )s t q∧ →∼ 3. ( )q s p∨ ↔ 4. ( )p r s→ →