SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  14
ระบบการรับรองวิธีปฏิบัติท่ีเป็ นเลิศ ( Best Practices
                   Accreditation System )
-------------------------------------------------------------------
                            ------------

ความเป็ นมา
        สถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นาการเรี ย นรู้ (สวร.)ไดู พั ฒ นากระบวนการหรื อ
เคร่ ือ งมื อ ท่ีใ ชู ใ นการจั ด การคุ ณ ภาพสถานศึ ก ษา ท่ีรู้ จั ก กั น ในช่ ือ ของ
“ToPSTAR” โดยมีแนวคิดพ้ืนฐาน 3 ประการ คือ 1) แนวคิด เชิ งระบบ
(System thinking) ซ่ ึงใชูในการวิเคราะห์องค์กรและออกแบบการบริหาร
จัดการคุณภาพเชิงระบบในระบบย่อยต่าง ๆ ของสถานศึกษา                                     2) แนวคิด
เชิงยุท ธศาสตร์ (Strategic thinking) ใชู ในการวางแผนในการประกั น
คุ ณภาพ(QA) และการพั ฒ นาคุ ณ ภาพอย่ า งต่ อ เน่ ือ ง (CQI) เพ่ ือ ใหู บ รรลุ
วิสัยทัศน์ และเปู าหมายขององค์กร และ 3) แนวคิดการเรียนรู้และทำา งาน
เป็ นทีม (Team Learning)
        ผลจากการใชูเคร่ ืองมือในการจัดการคุณภาพอย่างหน่ ึง คือ สถานศึกษา
ไดูคูนพบวิธีปฏิบัติท่ีตนเองเกิดความรู้สึกว่าประสบความสำา เร็จเป็ นอย่างย่ิง มี
ความช่ ืนชม ภาคภ้มิใจในวิธีปฏิบัติและผลลัพธ์ท่ีเกิดจากการปฏิบัตินั้น เป็ นวิธี
ปฏิ บั ติ ท ่ีเ ป็ นนวั ต กรรม สามารถตอบสนองความคาดหวั ง ของผู้ เ ก่ีย วขู อ ง
สามารถเป็ น ตู น แบบในการพั ฒ นาใหู กั บ สถานศึ ก ษาอ่ ืน ๆไดู วิ ธี ป ฏิ บั ติ ข อง
สถานศึกษานี้เรียกว่า“วิธีปฏิบัติท่ีเป็ นเลิศ:Best Practices”
        พันธกิจสำาคัญย่ิงอย่างหน่ ึงท่ีสถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้ดำาเนิ นการ
อย่้ คือ การส่งเสริม แสวงหา และจัดระบบการใหูการรับรอง เพ่ ือสะสมเป็ น
ฐ า น ขู อ ม้ ล วิ ธี ป ฏิ บั ติ ท ่ีเ ป็ น เ ลิ ศ ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า แ ล ะ จั ด ก า ร ค ว า ม รู้
(Knowledge Management : KM) อย่างเป็ นระบบใหูสถานศึกษาทัวไปเขูา                            ่
มาศึก ษา เรี ยนรู้ เที ย บระดั บ (Benchmarking) วิ ธีป ฏิบัติท่ีเป็ น เลิ ศในฐาน
ขู อม้ ลของสถาบัน ฯ ดังกล่า ว ดูว ยหวั งท่ีจะใหู เกิด องค์กรหรือ สังคมแห่ งการ
เรียนรู้ ( Learning Organization : LO ) อย่างกวูางขวางซ่ ึงเป็ นวิสัยทัศน์
ของสถาบันฯ

1. Best Practices คืออะไร
        American Productivity and Quality Center (อู า งใน บุ ญ ดี
บุญญากิจ และกมลวรรณ ศิริพานิ ช, 2545 : 10 – 11) ใหูคำา จำา กัดความ
ของ Best Practices ว่า คือการปฏิบัติทังหลายท่ีสามารถก่อใหูเกิดผลท่ีเป็ น
                                         ้
เลิศ รวมความแลูว Best Practices คือ วิธีปฏิบัติท่ีทำาใหูองค์กรและสบความ
สำา เร็จหรืออาจกล่าวไดูว่า คือ การปฏิบัติท่ีทำา ใหูองกรกูาวส่้ความเป็ นเลิศ ซ่ ึง
อาจปรับสำานวนใหูเก่ียวขูองกับวงการการศึกษา ไดูว่า
Best Practices เป็ น วิ ธีก ารทำา งานใหม่ ๆ ท่ีส ถานศึ ก ษาเรี ย นรู้ จ าก
การปฏิบัติจริงในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ซ่ ึงนำ าไปส่้การบรรลุผลลัพธ์ท่ี
ตอบสนองความคาดหวังของชุมชน ผู้ปกครอง และเปู าหมายของสถานศึกษา
อย่างมีประสิทธิภาพ ทำาใหูสถานศึกษาประสบความสำาเร็จ กูาวส่้ความเป็ นเลิศ




2. แนวทางการพิจารณา Best Practices
     วิ ธี ป ฏิ บั ติ ใ นการพั ฒ นาคุ ณ ภาพสถานศึ ก ษาท่ีจ ะเรี ย กไดู ว่ า เป็ น Best
Practices นั ้น มีแนวทาง
การพิจารณา 6 ขูอ ดังนี้
     (1) วิ ธีป ฏิบัตินั้น ดำา เนิ น การบรรลุ ผ ลไดู ส อดคลู อ งกับ ความคาดหวั ง ของ
           ชุ ม ชนหรื อ ผู้ ป กครองท่ีมี ต่ อ สถานศึ ก ษาหรื อ เป็ นวิ ธี ป ฏิ บั ติ ท ่ีส รู า ง
           ความพึงพอใจใหูกับทุกคนในสถานศึกษา ไดู
     (2) วิธีปฏิบัตินั้น ผ่านกระบวนการนำ าไปใชูอย่างเป็ นวงจรจนเห็นผลอย่าง
           ชั ด เจนว่ า ทำา ใหู เกิ ด คุ ณภาพส้ งขึ้ น อย่ า งต่ อ เน่ ือ ง หรื อ กล่ า วอี ก อย่ า ง
           หน่ ึงคือวิธีปฏิบัตินั้นมีกระบวนการ PDCA จนเห็นแนวโนู มของตัวชี้
           วัดความสำาเร็จท่ีดีขึ้น
     (3) สถานศึ ก ษาสามารถบอกเล่ า ถึ ง วิ ธี ป ฏิ บั ติ นั้ น ไดู ว่ า “ ทำา อะไร ?
           (what)” “ทำา อย่า งไร ? (how)” และ “ ทำา ไม? จึ งทำา หรื อ ทำา ไป
           ทำาไม? (why)”
     (4) ผลลัพธ์จากวิธีการปฏิบัตินั้น เป็ นไปตามองค์ประกอบ ขูอกำาหนดของ
           การพัฒนาคุณภาพเชิงระบบ
     (5) วิธีปฏิบัตินั้นสามารถระบุไดูวาเกิดจากปั จจัยสำาคัญท่ีชัดเจน และปั จจัย
                                             ่
           นั ้นก่อใหูเกิดการปฏิบัติท่ีต่อเน่ ืองและยังยืน   ่
     (6) วิ ธี ป ฏิ บั ติ นั้ น ใชู ก ระบวนการจั ด การความรู้ ( KM: Knowledge
           Management) เช่ น การเล่ า เร่ ือ ง (Storytelling) ในการถอดบท
           เรียนจากการดำาเนิ นการ
3. กระบวนการค้นหา Best Practices ในสถานศึกษา
      สำา หรับผู้ท่ีเก่ียวขู องกับ การพั ฒนาคุ ณภาพสถานศึก ษา เช่ น ผู้ปฏิ บัติ
งานของระบบโดยตรงท่ีเ รี ย กว่ า ชุ ม ชนแนวปฏิ บั ติ ( Community of
Practices )       ผู้ประเมิน คุณภาพ        ศึ กษานิ เทศก์ หรือ ผู้ใหู คำา ปรึ กษา
การพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา สามารถคูนหา Best Practices ไดูโดย
ใชูกระบวนการ ดังนี้
(1)การคูนหาว่าสถานศึกษาหน่ ึง ๆ มีวิธีปฏิบัติในการพัฒนาคุณภาพ
            อย่างไร จะตูองวิเคราะห์บริบทของสถานศึกษา ความคาดหวังของผู้
            ปกครอง และชุมชนรวมทังผู้มีส่วนไดูเสียต่าง ๆ ว่าคาดหวังกับสถาน
                                             ้
            ศึกษานี้อย่างไรบูาง
        (2) คูนหาว่าสถานศึกษามีวิธีปฏิบัติดี ๆ ท่ีดำาเนิ นการไดูสอดคลูองกับ
ความคาดหวังตาม
                     ขูอ (1) อย่างไรบูาง
        (3) พิจารณาว่าวิธีปฏิบัติดี ๆ เหล่านั ้นมีการนำ าไปใชูจริงอย่างครบวงจร
        PDCA หรือไม่ เพ่ ือยืนยันว่า
                วิธีปฏิบัติดี ๆ นั ้นถ้กนำ าไปใชูจริง และเป็ น “นวัตกรรม” การ
        ทำางานของสถานศึกษาไดูหรือไม่
         (4) ใชูกระบวนการจัดการความรู้ เช่น เร่ ืองเล่าเรูาพลัง (Storytelling )
ในการแลกเปล่ียน
                 ประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติของผู้เก่ียวขูอง โดยมีรายละเอียด.-
                  - กำาหนดเปู าหมายของการแลกเปล่ียนวิธีปฏิบัติ ( Knowledge
Vision )
                  - เล่าประสบการณ์จากการปฏิบัติการ ( Knowledge Sharing)
                  - สรุปเป็ นวิธีการปฏิบัติท่ีเป็ นเลิศ ( Knowledge Asset )
        (5) วิเคราะห์ปัจจัยความสำาเร็จ บทเรียนท่ีสถานศึกษาไดูเรียนรู้จากการ
ดำาเนิ นการตามวิธี
                 ปฏิบัติเหล่านั ้น
4. องค์ประกอบของการเขียน Best Practices
        Best Practices จะมี ป ระโยชน์ เ ม่ ือ ถ้ ก เผยแพร่ ใ หู เ กิ ด การเรี ย นรู้ ข อง
คนในสถานศึกษาหรือ ผู้เก่ียวขูองอ่ ืน ๆ ดังนั ้น การเขียน Best Practices
เพ่ ือเผยแพร่นี้จึงมีความคิดเห็น ซ่ ึงมีองค์ประกอบและแนวในการเขียนดังนี้
        (1) ความเป็ นมา เป็ นการเขียนเพ่ ือสะทูอ นส่ิงท่ีเป็ นความคาดหวั งของผู้
            ปกครองหรือชุมชนท่ีมีต่อสถานศึกษา และเพ่ ือใหูเห็นบริบทสภาพ
            ทัวไปของสถานศึกษา
              ่
        (2) การพัฒนาระบบคุณภาพของสถานศึก ษา การเขียนตูองสะทู อนใหู
            เห็นต่อการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาดำา เนิ นการอย่างไร และ
            เช่ ือมโยงกับความคาดหวังของผู้ปกครองและชุมชนอย่างไร
        (3) Best Practices เป็ น การเสนอวิ ธี ป ฏิ บั ติท ่ีเป็ น เลิ ศ ซ่ ึง เป็ น ขู อ สรุ ป
            จากกิจกรรมเร่ ืองเล่าเรูาพลัง
            ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษามีอะไรบูาง และอธิบายว่า คือ
            อะไร? ทำาอย่างไร?
            และทำาทำาไม?
        (4) ผลการดำา เนิ นการ เป็ นการอธิบายผลท่ีเกิดขึ้นจาก Best Practices
            ตามตัวชีวัดความสำาเร็จว่าส่งผลดี
                        ้
ต่อคุณภาพสถานศึกษาอย่างไรบูาง
       (5) ปั จจั ย ความสำา เร็ จ เป็ นการนำ า เสนอผลการวิ เ คราะห์ ว่ า Best
           Practices เกิดขึ้นไดูเพราะอะไร
               มีเง่ ือนไขอะไรบูาง มีอะไรเป็ นปั จจัยในระบบท่ีทำาใหูวิธีปฏิบัติเหล่า
       นี้ ดำารงอย่้ไดูในระยะยาว
               ไม่ใช่การทุ่มเทเฉพาะกิจของสถานศึกษา
       (6) บทเรียนท่ีได้รับ เป็ นการสะทูอนใหูเห็นว่าสถานศึกษาเรียนรูจากการ      ้
           ทำางานตามวิธีปฏิบัติเหล่านี้
              อย่างไรบูาง อะไรเป็ นเคล็ดลับท่ีดำาเนิ นไดูประสบผลสำาเร็จ รวมทัง           ้
       ขูอพึงระวังมีอะไรบูาง
               Best Practices ถือว่าเป็ นส่ิงท่ีมีคุณค่าต่อการเรียนรู้ของสถาน
ศึกษา และผู้ เก่ียวขูอ งกั บการพั ฒนาคุณภาพท่ีจะเป็ นส่ ือในการเรี ยนรู้ หรื อ
เป็ นร้ปธรรมของการเทียบเคียวคุณภาพ (Benchmarking) ของสถานศึกษา
ต่าง ๆ ซ่ ึงแนวทางท่ีนำา เสนอนี้ มาจากประสบการณ์ ของนั กวิจัยในโครงการ
ToPSTAR                 ซ่ ึง ตู อ งเรี ย นรู้ แ ละจั ด การความรู้ จ ากภาคสนามใหู มี ค วาม
ชัดเจนและเป็ นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาต่อไป




٥. กระบวนการรับรอง Best Practices
      ٥.١ ขันตอนการรับรอง BP
            ้
               กระบวนการรับรอง Best Practices ประกอบดูวยขันตอน
                                                          ้
ดังต่อไปนี้

                    จัดทำาหลักการ / กรอบ / เกณฑ์ / วิธีการรับรอง BP


                                 เชิญชวนโรงเรียนเสนอเอกสาร BP
ประเมินเอกสาร BP จากโรงเรียน



                                      เป็ นไปตามเกณฑ์               โรงเรียน
    ปรับปรุงเอกสาร BP


                                   ประเมิน BP ภาคสนาม


                                     เป็ นไปตามเกณฑ์
    พัฒนา / ปรับปรุง


                            รับรองคุณภาพ BP


                                               จัดทำาฐานขูอม้ล


                  ส่งเสริมการเทียบระดับ (Benchmarking)


                               สรุปรายงานผลการดำาเนิ นงาน
                                        การรับรอง BP


    5.2 ตัวชีวัดการรับรอง
             ้              BP
       ตัวชีวัดการรับรอง BP ไดูแก่
            ้
          (1) ระดับคุณภาพของกรอบและเกณฑ์
          (2) จำานวนโรงเรียนท่ีเสนอเอกสาร BP เพ่ ือขอรับการรับรอง
          (3) สัดส่วนเอกสาร BP ท่ีผ่านการประเมินเอกสาร
          (4)รูอยละของโรงเรียนท่ีผ่านเกณฑ์การประเมินภาคสนาม
          (5) จำานวนโรงเรียนท่ีไดูรับการรับรอง BP
          (6)ระดับคุณภาพของการจัดทำาฐานขูอม้ลและจำานวนองค์กร
              ท่ีทำาการเทียบระดับ
          (7) ระดับคุณภาพของรายงานผลการดำาเนิ นงานรับรอง BP


٦. แนวทางในการประเมิน
แนวทางในการประเมินโดยใชูเกณฑ์การประเมินวิธีปฏิบัติท่ีเป็ นเลิศ มี
ดังนี้
         6.1 เกณฑ์การประเมินวิธีปฏิบัติทีเป็ นเลิศเป็ นเกณฑ์ท่ีใชูประเมิน Best
             Practices ในร้ปเอกสารท่ีสถานศึกษานำ าเสนอ
         6.2ผู้ประเมินอาจสัมภาษณ์ผู้เก่ียวขูองเพ่ิมเติม หรือขอใหูสถานศึกษา
             นำ าเสนอดูวยวาจาเพ่ิมเติมหรือไปเย่ียมชมท่ีโรงเรียนก็ไดู
         6.3 Best Practices ท่ีจะไดูรับการรับรองจะตูองเป็ นไปตามเกณฑ์ ดัง
             ต่อไปนี้
                 6.3.1 ผลการประเมิน Best Practices ตามประเด็นการประเมิน
                       ย่อย มีรายการท่ี “จริง” ตามประเด็นการประเมินย่อยไม่ตำ่า
                       กว่ารูอยละ ٨٠ ของจำานวนประเด็นการประเมินย่อย
                       ทังหมด (มีรายการท่ี “จริง” ١٨ ประเด็นย่อยจากทังหมด ٢
                         ้                                               ้
                       ٣ ประเด็นย่อย)
                 6.3.2 ผลการประเมิน Best Practices ตามประเด็นการประเมิน
                       หลักตูองมีรายการ “จริง” ครบทุกประเด็นการประเมินหลัก
                       (٦ ประเด็นหลัก) และแต่ละประเด็นหลักจะตูองมีรายการ
                       ประเมินท่ี “จริง” ตามประเด็นย่อยของแต่ละประเด็นหลัก
                       ไม่นูอยกว่า     รูอยละ ٦٠ เช่น ในประเด็นการประเมิน
                       หลักขูอ ١ จะตูองมีรายการ “จริง”           ไม่นูอยกว่า ٣
                       ประเด็นย่อย เป็ นตูน
                 6.3.3การสรุปผลการประเมิน ควรเป็ นความเห็นพูองของ
                       กรรมการประเมินทุกคน

٣. เกณฑ์การรับรอง Best Practice
     เกณฑ์การรับรอง Best Practices มีดังนี้




   ١) เคร่ ืองมือประเมินวิธีปฏิบัติท่ีเป็ นเลิศ (Best Practices Criteria
                             2006) : การประเมินเอกสาร
โรงเรียน.....................................................................................
........................ระบบ.................................................................
               ..................................................................
                                         วันเดือนปี ท่ี
ประเมิน......................../.........................../................................
                                              ....
ผลการ
               เกณฑ์                      ประเมิน       ข้อคิดเห็นเพ่ิมเติม
                                         จริง ไม่จริง
1. การดำาเนิ นงานบรรลุผล
สอดคล้องกับความคาดหวังของผ้้มี
ส่วนเก่ียวข้อง
      1.1 Best Practices สอดคลูอง
กับความคาดหวังของผู้มีส่วน
เก่ียวขูอง
    1.2 วิธีการของ Best Practices มี
        ความชัดเจนง่าย
ต่อการปฏิบัติ
      1.3 ผลการปฏิบัติตาม Best
Practices บรรลุตามความคาดหวัง
ของผู้มีส่วนเก่ียวขูอง
      1.4 ผู้มีส่วนเก่ียวขูองรูอยละ 80
มีความพึงพอใจผลการปฏิบัติใน
ระดับดีขึ้นไป
2. การนำ า Best Practice ไปใช้
ตามวงจรการบริหาร
คุณภาพ(PDCA) และแสดงให้เห็น
แนวโน้ มความสำาเร็จตามตัวชีวัด  ้
      2.1 แสดงความเป็ นมาของ
การนำ า Best Practices ไปใชู ท่ีมี
ความเป็ นเหตุเป็ นผลในการบรรลุ
ความคาดหวังของผู้มีส่วนเก่ียวขูอง
ไวูอย่างชัดเจน
      2.2 แสดงร่องรอย/หลักฐานท่ี
สะทูอนการวางระบบในการพัฒนา
คุณภาพอย่างเป็ นร้ปธรรม
      2.3 แสดงร่องรอย/หลักฐานท่ี
สะทูอนการปฏิบัติจริงของผู้มีส่วน
เก่ียวขูองอย่างชัดเจน
      2.4 แสดงร่องรอย/หลักฐานท่ี
สะทูอนการประเมินระหว่างการ
ปฏิบัติและ/หรือ แลกเปล่ียนเรียนรู้
ซ่ ึงกันและกันของผู้มีส่วนเก่ียวขูอง
     2.5 แสดงร่องรอย/หลักฐานท่ี
สะทูอนการปรับปรุงระหว่างการ
ปฏิบัติงานอย่างต่อเน่ ืองท่ีมีแนวโนู ม
จะประสบความสำาเร็จตามตัวชีวัด   ้
                                           ผลการ
               เกณฑ์                       ประเมิน      ข้อคิดเห็นเพ่ิมเติม
                                         จริง ไม่จริง
3. การนำ าเสนอวิธีปฏิบัติอย่าง
ชัดเจนว่าทำาอะไร (What) ทำา
อย่างไร(How) และทำาไมจึง
ทำา(Why)
     3.1 นำ าเสนอวิธีการของ Best
Practices อย่างชัดเจนและเป็ นร้ป
ธรรม
     3.2 วิธีการของ Best
Practices สอดคลูองและสัมพันธ์
กับแนวทางในการพัฒนาคุณภาพ
เชิงระบบท่ีไดูนำาเสนอ
     3.3 วิธีการของ Best
Practices มีรายละเอียดเก่ียวกับ
กิจกรรมหรืองานท่ีปฏิบัติ และวิธีการ
ในแต่ละงานพรูอมทังเหตุผลในการ
                      ้
ปฏิบัติครบถูวน
     3.4 แสดงหลักฐานการพัฒนา
นวัตกรรมท่ีเป็ นวิธีท่ีพัฒนาขึ้นใหม่
หรือดัดแปลงประยุกต์จากวิธีการเดิม
และ/หรือวิธการของผู้อ่ืนจนบังเกิด
             ี
ผลดี
     3.5 ผู้เก่ียวขูองส่วนใหญ่
สามารถอธิบายวิธีการปฏิบัติงาน
และ/หรือแสดงหลักฐานการปฏิบัติ
ซำาจนเกิดผลดีใกลูเคียงกัน
  ้
4. การนำ าเสนอผลลัพธ์ท่ีเกิด
จาก Best Practices เป็ นไปตาม
องค์ประกอบและข้อกำาหนดของการ
พัฒนาคุณภาพเชิงระบบ
     4.1 นำ าเสนอผลลัพธ์ท่ี
สอดคลูองกับตัวชีวัดของระบบ
                    ้
     4.2 แสดงวิธีการวัดผลความ
สำาเร็จของผลลัพธ์ท่ีสามารถตรวจ
สอบไดู
     4.3 แสดงแนวโนู มของความ
สำาเร็จของผลลัพธ์ดูวยขูอม้ลเชิง
ปริมาณหรือเชิงคุณภาพอย่างชัดเจน
และตรวจสอบไดู




                                         ผลการ
                                        ประเมิน
              เกณฑ์                                ข้อคิดเห็นเพ่ิมเติม
                                       จริง ไม่
                                            จริง
5. การนำ าเสนอปั จจัยความสำาเร็จ
ท่ีส่งผลให้เกิดการปฏิบัติอย่างต่อ
เน่ ืองและยั่งยืน
      5.1 ปั จจัยความสำาเร็จท่ีนำา
เสนอสอดคลูองกับระบบและ/หรือ
วิธีการปฏิบัติงานท่ี นำ าเสนอ
      5.2 ปั จจัยความสำาเร็จท่ีนำา
เสนอเป็ นผลมาจากการวิเคราะห์
ของผู้เก่ียวขูองกับการปฏิบัติงาน
อย่างรอบคอบ
      5.3 ปั จจัยความสำาเร็จส่งผลใหู
เกิดการปฏิบัติงานอย่างต่อเน่ ือง
และยังยืน
       ่
6. การถอดบทเรียนจากการ
ดำาเนิ นงาน
      6.1 ใชูกระบวนการจัดการ
ความรู้ในการถอดบทเรียน Best
Practices
      6.2 แสดงขูอเสนอแนะท่ีเป็ น
ประโยชน์ต่อการนำ า Best Practic
es ไปประยุกต์ใชู
      6.3 แสดงขูอควรระวังใน
การนำ า Best Practices ไป
ประยุกต์ใชู
เกณฑ์การประเมินวิธีปฏิบัติท่ีเป็ นเลิศ(Best Practices Criteria 2006)
โรงเรียน.............................................................................................................ระบบ.......................
                  ............................................................................................................
     วันเดือนปี ท่ีประเมิน......................../.........................../....................................

                                                                              ผลการ
                                                                             ประเมิน
                                เกณฑ์                                                                   ข้อคิดเห็นเพ่ิมเติม
                                                                            จริง   ไม่
                                                                                  จริง
1. การดำาเนิ นงานบรรลุผลสอดคล้องกับความคาดหวังของผ้้มี
ส่วนเก่ียวข้อง
     1.1 Best Practices สอดคลูองกับความคาดหวังของผู้มี
ส่วนเก่ียวขูอง
   1.3 วิธีการของ Best Practices มีความชัดเจนง่ายต่อการ
        ปฏิบัติ
     1.3 ผลการปฏิบัติตาม Best Practices บรรลุตามความ
คาดหวังของผู้มีส่วนเก่ียวขูอง
     1.4 ผู้มีส่วนเก่ียวขูองรูอยละ 80 มีความพึงพอใจผลการ
ปฏิบัติในระดับดีขึ้นไป
2. การนำ า Best Practice ไปใช้ตามวงจรการบริหาร
คุณภาพ(PDCA) และแสดงให้เห็น แนวโน้ มความสำาเร็จตาม
ตัวชีวัด
      ้
     2.1 แสดงความเป็ นมาของการนำ า Best Practices ไปใชู
ท่ีมีความเป็ นเหตุเป็ นผลในการบรรลุความคาดหวังของผู้มีส่วน
เก่ียวขูองไวูอย่างชัดเจน
2.2 แสดงร่องรอย/หลักฐานท่ีสะทูอนการวางระบบในการ
พัฒนาคุณภาพอย่างเป็ นร้ปธรรม
    2.3 แสดงร่องรอย/หลักฐานท่ีสะทูอนการปฏิบัติจริงของผู้
มีส่วนเก่ียวขูองอย่างชัดเจน
    2.4 แสดงร่องรอย/หลักฐานท่ีสะทูอนการประเมินระหว่าง
การปฏิบัติและ/หรือ           แลกเปล่ียนเรียนรู้ซ่ึงกันและกัน
ของผู้มีส่วนเก่ียวขูอง
   2.5 แสดงร่องรอย/หลักฐานท่ีสะทูอนการปรับปรุงระหว่าง
การปฏิบัติงานอย่างต่อเน่ ืองท่ีมีแนวโนู มจะประสบความสำาเร็จ
ตามตัวชีวัด
         ้
                                                                 ผลการ
                                                                ประเมิน
                           เกณฑ์                                            ข้อคิดเห็นเพ่ิมเติม
                                                               จริง   ไม่
                                                                     จริง
3. การนำ าเสนอวิธีปฏิบัติอย่างชัดเจนว่าทำาอะไร(What) ทำา
อย่างไร(How) และทำาไมจึงทำา(Why)
    3.1 นำ าเสนอวิธีการของ Best Practices อย่างชัดเจน
และเป็ นร้ปธรรม
    3.2 วิธีการของ Best Practices สอดคลูองและสัมพันธ์
กับแนวทางในการพัฒนา              คุณภาพเชิงระบบท่ีไดูนำา
เสนอ
    3.3 วิธีการของ Best Practices มีรายละเอียดเก่ียวกับ
กิจกรรมหรืองานท่ีปฏิบัติ และวิธีการในแต่ละงานพรูอมทัง  ้
เหตุผลในการปฏิบัติครบถูวน
    3.4 แสดงหลักฐานการพัฒนานวัตกรรมท่ีเป็ นวิธีท่ีพัฒนา
ขึ้นใหม่ หรือดัดแปลงประยุกต์จากวิธีการเดิม และ/หรือวิธการ
                                                       ี
ของผู้อ่ืนจนบังเกิดผลดี
     3.5 ผู้เก่ียวขูองส่วนใหญ่สามารถอธิบายวิธีการปฏิบัติงาน
และ/หรือแสดงหลักฐานการปฏิบัติซำาจนเกิดผลดีใกลูเคียงกัน
                                   ้
4. การนำ าเสนอผลลัพธ์ท่ีเกิดจาก Best Practices เป็ นไป
ตามองค์ประกอบและข้อกำาหนดของการพัฒนาคุณภาพเชิง
ระบบ
     4.1 นำ าเสนอผลลัพธ์ท่ีสอดคลูองกับตัวชีวัดของระบบ
                                           ้
     4.2 แสดงวิธีการวัดผลความสำาเร็จของผลลัพธ์ท่ีสามารถ
ตรวจสอบไดู
     4.3 แสดงแนวโนู มของความสำาเร็จของผลลัพธ์ดูวย
ขูอม้ลเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพอย่างชัดเจนและตรวจสอบไดู



                                                                ผลการ
                                                               ประเมิน
                          เกณฑ์                                            ข้อคิดเห็นเพ่ิมเติม
                                                              จริง   ไม่
                                                                    จริง
5. การนำ าเสนอปั จจัยความสำาเร็จท่ีส่งผลให้เกิดการปฏิบัติ
อย่างต่อเน่ ืองและยั่งยืน
     5.1 ปั จจัยความสำาเร็จท่ีนำาเสนอสอดคลูองกับระบบและ/
หรือวิธีการปฏิบัติงานท่ี         นำ าเสนอ
     5.2 ปั จจัยความสำาเร็จท่ีนำาเสนอเป็ นผลมาจากการ
วิเคราะห์ของผู้เก่ียวขูองกับการปฏิบัติงานอย่างรอบคอบ
5.3 ปั จจัยความสำาเร็จส่งผลใหูเกิดการปฏิบัติงานอย่างต่อ
เน่ ืองและยังยืน
            ่
6. การถอดบทเรียนจากการดำาเนิ นงาน
      6.1 ใชูกระบวนการจัดการความรู้ในการถอดบทเรียน
Best Practices
      6.2 แสดงขูอเสนอแนะท่ีเป็ นประโยชน์ต่อการนำ า Best
Practices ไปประยุกต์ใชู
      6.3 แสดงขูอควรระวังในการนำ า Best Practices ไป
ประยุกต์ใชู

Contenu connexe

Tendances

คำถามในการเยี่ยมสถานที่ Site visit questions
คำถามในการเยี่ยมสถานที่ Site visit questions คำถามในการเยี่ยมสถานที่ Site visit questions
คำถามในการเยี่ยมสถานที่ Site visit questions
maruay songtanin
 
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
krupornpana55
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
pairat13
 
การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์ Item integration & expected results
การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์ Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์ Item integration & expected results
การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์ Item integration & expected results
maruay songtanin
 
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
phiphitthanawat
 
สรุปสำหรับผู้บริหารสูงสุด 2016 key theme
สรุปสำหรับผู้บริหารสูงสุด 2016 key theme สรุปสำหรับผู้บริหารสูงสุด 2016 key theme
สรุปสำหรับผู้บริหารสูงสุด 2016 key theme
maruay songtanin
 
EdPEx: Introduction to the Criteria for Performance Excellence
EdPEx: Introduction to the Criteria for Performance ExcellenceEdPEx: Introduction to the Criteria for Performance Excellence
EdPEx: Introduction to the Criteria for Performance Excellence
Sajee Sirikrai
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์
Jutatip Ni
 
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
Itt Bandhudhara
 
การให้คะแนน Scoring system
การให้คะแนน Scoring systemการให้คะแนน Scoring system
การให้คะแนน Scoring system
maruay songtanin
 
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษาแนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
K S
 

Tendances (20)

คำถามในการเยี่ยมสถานที่ Site visit questions
คำถามในการเยี่ยมสถานที่ Site visit questions คำถามในการเยี่ยมสถานที่ Site visit questions
คำถามในการเยี่ยมสถานที่ Site visit questions
 
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
 
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสอง
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสองทบทวนการประเมินภายนอกรอบสอง
ทบทวนการประเมินภายนอกรอบสอง
 
การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์ Item integration & expected results
การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์ Item integration & expected results การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์ Item integration & expected results
การบูรณาการหัวข้อและผลลัพธ์ Item integration & expected results
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
 
ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence
ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence
ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence
 
ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts
ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts
ค่านิยมและแนวคิดหลัก New core values and concepts
 
Ea5103
Ea5103Ea5103
Ea5103
 
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
๐๖ การเตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก
 
สรุปสำหรับผู้บริหารสูงสุด 2016 key theme
สรุปสำหรับผู้บริหารสูงสุด 2016 key theme สรุปสำหรับผู้บริหารสูงสุด 2016 key theme
สรุปสำหรับผู้บริหารสูงสุด 2016 key theme
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 7
 
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น 2016 comment guidelines
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น 2016 comment guidelines แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น 2016 comment guidelines
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น 2016 comment guidelines
 
EdPEx: Introduction to the Criteria for Performance Excellence
EdPEx: Introduction to the Criteria for Performance ExcellenceEdPEx: Introduction to the Criteria for Performance Excellence
EdPEx: Introduction to the Criteria for Performance Excellence
 
Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์นำเสนอวิทยานิพนธ์
นำเสนอวิทยานิพนธ์
 
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
 
การให้คะแนน Scoring system
การให้คะแนน Scoring systemการให้คะแนน Scoring system
การให้คะแนน Scoring system
 
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษาแนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
แนวปฏิบัติทีดีในการประกันคุณภาพการศึกษา
 

En vedette

ข้อสอบวิชากราฟิก ง 30202
ข้อสอบวิชากราฟิก ง 30202ข้อสอบวิชากราฟิก ง 30202
ข้อสอบวิชากราฟิก ง 30202
vorravan
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
vorravan
 
ภัยแฝงออนไลน์
ภัยแฝงออนไลน์ภัยแฝงออนไลน์
ภัยแฝงออนไลน์
vorravan
 
Mediafilesharing 100329015246-phpapp02
Mediafilesharing 100329015246-phpapp02Mediafilesharing 100329015246-phpapp02
Mediafilesharing 100329015246-phpapp02
vorravan
 
สื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิกสื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิก
vorravan
 
การสมัครใช้งาน Blog
การสมัครใช้งาน Blogการสมัครใช้งาน Blog
การสมัครใช้งาน Blog
vorravan
 
การตั้งค่า Blog
การตั้งค่า Blogการตั้งค่า Blog
การตั้งค่า Blog
vorravan
 

En vedette (20)

ข้อสอบวิชากราฟิก ง 30202
ข้อสอบวิชากราฟิก ง 30202ข้อสอบวิชากราฟิก ง 30202
ข้อสอบวิชากราฟิก ง 30202
 
Scribd
ScribdScribd
Scribd
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิกความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
ภัยแฝงออนไลน์
ภัยแฝงออนไลน์ภัยแฝงออนไลน์
ภัยแฝงออนไลน์
 
Indonesia
IndonesiaIndonesia
Indonesia
 
Mediafilesharing 100329015246-phpapp02
Mediafilesharing 100329015246-phpapp02Mediafilesharing 100329015246-phpapp02
Mediafilesharing 100329015246-phpapp02
 
Wordpress
WordpressWordpress
Wordpress
 
Youtube
YoutubeYoutube
Youtube
 
สื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิกสื่อการสอนกราฟิก
สื่อการสอนกราฟิก
 
Graphic
GraphicGraphic
Graphic
 
Brunei
BruneiBrunei
Brunei
 
social network
 social network social network
social network
 
Vietnam
VietnamVietnam
Vietnam
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
Dset model
Dset modelDset model
Dset model
 
Singapore
SingaporeSingapore
Singapore
 
การสมัครใช้งาน Blog
การสมัครใช้งาน Blogการสมัครใช้งาน Blog
การสมัครใช้งาน Blog
 
Test 4
Test 4Test 4
Test 4
 
การตั้งค่า Blog
การตั้งค่า Blogการตั้งค่า Blog
การตั้งค่า Blog
 
Dr.benjalug asean
Dr.benjalug aseanDr.benjalug asean
Dr.benjalug asean
 

Similaire à Best practice

เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
arsad20
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
AmAm543080
 
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
kruliew
 
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณบทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
Kobwit Piriyawat
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
Wes Yod
 
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
Wongduean Phumnoi
 

Similaire à Best practice (20)

เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
 
R2R
R2RR2R
R2R
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
โครงการหนึ่งช่วยเก้า
โครงการหนึ่งช่วยเก้าโครงการหนึ่งช่วยเก้า
โครงการหนึ่งช่วยเก้า
 
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
โครงการหนึ่งช่วยเก้า2
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
File1
File1File1
File1
 
QA forstudent 300511
QA forstudent 300511QA forstudent 300511
QA forstudent 300511
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
Focus 7-55
Focus 7-55Focus 7-55
Focus 7-55
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณบทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
บทที่ 11 กรอบแนวคิดในการวิจัย
บทที่ 11 กรอบแนวคิดในการวิจัยบทที่ 11 กรอบแนวคิดในการวิจัย
บทที่ 11 กรอบแนวคิดในการวิจัย
 
ทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสองทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสอง
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
ตัวบ่งชี้ และเกณฑ์การประเมินฯศูนย์การศึกษานอกระบบ
 

Plus de vorravan

การสร้าง Apps
การสร้าง Appsการสร้าง Apps
การสร้าง Apps
vorravan
 
การสร้างApps
การสร้างAppsการสร้างApps
การสร้างApps
vorravan
 
ความหมาย Blog
ความหมาย Blogความหมาย Blog
ความหมาย Blog
vorravan
 
สมัคร Mail
สมัคร Mailสมัคร Mail
สมัคร Mail
vorravan
 
เกณฑ์ ม.5
เกณฑ์ ม.5เกณฑ์ ม.5
เกณฑ์ ม.5
vorravan
 
เกณฑ์การตัดสินเว็บไซต์
เกณฑ์การตัดสินเว็บไซต์เกณฑ์การตัดสินเว็บไซต์
เกณฑ์การตัดสินเว็บไซต์
vorravan
 
กรอกประวัติส่วนตัว
กรอกประวัติส่วนตัวกรอกประวัติส่วนตัว
กรอกประวัติส่วนตัว
vorravan
 

Plus de vorravan (17)

Create blog
Create  blogCreate  blog
Create blog
 
การสร้าง Apps
การสร้าง Appsการสร้าง Apps
การสร้าง Apps
 
การสร้างApps
การสร้างAppsการสร้างApps
การสร้างApps
 
Wide screen
Wide screenWide screen
Wide screen
 
ความหมาย Blog
ความหมาย Blogความหมาย Blog
ความหมาย Blog
 
สมัคร Mail
สมัคร Mailสมัคร Mail
สมัคร Mail
 
เกณฑ์ ม.5
เกณฑ์ ม.5เกณฑ์ ม.5
เกณฑ์ ม.5
 
เกณฑ์การตัดสินเว็บไซต์
เกณฑ์การตัดสินเว็บไซต์เกณฑ์การตัดสินเว็บไซต์
เกณฑ์การตัดสินเว็บไซต์
 
Test
TestTest
Test
 
Philippines
PhilippinesPhilippines
Philippines
 
Myanmar
MyanmarMyanmar
Myanmar
 
Malaysia
MalaysiaMalaysia
Malaysia
 
Laos
LaosLaos
Laos
 
Cambodia
CambodiaCambodia
Cambodia
 
Thailand
ThailandThailand
Thailand
 
กรอกประวัติส่วนตัว
กรอกประวัติส่วนตัวกรอกประวัติส่วนตัว
กรอกประวัติส่วนตัว
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitter
 

Best practice

  • 1. ระบบการรับรองวิธีปฏิบัติท่ีเป็ นเลิศ ( Best Practices Accreditation System ) ------------------------------------------------------------------- ------------ ความเป็ นมา สถาบั น วิ จั ย และพั ฒ นาการเรี ย นรู้ (สวร.)ไดู พั ฒ นากระบวนการหรื อ เคร่ ือ งมื อ ท่ีใ ชู ใ นการจั ด การคุ ณ ภาพสถานศึ ก ษา ท่ีรู้ จั ก กั น ในช่ ือ ของ “ToPSTAR” โดยมีแนวคิดพ้ืนฐาน 3 ประการ คือ 1) แนวคิด เชิ งระบบ (System thinking) ซ่ ึงใชูในการวิเคราะห์องค์กรและออกแบบการบริหาร จัดการคุณภาพเชิงระบบในระบบย่อยต่าง ๆ ของสถานศึกษา 2) แนวคิด เชิงยุท ธศาสตร์ (Strategic thinking) ใชู ในการวางแผนในการประกั น คุ ณภาพ(QA) และการพั ฒ นาคุ ณ ภาพอย่ า งต่ อ เน่ ือ ง (CQI) เพ่ ือ ใหู บ รรลุ วิสัยทัศน์ และเปู าหมายขององค์กร และ 3) แนวคิดการเรียนรู้และทำา งาน เป็ นทีม (Team Learning) ผลจากการใชูเคร่ ืองมือในการจัดการคุณภาพอย่างหน่ ึง คือ สถานศึกษา ไดูคูนพบวิธีปฏิบัติท่ีตนเองเกิดความรู้สึกว่าประสบความสำา เร็จเป็ นอย่างย่ิง มี ความช่ ืนชม ภาคภ้มิใจในวิธีปฏิบัติและผลลัพธ์ท่ีเกิดจากการปฏิบัตินั้น เป็ นวิธี ปฏิ บั ติ ท ่ีเ ป็ นนวั ต กรรม สามารถตอบสนองความคาดหวั ง ของผู้ เ ก่ีย วขู อ ง สามารถเป็ น ตู น แบบในการพั ฒ นาใหู กั บ สถานศึ ก ษาอ่ ืน ๆไดู วิ ธี ป ฏิ บั ติ ข อง สถานศึกษานี้เรียกว่า“วิธีปฏิบัติท่ีเป็ นเลิศ:Best Practices” พันธกิจสำาคัญย่ิงอย่างหน่ ึงท่ีสถาบันวิจัยและพัฒนาการเรียนรู้ดำาเนิ นการ อย่้ คือ การส่งเสริม แสวงหา และจัดระบบการใหูการรับรอง เพ่ ือสะสมเป็ น ฐ า น ขู อ ม้ ล วิ ธี ป ฏิ บั ติ ท ่ีเ ป็ น เ ลิ ศ ข อ ง ส ถ า น ศึ ก ษ า แ ล ะ จั ด ก า ร ค ว า ม รู้ (Knowledge Management : KM) อย่างเป็ นระบบใหูสถานศึกษาทัวไปเขูา ่ มาศึก ษา เรี ยนรู้ เที ย บระดั บ (Benchmarking) วิ ธีป ฏิบัติท่ีเป็ น เลิ ศในฐาน ขู อม้ ลของสถาบัน ฯ ดังกล่า ว ดูว ยหวั งท่ีจะใหู เกิด องค์กรหรือ สังคมแห่ งการ เรียนรู้ ( Learning Organization : LO ) อย่างกวูางขวางซ่ ึงเป็ นวิสัยทัศน์ ของสถาบันฯ 1. Best Practices คืออะไร American Productivity and Quality Center (อู า งใน บุ ญ ดี บุญญากิจ และกมลวรรณ ศิริพานิ ช, 2545 : 10 – 11) ใหูคำา จำา กัดความ ของ Best Practices ว่า คือการปฏิบัติทังหลายท่ีสามารถก่อใหูเกิดผลท่ีเป็ น ้ เลิศ รวมความแลูว Best Practices คือ วิธีปฏิบัติท่ีทำาใหูองค์กรและสบความ สำา เร็จหรืออาจกล่าวไดูว่า คือ การปฏิบัติท่ีทำา ใหูองกรกูาวส่้ความเป็ นเลิศ ซ่ ึง อาจปรับสำานวนใหูเก่ียวขูองกับวงการการศึกษา ไดูว่า
  • 2. Best Practices เป็ น วิ ธีก ารทำา งานใหม่ ๆ ท่ีส ถานศึ ก ษาเรี ย นรู้ จ าก การปฏิบัติจริงในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ซ่ ึงนำ าไปส่้การบรรลุผลลัพธ์ท่ี ตอบสนองความคาดหวังของชุมชน ผู้ปกครอง และเปู าหมายของสถานศึกษา อย่างมีประสิทธิภาพ ทำาใหูสถานศึกษาประสบความสำาเร็จ กูาวส่้ความเป็ นเลิศ 2. แนวทางการพิจารณา Best Practices วิ ธี ป ฏิ บั ติ ใ นการพั ฒ นาคุ ณ ภาพสถานศึ ก ษาท่ีจ ะเรี ย กไดู ว่ า เป็ น Best Practices นั ้น มีแนวทาง การพิจารณา 6 ขูอ ดังนี้ (1) วิ ธีป ฏิบัตินั้น ดำา เนิ น การบรรลุ ผ ลไดู ส อดคลู อ งกับ ความคาดหวั ง ของ ชุ ม ชนหรื อ ผู้ ป กครองท่ีมี ต่ อ สถานศึ ก ษาหรื อ เป็ นวิ ธี ป ฏิ บั ติ ท ่ีส รู า ง ความพึงพอใจใหูกับทุกคนในสถานศึกษา ไดู (2) วิธีปฏิบัตินั้น ผ่านกระบวนการนำ าไปใชูอย่างเป็ นวงจรจนเห็นผลอย่าง ชั ด เจนว่ า ทำา ใหู เกิ ด คุ ณภาพส้ งขึ้ น อย่ า งต่ อ เน่ ือ ง หรื อ กล่ า วอี ก อย่ า ง หน่ ึงคือวิธีปฏิบัตินั้นมีกระบวนการ PDCA จนเห็นแนวโนู มของตัวชี้ วัดความสำาเร็จท่ีดีขึ้น (3) สถานศึ ก ษาสามารถบอกเล่ า ถึ ง วิ ธี ป ฏิ บั ติ นั้ น ไดู ว่ า “ ทำา อะไร ? (what)” “ทำา อย่า งไร ? (how)” และ “ ทำา ไม? จึ งทำา หรื อ ทำา ไป ทำาไม? (why)” (4) ผลลัพธ์จากวิธีการปฏิบัตินั้น เป็ นไปตามองค์ประกอบ ขูอกำาหนดของ การพัฒนาคุณภาพเชิงระบบ (5) วิธีปฏิบัตินั้นสามารถระบุไดูวาเกิดจากปั จจัยสำาคัญท่ีชัดเจน และปั จจัย ่ นั ้นก่อใหูเกิดการปฏิบัติท่ีต่อเน่ ืองและยังยืน ่ (6) วิ ธี ป ฏิ บั ติ นั้ น ใชู ก ระบวนการจั ด การความรู้ ( KM: Knowledge Management) เช่ น การเล่ า เร่ ือ ง (Storytelling) ในการถอดบท เรียนจากการดำาเนิ นการ 3. กระบวนการค้นหา Best Practices ในสถานศึกษา สำา หรับผู้ท่ีเก่ียวขู องกับ การพั ฒนาคุ ณภาพสถานศึก ษา เช่ น ผู้ปฏิ บัติ งานของระบบโดยตรงท่ีเ รี ย กว่ า ชุ ม ชนแนวปฏิ บั ติ ( Community of Practices ) ผู้ประเมิน คุณภาพ ศึ กษานิ เทศก์ หรือ ผู้ใหู คำา ปรึ กษา การพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา สามารถคูนหา Best Practices ไดูโดย ใชูกระบวนการ ดังนี้
  • 3. (1)การคูนหาว่าสถานศึกษาหน่ ึง ๆ มีวิธีปฏิบัติในการพัฒนาคุณภาพ อย่างไร จะตูองวิเคราะห์บริบทของสถานศึกษา ความคาดหวังของผู้ ปกครอง และชุมชนรวมทังผู้มีส่วนไดูเสียต่าง ๆ ว่าคาดหวังกับสถาน ้ ศึกษานี้อย่างไรบูาง (2) คูนหาว่าสถานศึกษามีวิธีปฏิบัติดี ๆ ท่ีดำาเนิ นการไดูสอดคลูองกับ ความคาดหวังตาม ขูอ (1) อย่างไรบูาง (3) พิจารณาว่าวิธีปฏิบัติดี ๆ เหล่านั ้นมีการนำ าไปใชูจริงอย่างครบวงจร PDCA หรือไม่ เพ่ ือยืนยันว่า วิธีปฏิบัติดี ๆ นั ้นถ้กนำ าไปใชูจริง และเป็ น “นวัตกรรม” การ ทำางานของสถานศึกษาไดูหรือไม่ (4) ใชูกระบวนการจัดการความรู้ เช่น เร่ ืองเล่าเรูาพลัง (Storytelling ) ในการแลกเปล่ียน ประสบการณ์ของผู้ปฏิบัติของผู้เก่ียวขูอง โดยมีรายละเอียด.- - กำาหนดเปู าหมายของการแลกเปล่ียนวิธีปฏิบัติ ( Knowledge Vision ) - เล่าประสบการณ์จากการปฏิบัติการ ( Knowledge Sharing) - สรุปเป็ นวิธีการปฏิบัติท่ีเป็ นเลิศ ( Knowledge Asset ) (5) วิเคราะห์ปัจจัยความสำาเร็จ บทเรียนท่ีสถานศึกษาไดูเรียนรู้จากการ ดำาเนิ นการตามวิธี ปฏิบัติเหล่านั ้น 4. องค์ประกอบของการเขียน Best Practices Best Practices จะมี ป ระโยชน์ เ ม่ ือ ถ้ ก เผยแพร่ ใ หู เ กิ ด การเรี ย นรู้ ข อง คนในสถานศึกษาหรือ ผู้เก่ียวขูองอ่ ืน ๆ ดังนั ้น การเขียน Best Practices เพ่ ือเผยแพร่นี้จึงมีความคิดเห็น ซ่ ึงมีองค์ประกอบและแนวในการเขียนดังนี้ (1) ความเป็ นมา เป็ นการเขียนเพ่ ือสะทูอ นส่ิงท่ีเป็ นความคาดหวั งของผู้ ปกครองหรือชุมชนท่ีมีต่อสถานศึกษา และเพ่ ือใหูเห็นบริบทสภาพ ทัวไปของสถานศึกษา ่ (2) การพัฒนาระบบคุณภาพของสถานศึก ษา การเขียนตูองสะทู อนใหู เห็นต่อการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษาดำา เนิ นการอย่างไร และ เช่ ือมโยงกับความคาดหวังของผู้ปกครองและชุมชนอย่างไร (3) Best Practices เป็ น การเสนอวิ ธี ป ฏิ บั ติท ่ีเป็ น เลิ ศ ซ่ ึง เป็ น ขู อ สรุ ป จากกิจกรรมเร่ ืองเล่าเรูาพลัง ในการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษามีอะไรบูาง และอธิบายว่า คือ อะไร? ทำาอย่างไร? และทำาทำาไม? (4) ผลการดำา เนิ นการ เป็ นการอธิบายผลท่ีเกิดขึ้นจาก Best Practices ตามตัวชีวัดความสำาเร็จว่าส่งผลดี ้
  • 4. ต่อคุณภาพสถานศึกษาอย่างไรบูาง (5) ปั จจั ย ความสำา เร็ จ เป็ นการนำ า เสนอผลการวิ เ คราะห์ ว่ า Best Practices เกิดขึ้นไดูเพราะอะไร มีเง่ ือนไขอะไรบูาง มีอะไรเป็ นปั จจัยในระบบท่ีทำาใหูวิธีปฏิบัติเหล่า นี้ ดำารงอย่้ไดูในระยะยาว ไม่ใช่การทุ่มเทเฉพาะกิจของสถานศึกษา (6) บทเรียนท่ีได้รับ เป็ นการสะทูอนใหูเห็นว่าสถานศึกษาเรียนรูจากการ ้ ทำางานตามวิธีปฏิบัติเหล่านี้ อย่างไรบูาง อะไรเป็ นเคล็ดลับท่ีดำาเนิ นไดูประสบผลสำาเร็จ รวมทัง ้ ขูอพึงระวังมีอะไรบูาง Best Practices ถือว่าเป็ นส่ิงท่ีมีคุณค่าต่อการเรียนรู้ของสถาน ศึกษา และผู้ เก่ียวขูอ งกั บการพั ฒนาคุณภาพท่ีจะเป็ นส่ ือในการเรี ยนรู้ หรื อ เป็ นร้ปธรรมของการเทียบเคียวคุณภาพ (Benchmarking) ของสถานศึกษา ต่าง ๆ ซ่ ึงแนวทางท่ีนำา เสนอนี้ มาจากประสบการณ์ ของนั กวิจัยในโครงการ ToPSTAR ซ่ ึง ตู อ งเรี ย นรู้ แ ละจั ด การความรู้ จ ากภาคสนามใหู มี ค วาม ชัดเจนและเป็ นแนวทางในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาต่อไป ٥. กระบวนการรับรอง Best Practices ٥.١ ขันตอนการรับรอง BP ้ กระบวนการรับรอง Best Practices ประกอบดูวยขันตอน ้ ดังต่อไปนี้ จัดทำาหลักการ / กรอบ / เกณฑ์ / วิธีการรับรอง BP เชิญชวนโรงเรียนเสนอเอกสาร BP
  • 5. ประเมินเอกสาร BP จากโรงเรียน เป็ นไปตามเกณฑ์ โรงเรียน ปรับปรุงเอกสาร BP ประเมิน BP ภาคสนาม เป็ นไปตามเกณฑ์ พัฒนา / ปรับปรุง รับรองคุณภาพ BP จัดทำาฐานขูอม้ล ส่งเสริมการเทียบระดับ (Benchmarking) สรุปรายงานผลการดำาเนิ นงาน การรับรอง BP 5.2 ตัวชีวัดการรับรอง ้ BP ตัวชีวัดการรับรอง BP ไดูแก่ ้ (1) ระดับคุณภาพของกรอบและเกณฑ์ (2) จำานวนโรงเรียนท่ีเสนอเอกสาร BP เพ่ ือขอรับการรับรอง (3) สัดส่วนเอกสาร BP ท่ีผ่านการประเมินเอกสาร (4)รูอยละของโรงเรียนท่ีผ่านเกณฑ์การประเมินภาคสนาม (5) จำานวนโรงเรียนท่ีไดูรับการรับรอง BP (6)ระดับคุณภาพของการจัดทำาฐานขูอม้ลและจำานวนองค์กร ท่ีทำาการเทียบระดับ (7) ระดับคุณภาพของรายงานผลการดำาเนิ นงานรับรอง BP ٦. แนวทางในการประเมิน
  • 6. แนวทางในการประเมินโดยใชูเกณฑ์การประเมินวิธีปฏิบัติท่ีเป็ นเลิศ มี ดังนี้ 6.1 เกณฑ์การประเมินวิธีปฏิบัติทีเป็ นเลิศเป็ นเกณฑ์ท่ีใชูประเมิน Best Practices ในร้ปเอกสารท่ีสถานศึกษานำ าเสนอ 6.2ผู้ประเมินอาจสัมภาษณ์ผู้เก่ียวขูองเพ่ิมเติม หรือขอใหูสถานศึกษา นำ าเสนอดูวยวาจาเพ่ิมเติมหรือไปเย่ียมชมท่ีโรงเรียนก็ไดู 6.3 Best Practices ท่ีจะไดูรับการรับรองจะตูองเป็ นไปตามเกณฑ์ ดัง ต่อไปนี้ 6.3.1 ผลการประเมิน Best Practices ตามประเด็นการประเมิน ย่อย มีรายการท่ี “จริง” ตามประเด็นการประเมินย่อยไม่ตำ่า กว่ารูอยละ ٨٠ ของจำานวนประเด็นการประเมินย่อย ทังหมด (มีรายการท่ี “จริง” ١٨ ประเด็นย่อยจากทังหมด ٢ ้ ้ ٣ ประเด็นย่อย) 6.3.2 ผลการประเมิน Best Practices ตามประเด็นการประเมิน หลักตูองมีรายการ “จริง” ครบทุกประเด็นการประเมินหลัก (٦ ประเด็นหลัก) และแต่ละประเด็นหลักจะตูองมีรายการ ประเมินท่ี “จริง” ตามประเด็นย่อยของแต่ละประเด็นหลัก ไม่นูอยกว่า รูอยละ ٦٠ เช่น ในประเด็นการประเมิน หลักขูอ ١ จะตูองมีรายการ “จริง” ไม่นูอยกว่า ٣ ประเด็นย่อย เป็ นตูน 6.3.3การสรุปผลการประเมิน ควรเป็ นความเห็นพูองของ กรรมการประเมินทุกคน ٣. เกณฑ์การรับรอง Best Practice เกณฑ์การรับรอง Best Practices มีดังนี้ ١) เคร่ ืองมือประเมินวิธีปฏิบัติท่ีเป็ นเลิศ (Best Practices Criteria 2006) : การประเมินเอกสาร โรงเรียน..................................................................................... ........................ระบบ................................................................. .................................................................. วันเดือนปี ท่ี ประเมิน......................../.........................../................................ ....
  • 7. ผลการ เกณฑ์ ประเมิน ข้อคิดเห็นเพ่ิมเติม จริง ไม่จริง 1. การดำาเนิ นงานบรรลุผล สอดคล้องกับความคาดหวังของผ้้มี ส่วนเก่ียวข้อง 1.1 Best Practices สอดคลูอง กับความคาดหวังของผู้มีส่วน เก่ียวขูอง 1.2 วิธีการของ Best Practices มี ความชัดเจนง่าย ต่อการปฏิบัติ 1.3 ผลการปฏิบัติตาม Best Practices บรรลุตามความคาดหวัง ของผู้มีส่วนเก่ียวขูอง 1.4 ผู้มีส่วนเก่ียวขูองรูอยละ 80 มีความพึงพอใจผลการปฏิบัติใน ระดับดีขึ้นไป 2. การนำ า Best Practice ไปใช้ ตามวงจรการบริหาร คุณภาพ(PDCA) และแสดงให้เห็น แนวโน้ มความสำาเร็จตามตัวชีวัด ้ 2.1 แสดงความเป็ นมาของ การนำ า Best Practices ไปใชู ท่ีมี ความเป็ นเหตุเป็ นผลในการบรรลุ ความคาดหวังของผู้มีส่วนเก่ียวขูอง ไวูอย่างชัดเจน 2.2 แสดงร่องรอย/หลักฐานท่ี สะทูอนการวางระบบในการพัฒนา คุณภาพอย่างเป็ นร้ปธรรม 2.3 แสดงร่องรอย/หลักฐานท่ี สะทูอนการปฏิบัติจริงของผู้มีส่วน เก่ียวขูองอย่างชัดเจน 2.4 แสดงร่องรอย/หลักฐานท่ี สะทูอนการประเมินระหว่างการ ปฏิบัติและ/หรือ แลกเปล่ียนเรียนรู้ ซ่ ึงกันและกันของผู้มีส่วนเก่ียวขูอง 2.5 แสดงร่องรอย/หลักฐานท่ี
  • 8. สะทูอนการปรับปรุงระหว่างการ ปฏิบัติงานอย่างต่อเน่ ืองท่ีมีแนวโนู ม จะประสบความสำาเร็จตามตัวชีวัด ้ ผลการ เกณฑ์ ประเมิน ข้อคิดเห็นเพ่ิมเติม จริง ไม่จริง 3. การนำ าเสนอวิธีปฏิบัติอย่าง ชัดเจนว่าทำาอะไร (What) ทำา อย่างไร(How) และทำาไมจึง ทำา(Why) 3.1 นำ าเสนอวิธีการของ Best Practices อย่างชัดเจนและเป็ นร้ป ธรรม 3.2 วิธีการของ Best Practices สอดคลูองและสัมพันธ์ กับแนวทางในการพัฒนาคุณภาพ เชิงระบบท่ีไดูนำาเสนอ 3.3 วิธีการของ Best Practices มีรายละเอียดเก่ียวกับ กิจกรรมหรืองานท่ีปฏิบัติ และวิธีการ ในแต่ละงานพรูอมทังเหตุผลในการ ้ ปฏิบัติครบถูวน 3.4 แสดงหลักฐานการพัฒนา นวัตกรรมท่ีเป็ นวิธีท่ีพัฒนาขึ้นใหม่ หรือดัดแปลงประยุกต์จากวิธีการเดิม และ/หรือวิธการของผู้อ่ืนจนบังเกิด ี ผลดี 3.5 ผู้เก่ียวขูองส่วนใหญ่ สามารถอธิบายวิธีการปฏิบัติงาน และ/หรือแสดงหลักฐานการปฏิบัติ ซำาจนเกิดผลดีใกลูเคียงกัน ้ 4. การนำ าเสนอผลลัพธ์ท่ีเกิด จาก Best Practices เป็ นไปตาม องค์ประกอบและข้อกำาหนดของการ พัฒนาคุณภาพเชิงระบบ 4.1 นำ าเสนอผลลัพธ์ท่ี สอดคลูองกับตัวชีวัดของระบบ ้ 4.2 แสดงวิธีการวัดผลความ
  • 9. สำาเร็จของผลลัพธ์ท่ีสามารถตรวจ สอบไดู 4.3 แสดงแนวโนู มของความ สำาเร็จของผลลัพธ์ดูวยขูอม้ลเชิง ปริมาณหรือเชิงคุณภาพอย่างชัดเจน และตรวจสอบไดู ผลการ ประเมิน เกณฑ์ ข้อคิดเห็นเพ่ิมเติม จริง ไม่ จริง 5. การนำ าเสนอปั จจัยความสำาเร็จ ท่ีส่งผลให้เกิดการปฏิบัติอย่างต่อ เน่ ืองและยั่งยืน 5.1 ปั จจัยความสำาเร็จท่ีนำา เสนอสอดคลูองกับระบบและ/หรือ วิธีการปฏิบัติงานท่ี นำ าเสนอ 5.2 ปั จจัยความสำาเร็จท่ีนำา เสนอเป็ นผลมาจากการวิเคราะห์ ของผู้เก่ียวขูองกับการปฏิบัติงาน อย่างรอบคอบ 5.3 ปั จจัยความสำาเร็จส่งผลใหู เกิดการปฏิบัติงานอย่างต่อเน่ ือง และยังยืน ่ 6. การถอดบทเรียนจากการ ดำาเนิ นงาน 6.1 ใชูกระบวนการจัดการ ความรู้ในการถอดบทเรียน Best Practices 6.2 แสดงขูอเสนอแนะท่ีเป็ น ประโยชน์ต่อการนำ า Best Practic es ไปประยุกต์ใชู 6.3 แสดงขูอควรระวังใน การนำ า Best Practices ไป
  • 11. เกณฑ์การประเมินวิธีปฏิบัติท่ีเป็ นเลิศ(Best Practices Criteria 2006) โรงเรียน.............................................................................................................ระบบ....................... ............................................................................................................ วันเดือนปี ท่ีประเมิน......................../.........................../.................................... ผลการ ประเมิน เกณฑ์ ข้อคิดเห็นเพ่ิมเติม จริง ไม่ จริง 1. การดำาเนิ นงานบรรลุผลสอดคล้องกับความคาดหวังของผ้้มี ส่วนเก่ียวข้อง 1.1 Best Practices สอดคลูองกับความคาดหวังของผู้มี ส่วนเก่ียวขูอง 1.3 วิธีการของ Best Practices มีความชัดเจนง่ายต่อการ ปฏิบัติ 1.3 ผลการปฏิบัติตาม Best Practices บรรลุตามความ คาดหวังของผู้มีส่วนเก่ียวขูอง 1.4 ผู้มีส่วนเก่ียวขูองรูอยละ 80 มีความพึงพอใจผลการ ปฏิบัติในระดับดีขึ้นไป 2. การนำ า Best Practice ไปใช้ตามวงจรการบริหาร คุณภาพ(PDCA) และแสดงให้เห็น แนวโน้ มความสำาเร็จตาม ตัวชีวัด ้ 2.1 แสดงความเป็ นมาของการนำ า Best Practices ไปใชู ท่ีมีความเป็ นเหตุเป็ นผลในการบรรลุความคาดหวังของผู้มีส่วน เก่ียวขูองไวูอย่างชัดเจน
  • 12. 2.2 แสดงร่องรอย/หลักฐานท่ีสะทูอนการวางระบบในการ พัฒนาคุณภาพอย่างเป็ นร้ปธรรม 2.3 แสดงร่องรอย/หลักฐานท่ีสะทูอนการปฏิบัติจริงของผู้ มีส่วนเก่ียวขูองอย่างชัดเจน 2.4 แสดงร่องรอย/หลักฐานท่ีสะทูอนการประเมินระหว่าง การปฏิบัติและ/หรือ แลกเปล่ียนเรียนรู้ซ่ึงกันและกัน ของผู้มีส่วนเก่ียวขูอง 2.5 แสดงร่องรอย/หลักฐานท่ีสะทูอนการปรับปรุงระหว่าง การปฏิบัติงานอย่างต่อเน่ ืองท่ีมีแนวโนู มจะประสบความสำาเร็จ ตามตัวชีวัด ้ ผลการ ประเมิน เกณฑ์ ข้อคิดเห็นเพ่ิมเติม จริง ไม่ จริง 3. การนำ าเสนอวิธีปฏิบัติอย่างชัดเจนว่าทำาอะไร(What) ทำา อย่างไร(How) และทำาไมจึงทำา(Why) 3.1 นำ าเสนอวิธีการของ Best Practices อย่างชัดเจน และเป็ นร้ปธรรม 3.2 วิธีการของ Best Practices สอดคลูองและสัมพันธ์ กับแนวทางในการพัฒนา คุณภาพเชิงระบบท่ีไดูนำา เสนอ 3.3 วิธีการของ Best Practices มีรายละเอียดเก่ียวกับ กิจกรรมหรืองานท่ีปฏิบัติ และวิธีการในแต่ละงานพรูอมทัง ้ เหตุผลในการปฏิบัติครบถูวน 3.4 แสดงหลักฐานการพัฒนานวัตกรรมท่ีเป็ นวิธีท่ีพัฒนา
  • 13. ขึ้นใหม่ หรือดัดแปลงประยุกต์จากวิธีการเดิม และ/หรือวิธการ ี ของผู้อ่ืนจนบังเกิดผลดี 3.5 ผู้เก่ียวขูองส่วนใหญ่สามารถอธิบายวิธีการปฏิบัติงาน และ/หรือแสดงหลักฐานการปฏิบัติซำาจนเกิดผลดีใกลูเคียงกัน ้ 4. การนำ าเสนอผลลัพธ์ท่ีเกิดจาก Best Practices เป็ นไป ตามองค์ประกอบและข้อกำาหนดของการพัฒนาคุณภาพเชิง ระบบ 4.1 นำ าเสนอผลลัพธ์ท่ีสอดคลูองกับตัวชีวัดของระบบ ้ 4.2 แสดงวิธีการวัดผลความสำาเร็จของผลลัพธ์ท่ีสามารถ ตรวจสอบไดู 4.3 แสดงแนวโนู มของความสำาเร็จของผลลัพธ์ดูวย ขูอม้ลเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพอย่างชัดเจนและตรวจสอบไดู ผลการ ประเมิน เกณฑ์ ข้อคิดเห็นเพ่ิมเติม จริง ไม่ จริง 5. การนำ าเสนอปั จจัยความสำาเร็จท่ีส่งผลให้เกิดการปฏิบัติ อย่างต่อเน่ ืองและยั่งยืน 5.1 ปั จจัยความสำาเร็จท่ีนำาเสนอสอดคลูองกับระบบและ/ หรือวิธีการปฏิบัติงานท่ี นำ าเสนอ 5.2 ปั จจัยความสำาเร็จท่ีนำาเสนอเป็ นผลมาจากการ วิเคราะห์ของผู้เก่ียวขูองกับการปฏิบัติงานอย่างรอบคอบ
  • 14. 5.3 ปั จจัยความสำาเร็จส่งผลใหูเกิดการปฏิบัติงานอย่างต่อ เน่ ืองและยังยืน ่ 6. การถอดบทเรียนจากการดำาเนิ นงาน 6.1 ใชูกระบวนการจัดการความรู้ในการถอดบทเรียน Best Practices 6.2 แสดงขูอเสนอแนะท่ีเป็ นประโยชน์ต่อการนำ า Best Practices ไปประยุกต์ใชู 6.3 แสดงขูอควรระวังในการนำ า Best Practices ไป ประยุกต์ใชู