SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  25
Télécharger pour lire hors ligne
อ่านอย่างไร
ให้ถูกต้อง
และน่าฟัง
ชมรมอาสาสมัครเพื่อนคนตาบอด
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
 คาแนะนาเพื่อเป็นแนวทางพัฒนาการอ่าน
สู่มาตรฐานที่ดี
 พัฒนาการที่ดีจะเกิดขึ้นได้ ต้องได้รับ
การฝึกฝนการอ่านที่ถูกว ิธีอย่างต่อเนื่อง
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
 ความถูกต้อง
 ความชัดเจน
 ความน่าสนใจ / น่าฟัง
ความถูกต้อง
 ออกเสียงถูกต้อง ตามหลักเกณฑ์ของการอ่านภาษาไทย
◦ อักขรว ิธี
 การออกเสียง ร และ ล (ดี/เป็นธรรมชาติ/ร เป็น ล/ล เป็น ร)
 การออกเสียงตัวควบกล้า (ดี/ออกเสียงได้/ไม่สับสน)
 การออกเสียงวรรณยุกต์ (ตรง/ไม่ตรง)
 การออกเสียงพยัญชนะ (ตรง/ไม่ตรง)
 การออกเสียงสระ (ตรง/ไม่ตรง)
ความถูกต้อง
 ความถูกต้องตามหลักเกณฑ์การออกเสียงต่างๆ เช่น
◦ คาศัพท์ /คาราชาศัพท์ /คาว ิสามานยนาม (นามเฉพาะ) /คาสมาส-
สนธิ /การอ่านตัวเลขและเครื่องหมายต่างๆ
 วัตรปฏิบัติ, พรหมลิขิต, พยาธิ, สมุลแว้ง, เสลภูมิ,
หนองบัวระเหว
 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี
 ๐๐.๐๕ น., ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖),
 ภบ ๔๑๐๗ กรุงเทพมหานคร
 ความถูกต้องตามบท / ความเป็นจริง เพื่อไม่ให้ความหมาย
เปลี่ยนหรือเสียความ
◦ ไม่ตู่ / ตก / เติม คาหรือความ (แต่ถ้าความหมายไม่เปลี่ยนหรือเสีย
ความก็อนุโลมให้กระทาได้)
คาที่มักอ่านผิด
 กลไก
 กน-ไก
 คณบดี
 คะ-นะ-บอ-ดี
 ชาติพันธุ์
 ชาด-ติ-พัน
 ปรากฏการณ์
 ปรา-กด-กาน, ปรา-กด-ตะ-กาน
 วณิพก
 วะ-นิบ-พก, วะ-นิ-พก
 สร่าง
 ส่าง
 กามว ิตถาร
 กาม-ว ิด-ถาน
คาที่มักอ่านผิด
 กามตัณหา
 กาม-มะ-ตัน-หา
 คุณวิเศษ
 คุน-นะ-ว ิ-เสด
 โฆษณา
 โคด-สะ-นา
 จิตแพทย์
 จิด-ตะ-แพด
 ฉศก
 ฉอ-สก
 ปรักหักพัง
 ปะ-หรัก-หัก-พัง
 โลกธรรม
 โลก-กะ-ทา
ความชัดเจน
 คือการสื่อความหมายด้วยคา/ความ ที่ชัดเจน เข้าใจง่าย
◦ การออกเสียงคา
◦ (ต้องชัดถ้อยชัดคา / เต็มคา / ไม่รัวๆ รวบๆ / ไม่เน้นคาเกินไป /
ไม่ลากคา / ไม่กระแทกเสียง เป็นต้น) ทั้งพยัญชนะ สระ
วรรณยุกต์ วรรคตอนถูกต้อง
◦ ระวังเรื่องเสียงสอดแทรก
◦ เช่น ลมหายใจ เสียงในช่องปาก เสียงลมพ่นหน้าคา
◦ เปล่งเสียงให้มีน้าหนักคาและความที่เป็นธรรมชาติ
◦ ให้เหมือนการพูดเล่า
ความน่าสนใจ / น่าฟัง
 ลีลาการนาเสนอ
◦ วรรคตอน
◦ ถูกต้อง / ดี / ไม่อ่านเรียงคา / ไม่หยุดต่อผิดที่ / ไม่แบ่งวรรคตอนมากจนเกินไป /
หรือไม่แบ่งวรรคเลย
“ห้ามผู้หญิงใส่กางเกงในเวลาราชการ”
“ขึ้นรถไฟไม่มีอันตราย”
“ยานี้ดีกินแล้วแข็งแรงไม่มีโรคภัยเบียดเบียน”
◦ จังหวะการอ่าน
◦ พอดี / ไม่เร็วจนเกินไป / ไม่ช้าไป / กระชับ / ไม่สะดุด / ไม่ตะกุกตะกัก / ราบรื่น
◦ ความเหมาะสมกับเนื้อหา
◦ ไม่เป็นการอ่านออกเสียง / อ่านเนือยๆ เรื่อยๆ / ขาดน้าหนักคาและความ
ความน่าสนใจ / น่าฟัง
 เสียง
◦ โดยธรรมชาติและคุณภาพ ต้องแจ่มใส / ไม่แห้ง-เครือ-สั่น
◦ ระดับเสียงและการเปล่งเสียง
◦ ดี / ไม่เบา-ดังไป / ขึ้นจมูก / สูงไป-ต่าไป / ไม่สม่าเสมอ
ลีลาดี ผู้ฟังสามารถจินตนาการตามที่อ่าน/เล่าได้ –
การอ่านต้องมีชีว ิตชีวา มีลีลาที่เป็นธรรมชาติ...
หลัก 4W1H
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
 ถูกต้อง
◦ ถูกต้องหลักเกณฑ์การอ่าน (อักขรว ิธี)
◦ ถูกต้องตามการอ่านออกเสียงคา/ความประเภทต่างๆ
◦ ถูกต้องตามบทและความเป็นจริง (ไม่ตู่/ตก/เติม คาหรือความ)
 ชัดเจน
◦ ออกเสียงคา/ความ ที่ชัดเจน เต็มคา เข้าใจง่าย ไม่เบาจนเกินไป
เปล่งเสียงให้มีน้าหนักคาและความเป็นธรรมชาติ
 น่าสนใจ / น่าฟัง
◦ ลีลาการนาเสนอ (วรรคตอน, จังหวะการอ่าน, ความเหมาะสมกับ
เนื้อหา)
◦ น้าเสียง (แจ่มใสเป็นธรรมชาติ มีชีว ิตชีวา เป็นธรรมชาติ)
คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง
 ควรอ่านในห้องที่เงียบ
◦ เสียงดังฟังชัด โดยอ่านไม่เร็วหรือช้าเกินไป
 อ่านทุกอย่าง ทุกหน้า (ยกเว้นเลขหน้า) เริ่มตั้งแต่ ปกหน้า / ปกใน / คานา / สารบัญ / บทนา
/ เนื้อหาทั้งหมด / ปกหลัง ฯลฯ
◦ อ่านคานา (หากเห็นว่าไม่จาเป็นจะไม่อ่านก็ได้)
◦ อ่านสารบัญ เช่น บทที่ ๑ อานารยชน หน้าที่ ๗...
 ถ้ามีอักษรย่อ หรือสัญลักษณ์ ให้อ่านคาเต็ม เช่น
◦ พ.ศ. อ่าน พุทธศักราช, ส.ส. อ่าน สมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
◦ ฯลฯ อ่าน และอื่น
 การอ่านข้อความในเครื่องหมายคาพูด
◦ หากเป็นข้อความสั้นๆ เช่น “คาร์โลมาน” ให้อ่านว่า “ในเครื่องหมายคาพูดคาร์โลมาน”
◦ หากเป็นข้อความยาว เช่น “คาร์โลมาน ค.ศ.๗๔๑-๗๔๗” ให้อ่านว่า “เครื่องหมายคาพูด
เปิด คาร์โลมาน คริสตศักราช ๗๔๑-๗๔๗ เครื่องหมายคาพูดปิด”
คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง
 การอ่านข้อความในวงเล็บ
◦ ถ้าเป็นข้อความสั้นๆ ให้อ่านว่า “ในวงเล็บ” ตามด้วยข้อความ เช่น คาร์โลมาน (ค.ศ.
๗๔๑-๗๔๗) อ่านว่า “คาโลมาน ในวงเล็บ คริสตศักราช ๗๔๑-๗๔๗”
◦ การอ่านข้อความในวงเล็บเป็นภาษาอังกฤษ เช่น คาร์โลมาน (Carloman) ให้อ่านว่า
“คาโลมาน ในวงเล็บ ซี เอ อาร์ แอล โอ เอ็ม เอ เอ็น”
◦ ถ้าข้อความในวงเล็บเป็นข้อความที่ยาว เช่น (ในเวลานั้นศาสนาในยุโรปมีนิกาย
เดียว) ให้อ่านว่า “วงเล็บเปิด ในเวลานั้นศาสนาในยุโรปมีนิกายเดียว วงเล็บปิด”
 การอ่านเชิงอรรถ (Foot Note) เช่น
◦ การสวดมนต์วันละ ๕ ครั้ง1 โดยหันหน้าไปทางเมืองเมกกะ
1 คือเวลารุ่งอรุณ เที่ยง บ่าย เย็น และค่า
อ่านว่า “การสวดมนต์วันละ ๕ ครั้ง คือเวลารุ่งอรุณ เที่ยง บ่าย เย็น และค่า โดยหันหน้าไป
ทางเมืองเมกกะ”
คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง
 การอ่านข้อความในตาราง
ให้อ่านว่า “ตารางแบ่งออกเป็น ๔ ช่อง ช่องที่ ๑ ลาดับเรื่อง ช่องที่
๒ ชื่อเรื่อง ช่องที่ ๓ ผู้แต่ง ช่องที่ ๔ จานวนม้วน
ลาดับเรื่องที่ ๑ ชื่อเรื่อง คู่มือหมอชาวบ้าน ผู้แต่ง ประเวศ วสี
จานวนม้วน ๒
ลาดับเรื่องที่ ๒ ชื่อเรื่อง การพัฒนาตนเอง ผู้แต่ง สมิต อาชวนิจ
กุล จานวนม้วน ๔”
ลาดับเร ื่อง ชื่อเร ื่อง ผู้แต่ง จานวนม้วน
1 คู่มือหมอชาวบ้าน ประเวศ วสี 2
2 การพัฒนาตนเอง สมิต อาชวนิจกุล 4
อ่านว่า “ตารางแบ่งออกเป็น ๓ ช่อง ช่องที่ ๑ ลาดับที่ ช่องที่ ๒
รายการ ช่องที่ ๓ ความคิดเห็น รายการช่องที่ ๓ แบ่งออกอีก ๒ ช่อง
คือ เห็นด้วย และไม่เห็นด้วย
ลาดับที่ ๑ รายการความประพฤติของนักเรียน ความคิดเห็น เห็นด้วย
ลาดับที่ ๒ รายการความประพฤติของครู ความคิดเห็น ไม่เห็นด้วย”
ลาดับที่ รายการ ความคิดเห็น
เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย
1 ความประพฤติของนักเรียน /
2 ความประพฤติของครู /
คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง
คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง
 แผนภูมิหรือแผนภาพ
◦ หากเป็นแผนที่ หรือรูปภาพ เช่น ภาพพระเจ้าเฮนรี่ที่ ๘ ให้อ่านว่า “มี
ภาพประกอบ ภาพพระเจ้าเฮนรี่ที่ ๘”
◦ หากเป็นแผนภูมิ ให้อธิบายตามความเข้าใจของผู้อ่านและเข้าใจง่าย แต่หาก
เป็นแผนภูมิซึ่งซับซ้อนเกินความสามารถที่จะอธิบายได้ ให้อ่านเพียงว่า “เป็น
แผนภูมิหรือภาพประกอบ....”
 กลอน โคลง ฉันท์
◦ ให้อ่านไปตามสัมผัสธรรมดา ให้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์ของบทประพันธ์
นั้นๆ ไม่ต้องอ่านทานองเสนาะ
 ข้อควรจา
◦ บอกข้อมูลให้คนตาบอดทราบเกี่ยวกับหนังสือตามหลักที่กาหนด
◦ คาภาษาอังกฤษ หากไม่แน่ใจในการออกเสียงให้สะกดตัวอักษรเรียงตัว
◦ คาภาษาไทย หากเป็นคายากหรือคาพ้องเสียงและคิดว่าผู้ฟังอาจไม่เข้าใจให้
สะกดคา (อ่านคานั้น แล้วพูดว่า “สะกดว่า...”)
คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง
คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง
 การอ่านหนังสือบันเทิงคดี
◦ อ่านน้าเสียงปกติ เสียงดังฟังชัด
◦ ไม่ควรเลียนเสียงตัวละคร หากไม่สามารถทาได้ดี
◦ คาในเครื่องหมายคาพูด ให้อ่านเน้นเสียงหรือเสียงดังขึ้น เพื่อให้ทราบว่า
แตกต่างจากประโยคทั่วไป
◦ ไม่ต้องอธิบายภาพประกอบเมื่อไม่จาเป็น
◦ หนังสือประเภทกว ีนิพนธ์ ไม่ต้องอ่านทานองเสนาะ อ่านสาเนียงธรรมดา แต่
ให้มีสัมผัส เว้นวรรค ตามฉันทลักษณ์ของบทกว ีนั้นๆ
คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง
◦ รายละเอียดอื่นๆ นอกจากเนื้อหา อาจเพิ่มเติม หรือตัดทอน ตามความ
เหมาะสม (แต่ห้ามเพิ่มหรือตัดทอนเนื้อหาภายใน เช่น
 การอ่านหนังสือเพิ่มเติม ได้แก่การอ่านคาอุทิศ, หน้าที่แทรกประวัติผู้แต่ง,
คาประกาศเกียรติคุณ ฯลฯ ซึ่งอาจจะอยู่หลังสุด,ปกหลัง,หน้าหลังหน้าปก
เป็นต้น)
 การอ่านหน้าสารบัญ หากเห็นว่าไม่จาเป็นกับเนื้อหาสามารถตัดทอนได้
(หรือหากจาเป็นก็ให้อ่านเฉพาะชื่อเรื่อง ก็ได้)
 การอ่านหน้าคานา หากมีคานาจากการพิมพ์ครั้งอื่นเพิ่มเติม หากเห็นว่ามี
มากเกินไป ให้อ่านเฉพาะคานาสานักพิมพ์ครั้งแรกและครั้งล่าสุด
คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง
 คาแนะนาในการอ่านหนังสือเสียง ภาษาอังกฤษ
◦ ต้องมีความสามารถในการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ
◦ ภาษาอังกฤษนั้นมีข้อจากัดมากกว่าภาษาไทย ดังนั้น จึงต้องฝึกอ่านหนังสือ
ให้เข้าใจก่อนที่จะทาการบันทึก เพื่อการอ่านจะได้ถูกต้องมากขึ้น
◦ ต้องอ่านให้ถูกต้อง ชัดเจนทุกคา ทุกประโยค
◦ อ่านให้เร็วสม่าเสมอ ฟังแล้วราบรื่น ไม่อ่านเร็วหรือช้าเกินไป (เพราะถ้าอ่าน
เร็วหรือรัวจะทาให้ฟังไม่รู้เรื่อง)
◦ รูปภาพ แผนภูมิ หรือตารางต่างๆ ให้อธิบายตามความเข้าใจ
◦ อ่านให้เป็นธรรมชาติ ไม่จาเป็นต้องอ่านเป็นสาเนียงฝรั่งเจ้าของภาษา ก็ได้
ขอแค่อ่านได้ถูกต้อง ชัดเจน และรู้เรื่องก็พอ (แต่ถ้าสามารถทาได้ก็ยิ่งดี)
สรุป...การอ่านหนังสือเสียง
◦ อ่านให้ถูกต้องตามหลักภาษาไทย (อักขรว ิธี / คาและเครื่องหมายต่างๆ)
◦ บอกข้อมูลให้ถูกต้องเกี่ยวกับหนังสือตามหลักที่กาหนด
◦ อ่านให้ชัดเจน (เสียงดัง ฟังชัด เต็มคา ไม่เบาจนเกินไปจนฟังไม่รู้เรื่อง / ไม่ช้าหรือเร็ว
จนเกินไป / เปล่งเสียงให้มีน้าหนักคาและความเป็นธรรมชาติ)
◦ อ่านข้อความให้ครบถ้วน ชัดเจน ไม่ข้ามคา หรือเกินจากในหนังสือ โดยไม่จาเป็น
◦ อ่านผิดแล้วต้องแก้ไขให้ถูกต้อง
◦ อ่านให้น่าสนใจ/น่าฟัง (การแบ่งวรรคตอน / ใช้น้าเสียงแจ่มใส ลีลา ที่เหมาะกับเนื้อหา /
อ่านให้มีชีว ิตชีวาเป็นธรรมชาติ)
◦ ใส่สีสันได้ตามความเหมาะสม / หรือใส่เพลงหรือเสียงประกอบได้ตามสมควร
◦ เมื่ออ่านครบทุกหัวข้อ หรืออ่านเนื้อหาจบหมดแล้ว ให้พูดปิดท้ายเล่ม ว่า “จบบริบูรณ์”
ปัญหาของงานอ่านที่ไม่สมบูรณ์
และเป็นปัญหาในการผลิตหนังสือเสียง
 อ่านออกเสียงไม่ถูกต้องตามหลักภาษาไทย เช่น คาควบกล้า คาบาลี-สันสกฤต ฯลฯ
 อ่านเกิน อ่านตก อ่านข้าม อ่านผิด จากเอกสารหรือหนังสือต้นฉบับ (โดยเฉพาะคาที่เป็น
ภาษาอังกฤษ โดยมีคาหรือข้อความภาษาไทยอยู่ด้วย หรืออ่านเกิน เช่น รู้ อ่านว่า รู้สึก เป็นต้น)
 เปล่งเสียงออกมาไม่ชัด ว่าอ่านคาว่าอะไร/ประโยคหรือวลีอะไร
 อ่านเสียงไม่สม่าเสมอ เดี๋ยวดัง เดี๋ยวค่อย หรือบางทีเสียงเบาแผ่วมาก เหมือนหมดแรงเปล่งเสียง
 อ่าน (เหมือนบ่น) อยู่ในลาคอ จึงฟังไม่รู้เรื่อง
 อ่านสะดุด กระท่อนกระแท่น ไม่เป็นคา ไม่ต่อเนื่อง ไม่ถูกวรรคตอน (ทาให้ความหมายเปลี่ยน)
 อ่านคาหรือวลีเดิม ซ้าหลายครั้ง โดยเฉพาะเมื่ออ่านผิด
 อ่านอย่างจืดชืด ขาดอรรถรส ทาให้ไม่ชวนฟัง หรืออ่านออกเสียงเรื่อยๆเนือยๆ หรือบางกรณีก็
อ่านโดยที่ผู้อ่านเพิ่มเติมสีสันจนเกินความจาเป็น
ปัญหาของงานอ่านที่ไม่สมบูรณ์
และเป็นปัญหาในการผลิตหนังสือเสียง
 อ่านแบบไม่แน่ใจ ว่าจะอ่านว่าอย่างไร หรือจะออกเสียงอย่างไร
 ขาดความเข้าใจและทักษะในการบรรยายรูปภาพ หรือไม่เห็นความจาเป็น
ของการบรรยายภาพ
 อ่านไม่ครบถ้วน หรือขาดความสนใจ จริงจังและรับผิดชอบในการทาหน้าที่ผู้อ่าน คิดว่าคน
ตาบอดน่าจะฟังเท่านี้ ทาให้อ่านข่าวสารไม่ตรงและไม่ครบตามความต้องการของผู้ฟัง
 มีเสียงรบกวนขณะบันทึก เช่น เสียงขยับไมโครโฟน เสียงเปิดหนังสือ (แรงและดัง) หรือเสียง
จากสิ่งแวดล้อมบริเวณที่ทาการบันทึก เช่น เสียงหมาเห่า/หอน รถยนต์ เสียงคุยกัน เป็นต้น
 เมื่อมีคาที่อ่านผิด ไม่ได้หยุดแล้วกลับมาแก้ไขโดยลบที่ผิดแล้วอ่านใหม่ แต่กลับอ่านต่อหรือ
อ่านซ้า โดยมิได้แก้ไข ทาให้ข้อมูลที่ได้รับฟังผิดไปจากความจริง
ข้อความเพื่อบันทึกใน Section 1
Format…
(ชื่อหนังสือ).....(ผู้แต่ง/ประพันธ์).....ISBN........
จัดทาเป็นหนังสือเสียงในระบบเดซี NCC Only
โดยห้องสมุดคนตาบอดแห่งชาติ เมื่อวันที่.....จานวน.....หน้า
อ่านโดย................(ชื่อ-สกุล ผู้อ่าน) เช่น
เมื่อคุณตาคุณยายยังเด็ก เล่ม 4 ประพันธ์โดย ทิพย์วาณี สนิทวงศ์ฯ
ISBN 974-255-609-1 จัดทาเป็นหนังสือเสียงในระบบเดซี NCC Only
โดยห้องสมุดคนตาบอดแห่งชาติ เมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2553 จานวน 240 หน้า
อ่านโดย กันต์ พลสงคราม

Contenu connexe

Tendances

เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
Ku'kab Ratthakiat
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
Princess Chulabhon's College Chonburi
 
กริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3 ความหมาย
กริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3     ความหมายกริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3     ความหมาย
กริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3 ความหมาย
peter dontoom
 
งานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละครงานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละคร
bambookruble
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗
Milky' __
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
ขนิษฐา ทวีศรี
 
ยานี ๑๑ แม่ก กา
ยานี ๑๑ แม่ก กายานี ๑๑ แม่ก กา
ยานี ๑๑ แม่ก กา
CHANIN111
 

Tendances (20)

เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
บทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจริยคุณ
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยาใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง พัฒนาการทางเศรษฐกิจสมัยอยุธยา
 
เพลงคณิตศาสตร์
เพลงคณิตศาสตร์เพลงคณิตศาสตร์
เพลงคณิตศาสตร์
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
 
กริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3 ความหมาย
กริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3     ความหมายกริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3     ความหมาย
กริยาช่องที่ 1กริยาช่องที่ 2กริยาช่องที่ 3 ความหมาย
 
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
โวหารภาพพจน์ในวรรณคดีไทย1
 
งานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละครงานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละคร
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗
 
มหาเวสสันดรชาดก ชุด1
มหาเวสสันดรชาดก ชุด1มหาเวสสันดรชาดก ชุด1
มหาเวสสันดรชาดก ชุด1
 
ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-1page
ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-1pageภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-1page
ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย+569+55t2his p04 f11-1page
 
รสวรรณคดี ม.1
รสวรรณคดี ม.1รสวรรณคดี ม.1
รสวรรณคดี ม.1
 
ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 2 ปริมาณสารสัมพันธ์
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
 
บทที่ ๕ ศาสนาบาบิโลเนียน
บทที่ ๕ ศาสนาบาบิโลเนียนบทที่ ๕ ศาสนาบาบิโลเนียน
บทที่ ๕ ศาสนาบาบิโลเนียน
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
 
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลการเรียนรู้
 
ยานี ๑๑ แม่ก กา
ยานี ๑๑ แม่ก กายานี ๑๑ แม่ก กา
ยานี ๑๑ แม่ก กา
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
 

Similaire à อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562

การอ่านหนังสือเสียง จัดทำโดย ชมรมอาสาสมัครเพื่อนคนตาบอด
การอ่านหนังสือเสียง จัดทำโดย ชมรมอาสาสมัครเพื่อนคนตาบอดการอ่านหนังสือเสียง จัดทำโดย ชมรมอาสาสมัครเพื่อนคนตาบอด
การอ่านหนังสือเสียง จัดทำโดย ชมรมอาสาสมัครเพื่อนคนตาบอด
Wissanu Petprawat
 
แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1
krumildsarakam25
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
อัมพร ศรีพิทักษ์
 
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
Piyarerk Bunkoson
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
อัมพร ศรีพิทักษ์
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
อัมพร ศรีพิทักษ์
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
Tongsamut vorasan
 
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมวิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
pong_4548
 

Similaire à อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562 (20)

อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟังอ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
 
การอ่านหนังสือเสียง จัดทำโดย ชมรมอาสาสมัครเพื่อนคนตาบอด
การอ่านหนังสือเสียง จัดทำโดย ชมรมอาสาสมัครเพื่อนคนตาบอดการอ่านหนังสือเสียง จัดทำโดย ชมรมอาสาสมัครเพื่อนคนตาบอด
การอ่านหนังสือเสียง จัดทำโดย ชมรมอาสาสมัครเพื่อนคนตาบอด
 
01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
2 exam-plan
2 exam-plan2 exam-plan
2 exam-plan
 
แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1
 
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
5 การฟังและการดูอย่างมีประสิทธิภาพ(154-183)
 
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
002 แพทยศาสตร์ อ่านอย่างไรจึงจะถูกต้อง
 
นำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จนำเสนอหนังสือเสร็จ
นำเสนอหนังสือเสร็จ
 
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
4 การอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ(108-147)
 
กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
กลุ่ม ๓ บทที่ ๕ ภาพสะท้อนของลักษณะภาษาไทย.
 
Numbers
NumbersNumbers
Numbers
 
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
3 การใช้ทักษะทางภาษาสื่อสารเพื่อพัฒนาตนเอง(74-103)
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมวิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
 
เรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมายเรื่องการเขียนจดหมาย
เรื่องการเขียนจดหมาย
 
E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่
 
E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่
 
E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่
 
E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่
 
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี) แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
แบบฝึก พัฒนาทักษะการอ่านสำหรับชาวต่างประเทศ (ปริญญาตรี)
 

Plus de Visanu Euarchukiati

ภาพรวมกระบวนการผลิตหนังสือเสียง
ภาพรวมกระบวนการผลิตหนังสือเสียงภาพรวมกระบวนการผลิตหนังสือเสียง
ภาพรวมกระบวนการผลิตหนังสือเสียง
Visanu Euarchukiati
 

Plus de Visanu Euarchukiati (12)

6 april 1875 total solar eclipse at grand palace
6 april 1875 total solar eclipse at grand palace6 april 1875 total solar eclipse at grand palace
6 april 1875 total solar eclipse at grand palace
 
ปิดฉากภารกิจยานอวกาศแคสซีนี
ปิดฉากภารกิจยานอวกาศแคสซีนีปิดฉากภารกิจยานอวกาศแคสซีนี
ปิดฉากภารกิจยานอวกาศแคสซีนี
 
สิ่งที่ต้องอัดเสียงเป็นอย่างแรก สำหรับหนังสือเสียงคนตาบอด
สิ่งที่ต้องอัดเสียงเป็นอย่างแรก สำหรับหนังสือเสียงคนตาบอดสิ่งที่ต้องอัดเสียงเป็นอย่างแรก สำหรับหนังสือเสียงคนตาบอด
สิ่งที่ต้องอัดเสียงเป็นอย่างแรก สำหรับหนังสือเสียงคนตาบอด
 
กฎเกณฑ์-คำแนะนำการอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
กฎเกณฑ์-คำแนะนำการอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอดกฎเกณฑ์-คำแนะนำการอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
กฎเกณฑ์-คำแนะนำการอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
 
ซอฟต์แวร์และแอปสำหรับอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
ซอฟต์แวร์และแอปสำหรับอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอดซอฟต์แวร์และแอปสำหรับอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
ซอฟต์แวร์และแอปสำหรับอ่านหนังสือเสียงให้คนตาบอด
 
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมมุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
มุมมองของมนุษย์เกี่ยวกับดาราศาสตร์มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรม
 
การใช้โปรแกรม โอบิ เพื่อสร้างหนังสือเสียงระบบเดซี
การใช้โปรแกรม โอบิ เพื่อสร้างหนังสือเสียงระบบเดซีการใช้โปรแกรม โอบิ เพื่อสร้างหนังสือเสียงระบบเดซี
การใช้โปรแกรม โอบิ เพื่อสร้างหนังสือเสียงระบบเดซี
 
วิธีติดตั้ง Obi สำหรับสร้างหนังสือเสียงระบบเดซี
วิธีติดตั้ง Obi สำหรับสร้างหนังสือเสียงระบบเดซีวิธีติดตั้ง Obi สำหรับสร้างหนังสือเสียงระบบเดซี
วิธีติดตั้ง Obi สำหรับสร้างหนังสือเสียงระบบเดซี
 
อ่านอย่างไรให้น่าฟัง - กัญจน์ พลสงคราม 2015
อ่านอย่างไรให้น่าฟัง - กัญจน์ พลสงคราม 2015อ่านอย่างไรให้น่าฟัง - กัญจน์ พลสงคราม 2015
อ่านอย่างไรให้น่าฟัง - กัญจน์ พลสงคราม 2015
 
Zooniverse
ZooniverseZooniverse
Zooniverse
 
ภาพรวมกระบวนการผลิตหนังสือเสียง
ภาพรวมกระบวนการผลิตหนังสือเสียงภาพรวมกระบวนการผลิตหนังสือเสียง
ภาพรวมกระบวนการผลิตหนังสือเสียง
 
คู่มือการใช้โปรแกรม MyStudioPC
คู่มือการใช้โปรแกรม MyStudioPCคู่มือการใช้โปรแกรม MyStudioPC
คู่มือการใช้โปรแกรม MyStudioPC
 

อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง 20 เมษายน 2562

  • 4. ความถูกต้อง  ออกเสียงถูกต้อง ตามหลักเกณฑ์ของการอ่านภาษาไทย ◦ อักขรว ิธี  การออกเสียง ร และ ล (ดี/เป็นธรรมชาติ/ร เป็น ล/ล เป็น ร)  การออกเสียงตัวควบกล้า (ดี/ออกเสียงได้/ไม่สับสน)  การออกเสียงวรรณยุกต์ (ตรง/ไม่ตรง)  การออกเสียงพยัญชนะ (ตรง/ไม่ตรง)  การออกเสียงสระ (ตรง/ไม่ตรง)
  • 5. ความถูกต้อง  ความถูกต้องตามหลักเกณฑ์การออกเสียงต่างๆ เช่น ◦ คาศัพท์ /คาราชาศัพท์ /คาว ิสามานยนาม (นามเฉพาะ) /คาสมาส- สนธิ /การอ่านตัวเลขและเครื่องหมายต่างๆ  วัตรปฏิบัติ, พรหมลิขิต, พยาธิ, สมุลแว้ง, เสลภูมิ, หนองบัวระเหว  สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี  ๐๐.๐๕ น., ร.ศ. ๑๑๒ (พ.ศ. ๒๔๓๖),  ภบ ๔๑๐๗ กรุงเทพมหานคร  ความถูกต้องตามบท / ความเป็นจริง เพื่อไม่ให้ความหมาย เปลี่ยนหรือเสียความ ◦ ไม่ตู่ / ตก / เติม คาหรือความ (แต่ถ้าความหมายไม่เปลี่ยนหรือเสีย ความก็อนุโลมให้กระทาได้)
  • 6. คาที่มักอ่านผิด  กลไก  กน-ไก  คณบดี  คะ-นะ-บอ-ดี  ชาติพันธุ์  ชาด-ติ-พัน  ปรากฏการณ์  ปรา-กด-กาน, ปรา-กด-ตะ-กาน  วณิพก  วะ-นิบ-พก, วะ-นิ-พก  สร่าง  ส่าง  กามว ิตถาร  กาม-ว ิด-ถาน
  • 7. คาที่มักอ่านผิด  กามตัณหา  กาม-มะ-ตัน-หา  คุณวิเศษ  คุน-นะ-ว ิ-เสด  โฆษณา  โคด-สะ-นา  จิตแพทย์  จิด-ตะ-แพด  ฉศก  ฉอ-สก  ปรักหักพัง  ปะ-หรัก-หัก-พัง  โลกธรรม  โลก-กะ-ทา
  • 8. ความชัดเจน  คือการสื่อความหมายด้วยคา/ความ ที่ชัดเจน เข้าใจง่าย ◦ การออกเสียงคา ◦ (ต้องชัดถ้อยชัดคา / เต็มคา / ไม่รัวๆ รวบๆ / ไม่เน้นคาเกินไป / ไม่ลากคา / ไม่กระแทกเสียง เป็นต้น) ทั้งพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์ วรรคตอนถูกต้อง ◦ ระวังเรื่องเสียงสอดแทรก ◦ เช่น ลมหายใจ เสียงในช่องปาก เสียงลมพ่นหน้าคา ◦ เปล่งเสียงให้มีน้าหนักคาและความที่เป็นธรรมชาติ ◦ ให้เหมือนการพูดเล่า
  • 9. ความน่าสนใจ / น่าฟัง  ลีลาการนาเสนอ ◦ วรรคตอน ◦ ถูกต้อง / ดี / ไม่อ่านเรียงคา / ไม่หยุดต่อผิดที่ / ไม่แบ่งวรรคตอนมากจนเกินไป / หรือไม่แบ่งวรรคเลย “ห้ามผู้หญิงใส่กางเกงในเวลาราชการ” “ขึ้นรถไฟไม่มีอันตราย” “ยานี้ดีกินแล้วแข็งแรงไม่มีโรคภัยเบียดเบียน” ◦ จังหวะการอ่าน ◦ พอดี / ไม่เร็วจนเกินไป / ไม่ช้าไป / กระชับ / ไม่สะดุด / ไม่ตะกุกตะกัก / ราบรื่น ◦ ความเหมาะสมกับเนื้อหา ◦ ไม่เป็นการอ่านออกเสียง / อ่านเนือยๆ เรื่อยๆ / ขาดน้าหนักคาและความ
  • 10. ความน่าสนใจ / น่าฟัง  เสียง ◦ โดยธรรมชาติและคุณภาพ ต้องแจ่มใส / ไม่แห้ง-เครือ-สั่น ◦ ระดับเสียงและการเปล่งเสียง ◦ ดี / ไม่เบา-ดังไป / ขึ้นจมูก / สูงไป-ต่าไป / ไม่สม่าเสมอ ลีลาดี ผู้ฟังสามารถจินตนาการตามที่อ่าน/เล่าได้ – การอ่านต้องมีชีว ิตชีวา มีลีลาที่เป็นธรรมชาติ...
  • 12. อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง  ถูกต้อง ◦ ถูกต้องหลักเกณฑ์การอ่าน (อักขรว ิธี) ◦ ถูกต้องตามการอ่านออกเสียงคา/ความประเภทต่างๆ ◦ ถูกต้องตามบทและความเป็นจริง (ไม่ตู่/ตก/เติม คาหรือความ)  ชัดเจน ◦ ออกเสียงคา/ความ ที่ชัดเจน เต็มคา เข้าใจง่าย ไม่เบาจนเกินไป เปล่งเสียงให้มีน้าหนักคาและความเป็นธรรมชาติ  น่าสนใจ / น่าฟัง ◦ ลีลาการนาเสนอ (วรรคตอน, จังหวะการอ่าน, ความเหมาะสมกับ เนื้อหา) ◦ น้าเสียง (แจ่มใสเป็นธรรมชาติ มีชีว ิตชีวา เป็นธรรมชาติ)
  • 13. คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง  ควรอ่านในห้องที่เงียบ ◦ เสียงดังฟังชัด โดยอ่านไม่เร็วหรือช้าเกินไป  อ่านทุกอย่าง ทุกหน้า (ยกเว้นเลขหน้า) เริ่มตั้งแต่ ปกหน้า / ปกใน / คานา / สารบัญ / บทนา / เนื้อหาทั้งหมด / ปกหลัง ฯลฯ ◦ อ่านคานา (หากเห็นว่าไม่จาเป็นจะไม่อ่านก็ได้) ◦ อ่านสารบัญ เช่น บทที่ ๑ อานารยชน หน้าที่ ๗...  ถ้ามีอักษรย่อ หรือสัญลักษณ์ ให้อ่านคาเต็ม เช่น ◦ พ.ศ. อ่าน พุทธศักราช, ส.ส. อ่าน สมาชิกสภาผู้แทนราษฏร ◦ ฯลฯ อ่าน และอื่น  การอ่านข้อความในเครื่องหมายคาพูด ◦ หากเป็นข้อความสั้นๆ เช่น “คาร์โลมาน” ให้อ่านว่า “ในเครื่องหมายคาพูดคาร์โลมาน” ◦ หากเป็นข้อความยาว เช่น “คาร์โลมาน ค.ศ.๗๔๑-๗๔๗” ให้อ่านว่า “เครื่องหมายคาพูด เปิด คาร์โลมาน คริสตศักราช ๗๔๑-๗๔๗ เครื่องหมายคาพูดปิด”
  • 14. คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง  การอ่านข้อความในวงเล็บ ◦ ถ้าเป็นข้อความสั้นๆ ให้อ่านว่า “ในวงเล็บ” ตามด้วยข้อความ เช่น คาร์โลมาน (ค.ศ. ๗๔๑-๗๔๗) อ่านว่า “คาโลมาน ในวงเล็บ คริสตศักราช ๗๔๑-๗๔๗” ◦ การอ่านข้อความในวงเล็บเป็นภาษาอังกฤษ เช่น คาร์โลมาน (Carloman) ให้อ่านว่า “คาโลมาน ในวงเล็บ ซี เอ อาร์ แอล โอ เอ็ม เอ เอ็น” ◦ ถ้าข้อความในวงเล็บเป็นข้อความที่ยาว เช่น (ในเวลานั้นศาสนาในยุโรปมีนิกาย เดียว) ให้อ่านว่า “วงเล็บเปิด ในเวลานั้นศาสนาในยุโรปมีนิกายเดียว วงเล็บปิด”  การอ่านเชิงอรรถ (Foot Note) เช่น ◦ การสวดมนต์วันละ ๕ ครั้ง1 โดยหันหน้าไปทางเมืองเมกกะ 1 คือเวลารุ่งอรุณ เที่ยง บ่าย เย็น และค่า อ่านว่า “การสวดมนต์วันละ ๕ ครั้ง คือเวลารุ่งอรุณ เที่ยง บ่าย เย็น และค่า โดยหันหน้าไป ทางเมืองเมกกะ”
  • 15. คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง  การอ่านข้อความในตาราง ให้อ่านว่า “ตารางแบ่งออกเป็น ๔ ช่อง ช่องที่ ๑ ลาดับเรื่อง ช่องที่ ๒ ชื่อเรื่อง ช่องที่ ๓ ผู้แต่ง ช่องที่ ๔ จานวนม้วน ลาดับเรื่องที่ ๑ ชื่อเรื่อง คู่มือหมอชาวบ้าน ผู้แต่ง ประเวศ วสี จานวนม้วน ๒ ลาดับเรื่องที่ ๒ ชื่อเรื่อง การพัฒนาตนเอง ผู้แต่ง สมิต อาชวนิจ กุล จานวนม้วน ๔” ลาดับเร ื่อง ชื่อเร ื่อง ผู้แต่ง จานวนม้วน 1 คู่มือหมอชาวบ้าน ประเวศ วสี 2 2 การพัฒนาตนเอง สมิต อาชวนิจกุล 4
  • 16. อ่านว่า “ตารางแบ่งออกเป็น ๓ ช่อง ช่องที่ ๑ ลาดับที่ ช่องที่ ๒ รายการ ช่องที่ ๓ ความคิดเห็น รายการช่องที่ ๓ แบ่งออกอีก ๒ ช่อง คือ เห็นด้วย และไม่เห็นด้วย ลาดับที่ ๑ รายการความประพฤติของนักเรียน ความคิดเห็น เห็นด้วย ลาดับที่ ๒ รายการความประพฤติของครู ความคิดเห็น ไม่เห็นด้วย” ลาดับที่ รายการ ความคิดเห็น เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย 1 ความประพฤติของนักเรียน / 2 ความประพฤติของครู / คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง
  • 17. คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง  แผนภูมิหรือแผนภาพ ◦ หากเป็นแผนที่ หรือรูปภาพ เช่น ภาพพระเจ้าเฮนรี่ที่ ๘ ให้อ่านว่า “มี ภาพประกอบ ภาพพระเจ้าเฮนรี่ที่ ๘” ◦ หากเป็นแผนภูมิ ให้อธิบายตามความเข้าใจของผู้อ่านและเข้าใจง่าย แต่หาก เป็นแผนภูมิซึ่งซับซ้อนเกินความสามารถที่จะอธิบายได้ ให้อ่านเพียงว่า “เป็น แผนภูมิหรือภาพประกอบ....”
  • 18.  กลอน โคลง ฉันท์ ◦ ให้อ่านไปตามสัมผัสธรรมดา ให้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์ของบทประพันธ์ นั้นๆ ไม่ต้องอ่านทานองเสนาะ  ข้อควรจา ◦ บอกข้อมูลให้คนตาบอดทราบเกี่ยวกับหนังสือตามหลักที่กาหนด ◦ คาภาษาอังกฤษ หากไม่แน่ใจในการออกเสียงให้สะกดตัวอักษรเรียงตัว ◦ คาภาษาไทย หากเป็นคายากหรือคาพ้องเสียงและคิดว่าผู้ฟังอาจไม่เข้าใจให้ สะกดคา (อ่านคานั้น แล้วพูดว่า “สะกดว่า...”) คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง
  • 19. คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง  การอ่านหนังสือบันเทิงคดี ◦ อ่านน้าเสียงปกติ เสียงดังฟังชัด ◦ ไม่ควรเลียนเสียงตัวละคร หากไม่สามารถทาได้ดี ◦ คาในเครื่องหมายคาพูด ให้อ่านเน้นเสียงหรือเสียงดังขึ้น เพื่อให้ทราบว่า แตกต่างจากประโยคทั่วไป ◦ ไม่ต้องอธิบายภาพประกอบเมื่อไม่จาเป็น ◦ หนังสือประเภทกว ีนิพนธ์ ไม่ต้องอ่านทานองเสนาะ อ่านสาเนียงธรรมดา แต่ ให้มีสัมผัส เว้นวรรค ตามฉันทลักษณ์ของบทกว ีนั้นๆ
  • 20. คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง ◦ รายละเอียดอื่นๆ นอกจากเนื้อหา อาจเพิ่มเติม หรือตัดทอน ตามความ เหมาะสม (แต่ห้ามเพิ่มหรือตัดทอนเนื้อหาภายใน เช่น  การอ่านหนังสือเพิ่มเติม ได้แก่การอ่านคาอุทิศ, หน้าที่แทรกประวัติผู้แต่ง, คาประกาศเกียรติคุณ ฯลฯ ซึ่งอาจจะอยู่หลังสุด,ปกหลัง,หน้าหลังหน้าปก เป็นต้น)  การอ่านหน้าสารบัญ หากเห็นว่าไม่จาเป็นกับเนื้อหาสามารถตัดทอนได้ (หรือหากจาเป็นก็ให้อ่านเฉพาะชื่อเรื่อง ก็ได้)  การอ่านหน้าคานา หากมีคานาจากการพิมพ์ครั้งอื่นเพิ่มเติม หากเห็นว่ามี มากเกินไป ให้อ่านเฉพาะคานาสานักพิมพ์ครั้งแรกและครั้งล่าสุด
  • 21. คู่มือแนะนาการอ่านหนังสือเสียง  คาแนะนาในการอ่านหนังสือเสียง ภาษาอังกฤษ ◦ ต้องมีความสามารถในการอ่านออกเสียงภาษาอังกฤษ ◦ ภาษาอังกฤษนั้นมีข้อจากัดมากกว่าภาษาไทย ดังนั้น จึงต้องฝึกอ่านหนังสือ ให้เข้าใจก่อนที่จะทาการบันทึก เพื่อการอ่านจะได้ถูกต้องมากขึ้น ◦ ต้องอ่านให้ถูกต้อง ชัดเจนทุกคา ทุกประโยค ◦ อ่านให้เร็วสม่าเสมอ ฟังแล้วราบรื่น ไม่อ่านเร็วหรือช้าเกินไป (เพราะถ้าอ่าน เร็วหรือรัวจะทาให้ฟังไม่รู้เรื่อง) ◦ รูปภาพ แผนภูมิ หรือตารางต่างๆ ให้อธิบายตามความเข้าใจ ◦ อ่านให้เป็นธรรมชาติ ไม่จาเป็นต้องอ่านเป็นสาเนียงฝรั่งเจ้าของภาษา ก็ได้ ขอแค่อ่านได้ถูกต้อง ชัดเจน และรู้เรื่องก็พอ (แต่ถ้าสามารถทาได้ก็ยิ่งดี)
  • 22. สรุป...การอ่านหนังสือเสียง ◦ อ่านให้ถูกต้องตามหลักภาษาไทย (อักขรว ิธี / คาและเครื่องหมายต่างๆ) ◦ บอกข้อมูลให้ถูกต้องเกี่ยวกับหนังสือตามหลักที่กาหนด ◦ อ่านให้ชัดเจน (เสียงดัง ฟังชัด เต็มคา ไม่เบาจนเกินไปจนฟังไม่รู้เรื่อง / ไม่ช้าหรือเร็ว จนเกินไป / เปล่งเสียงให้มีน้าหนักคาและความเป็นธรรมชาติ) ◦ อ่านข้อความให้ครบถ้วน ชัดเจน ไม่ข้ามคา หรือเกินจากในหนังสือ โดยไม่จาเป็น ◦ อ่านผิดแล้วต้องแก้ไขให้ถูกต้อง ◦ อ่านให้น่าสนใจ/น่าฟัง (การแบ่งวรรคตอน / ใช้น้าเสียงแจ่มใส ลีลา ที่เหมาะกับเนื้อหา / อ่านให้มีชีว ิตชีวาเป็นธรรมชาติ) ◦ ใส่สีสันได้ตามความเหมาะสม / หรือใส่เพลงหรือเสียงประกอบได้ตามสมควร ◦ เมื่ออ่านครบทุกหัวข้อ หรืออ่านเนื้อหาจบหมดแล้ว ให้พูดปิดท้ายเล่ม ว่า “จบบริบูรณ์”
  • 23. ปัญหาของงานอ่านที่ไม่สมบูรณ์ และเป็นปัญหาในการผลิตหนังสือเสียง  อ่านออกเสียงไม่ถูกต้องตามหลักภาษาไทย เช่น คาควบกล้า คาบาลี-สันสกฤต ฯลฯ  อ่านเกิน อ่านตก อ่านข้าม อ่านผิด จากเอกสารหรือหนังสือต้นฉบับ (โดยเฉพาะคาที่เป็น ภาษาอังกฤษ โดยมีคาหรือข้อความภาษาไทยอยู่ด้วย หรืออ่านเกิน เช่น รู้ อ่านว่า รู้สึก เป็นต้น)  เปล่งเสียงออกมาไม่ชัด ว่าอ่านคาว่าอะไร/ประโยคหรือวลีอะไร  อ่านเสียงไม่สม่าเสมอ เดี๋ยวดัง เดี๋ยวค่อย หรือบางทีเสียงเบาแผ่วมาก เหมือนหมดแรงเปล่งเสียง  อ่าน (เหมือนบ่น) อยู่ในลาคอ จึงฟังไม่รู้เรื่อง  อ่านสะดุด กระท่อนกระแท่น ไม่เป็นคา ไม่ต่อเนื่อง ไม่ถูกวรรคตอน (ทาให้ความหมายเปลี่ยน)  อ่านคาหรือวลีเดิม ซ้าหลายครั้ง โดยเฉพาะเมื่ออ่านผิด  อ่านอย่างจืดชืด ขาดอรรถรส ทาให้ไม่ชวนฟัง หรืออ่านออกเสียงเรื่อยๆเนือยๆ หรือบางกรณีก็ อ่านโดยที่ผู้อ่านเพิ่มเติมสีสันจนเกินความจาเป็น
  • 24. ปัญหาของงานอ่านที่ไม่สมบูรณ์ และเป็นปัญหาในการผลิตหนังสือเสียง  อ่านแบบไม่แน่ใจ ว่าจะอ่านว่าอย่างไร หรือจะออกเสียงอย่างไร  ขาดความเข้าใจและทักษะในการบรรยายรูปภาพ หรือไม่เห็นความจาเป็น ของการบรรยายภาพ  อ่านไม่ครบถ้วน หรือขาดความสนใจ จริงจังและรับผิดชอบในการทาหน้าที่ผู้อ่าน คิดว่าคน ตาบอดน่าจะฟังเท่านี้ ทาให้อ่านข่าวสารไม่ตรงและไม่ครบตามความต้องการของผู้ฟัง  มีเสียงรบกวนขณะบันทึก เช่น เสียงขยับไมโครโฟน เสียงเปิดหนังสือ (แรงและดัง) หรือเสียง จากสิ่งแวดล้อมบริเวณที่ทาการบันทึก เช่น เสียงหมาเห่า/หอน รถยนต์ เสียงคุยกัน เป็นต้น  เมื่อมีคาที่อ่านผิด ไม่ได้หยุดแล้วกลับมาแก้ไขโดยลบที่ผิดแล้วอ่านใหม่ แต่กลับอ่านต่อหรือ อ่านซ้า โดยมิได้แก้ไข ทาให้ข้อมูลที่ได้รับฟังผิดไปจากความจริง
  • 25. ข้อความเพื่อบันทึกใน Section 1 Format… (ชื่อหนังสือ).....(ผู้แต่ง/ประพันธ์).....ISBN........ จัดทาเป็นหนังสือเสียงในระบบเดซี NCC Only โดยห้องสมุดคนตาบอดแห่งชาติ เมื่อวันที่.....จานวน.....หน้า อ่านโดย................(ชื่อ-สกุล ผู้อ่าน) เช่น เมื่อคุณตาคุณยายยังเด็ก เล่ม 4 ประพันธ์โดย ทิพย์วาณี สนิทวงศ์ฯ ISBN 974-255-609-1 จัดทาเป็นหนังสือเสียงในระบบเดซี NCC Only โดยห้องสมุดคนตาบอดแห่งชาติ เมื่อวันที่ 4 กันยายน พ.ศ. 2553 จานวน 240 หน้า อ่านโดย กันต์ พลสงคราม