SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  89
Télécharger pour lire hors ligne
การพัฒนาและการสร้างจริยธรรมในองค์การธุรกิจ
จรรยาบรรณในวิชาชีพ

Ethics @ UN 2013
จริยศาสตร์สอนให้มนุษย์ 	

Ethics @ UN 2013
จริยศาสตร์สอนให้มนุษย์
1) 

รู้จักการดําเนินชีวิตทั้งในด้านสังคมและในด้านส่วนตัว
มีทั้งการกระทําที่ดีและการกระทําที่ชั่ว การกระทําที่ถูกและการกระทําที่ผิดไม่ว่า
กิจการใดๆ แม้จะประกอบอาชีพเดียวกัน เช่น ทนาย และแพทย์

2) 

ชีวิตในสังคมของเราควรจะเป็นชีวิตที่มีระเบียบ
เราต้องมีหลักการในการดําเนินชีวิตรวมทั้งข้อปฏิบัติที่จะทําให้เรามีความเจริญ
ก้าวหน้าในทางที่ดีงาม ตามความเป็นจริงแล้วจริยธรรมและศีลธรรมเป็นวิถีแห่งการ
ครองชีวิตที่ดีที่สุด

3

Ethics @ UN 2013
ประโยชน์ของการศึกษาจริยศาสตร์ (ต่อ)
จริยศาสตร์สอนให้มนุษย์ :
3) ศีลธรรมและจริยธรรมไม่ใช่สิ่งสมมติสร้างขึ้นมาเล่นๆ ไม่ใช่เรื่องของอารมณ์ แต่มัน
เป็นกฎแห่งความเป็นจริงของชีวิต ที่ชีวิตต้องการ ทําให้ชีวิตสมบูรณ์ จิตใจดีงาม
คุณธรรมต่างๆ เป็นอาหารหล่อเลี้ยงจิตใจได้ฉันใด อาหารที่มีประโยชน์ก็เป็นเครื่อง
หล่อเลี้ยงร่างกายให้เจริญเติบโตได้ฉันนั้น
4)

ความประพฤติทางศีลธรรมและหลักจริยศาสตร์นั้น ทั้งในอดีตและปัจจุบันเป็นหลัก
เพิ่มพูนสติปัญญา เพื่อพัฒนาเชื้อชาติ เพื่อความประพฤติที่ดีงาม เพื่อให้คนทําหน้าที่
อันถูกต้องเหมาะสม ให้มีมโนธรรมเพิ่มพูนบุญกุศลให้ชีวิตทั้งในชาตินี้และชาติหน้า

4

Ethics @ UN 2013
จริยศาสตร์สอนให้มนุษย์ :
5) 

จริยศาสตร์สอนให้เรารู้จักคุณค่าอันแท้จริงของชีวิต ว่าอะไร? คือคุณค่าที่เราควร
รีบแสวงหา โดยไม่เสียเวลาเปล่า บุคคลที่ไม่ได้กําหนดคุณค่าแห่งชีวิตของตนไว้ให้
แน่นอนนั้น จะมีชีวิตอยู่อย่างสงบไม่ได้เลย และจะไม่พบความพึงพอใจในชีวิตอีก
ด้วย
เนื่องจากจริยศาสตร์ ศึกษาถึงคุณค่าแห่งชีวิตมนุษย์ พยายาม
เร่งเร้าให้คนมีความรู้สึกอันดี ค้นหาคุณค่าอันแท้จริงแห่งชีวิต และช่วยเป็นแรง
บันดาลใจให้มนุษย์พยายามแสวงหาสิ่งที่ดีที่สุด มีคุณค่าที่สุดในชีวิตของตน

	

5

Ethics @ UN 2013
จริยศาสตร์สอนให้มนุษย์ :	
โดยสรุป เราอาจกล่าวได้ว่าที่ใดมีความประพฤติของมนุษย์และเจตนาของมนุษย์ที่
นั้นก็มีขอบเขตของจริยศาสตร์ด้วย
จอห์น ดิวอี้ ได้กล่าวไว้ว่าบทสรุปที่สําคัญก็คือว่า ศีลธรรมต้องเข้าไปเกี่ยวข้องกับ
กิจกรรมทั้งหมดเพราะว่า เมื่อศีลธรรมเข้าไปเกี่ยวข้องกับกิจกรรมเหล่านั้นแล้วความ
แตกต่างระหว่างสิ่งที่ดีกว่าและเลวกว่าก็เกิดขึ้น

6

Ethics @ UN 2013
Donald C. Menzel	

Ethics @ UN 2013
Menzel.ได้นาเสนอเคร่ืองมือในการสร้างศักด์ิศรี และจริยธรรมให้เกิดข้ึน
ในระดับบุคคล

Ethics @ UN 2013
The Ethics of Leadership Training

Don’t pretend that everything is O.K. when it is not

Ethics @ UN 2013
1)ผูน้าตน้แบบทีด(Exemplary.Leadership)
่ี
• 
• 

ภาวะผู้นามีอทิธพิลอย่างสูงต่อองค์การและการสร้างจริยธรรมผู้นา	
จะต้องปฏบิ ัติตนอย่างมีศักด์ศิ รี และจริยธรรม เพ่ือเป็นแบบอย่างท่ดี ีแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาและเม่ือ ผู้นาในองค์การได้แนะนาผู้ใต้
บังคับบัญชาให้ปฏบิ ัติตนอย่างไรจาเป็นอย่างย่ิงท่ตี นเองจะต้องทา ในส่งิ ท่ตี นได้พูดอย่างเคร่งครัด

PRINCIPLES OF EXEMPLARY LEADERSHIP

Ethics @ UN 2013
2) การฝึกอบรมจริยธรรม (Ethical.Training)

•  ก) แนวทางเชิงบังคับให้ปฏบิ ัติตาม (Compliance Model)

•  เป็นเร่ือง การวางกฎระเบียบข้อกาหนด และแนวทางปฏบิ ัติต่างๆ ท่ถี ูกระบุว่า ถูกต้องเหมาะสม และนา
มา กาหนดให้บุคคลท่วั ไปต้องประพฤติตาม เพ่ือแสดงถึงการมีจริยธรรม การพิจารณาว่าพฤติกรรม ใดมี
จริยธรรมหรือไม่น้ัน จะยึดหลักกฎหมายเป็นพ้ืนฐาน ซ่ึงได้กาหนดแนวทางปฏบิ ัติต่างๆ ว่า ควรทา หรือ
ไม่ควรทาอะไร ควรหลีกเล่ียงพฤติกรรมแบบใด มีการตรวจสอบให้ประพฤติปฏบิ ัติ ตามท่วี างไว้ และการ
ลงโทษผู้กระทาผิด อันเป็นลักษณะเชิงลบให้ความสาคัญในการป้องกันการ ฉ้อฉล ทุจริตประพฤติมิชอบ 	
Ethics @ UN 2013
2) การฝึกอบรมจริยธรรม (Ethical.Training)

•  ข) แนวทางเชิงศักด์ิศรี(Integrity Model)

•  เป็นเร่ืองของการเสริมสร้าง ขีดสมรรถนะทางคุณธรรม และพฤติกรรมอันเหมาะสมดีงามท่มี ุ่งพัฒนาทกั
ษะความ สามารถของ บุคคลในการท่จี ะเข้าใจ หย่ังรู้ ตระหนักถึงวิธีการปฏบิ ัติเพ่ือสร้าง และนาพาตน
เองส่กู ารเป็นผู้มี จริยธรรม บุคคลน้ันจะต้องมีความสามารถในการพิจารณาถึงเหตุและผลเพ่ือแสดงถึง
พฤติกรรม ท่แี สดงถึงการมีจริยธรรม เช่น ความซ่ือสัตย์ การปฏบิ ัติต่อผู้อ่นื การฝึกอบรมรูปแบบน้ีมุ่ง
เน้น ความพยายามท่จี ะจูงใจให้บุคลากรประพฤติตนสงู กว่ามาตรฐานปกติ มิใช่เป็นเพียงยึดกฎ
ระเบียบ เป็นบรรทดัฐานเทา่น้ัน 	

Ethics @ UN 2013
3) การประมวลจริยธรรม/จรรยาบรรณ และการปฏิญาณตน (Codes & 
Oaths)
•  องค์การควรจัดทา หากต้องการท่จี ะส่งเสริมจริยธรรมในระยะยาว เช่น จัดทาประมวล
จริยธรรม หรือ จรรยาบรรณ รวมท้งั การกาหนดเง่ือนไขและบทลงโทษเก่ียวกับการ
กระทาอันเป็นปฏิปักษ์ต่อจริยธรรมเพ่ือส่ือสาร และจูงใจให้ข้าราชการประพฤติตนเองให้
สอดคล้องกับจริยธรรมขององค์การ การประมวลจริยธรรมน้ันจา เป็นจะต้องมีการกา
หนดให้ เหมาะสมกับสภาพขององค์การและการเปล่ียนแปลง สาหรับการปฏญิ าณตน
หมายถึง การ รวบรวมคากล่าวยืนยันแสดงความมุ่งม่ันว่าบุคคลน้ันจะทาอะไร มีความ
ต้ังใจจะประพฤติตนในแนวทางใด 	

Ethics @ UN 2013
4) การตรวจสอบจริยธรรม (Ethics Audits)
•  อาจใช้แบบสารวจ และการสัมภาษณ์ เพ่ือตรวจสอบว่าในปัจจุบัน 	
•  บุคลากรมีความเข้าใจด้านจริยธรรม หรือมีพฤติกรรมท่ีสอดคล้องกับจริยธรรมอยู่ใน
ระดับใด 	
•  แล้วจึงค่อยกาหนดรูปแบบ และองค์ประกอบของจริยธรรมท่อี งค์การต้องการ เพ่ือผลัก
ดันส่กู าร เป็นองค์การท่มี ีศักด์ิศรี (Integrity Organization) 	

Ethics @ UN 2013
5) การบริหารทรพั ยากรบุคคล ( Human Resources Management) 
•  เป็นเคร่ืองมืออีกชนิดหน่ึงท่สี ามารถนามาใช้ประโยชน์ในการเสริมสร้าง จริยธรรมใน
องค์การ ได้แก่ การคัดเลือกบุคลากร การว่าจ้าง การพัฒนาบุคลากร การ 	
•  ประเมินผลการปฏบิ ัติงานการเล่ือนตาแหน่งเป็นต้น 	

Ethics @ UN 2013
โครงสร้างปัจจัยพ้ืนฐานทางจริยธรรมของMenzel
ท่มี า: OECD, 1996: 26 (อ้างถึงใน ปานจิต จินดากุล, 2549: 7)

Ethics @ UN 2013
How to Report Unethical Practices by Your Employer

Ethics @ UN 2013
How to Deal With Unethical Coworkers

Ethics @ UN 2013
How to Justify a Negative Credit Report to an Employer

Ethics @ UN 2013
ศีลธรรมไม่ใช่แนวทางการแก้ไข	

Ethics @ UN 2013
ศีลธรรมไม่ใช่แนวทางการแก้ไข
• 

ในการแก้ไขปัญหาทุจริต ไม่ใช่แค่ “อมพระมาพูด”  ในเชิงสากล การใช้ศีลธรรมมาแก้ไขปัญหา
ทุจริตไม่ได้
          1. ขีดจํากัดของการรณรงค์ให้ทําดี
          โดยทั่วไปมีการรณรงค์ให้ประชาชนยึดมั่นในศาสนา กิจกรรมรณรงค์อาจมากขึ้น แต่การเข้า
ถึงศาสนากลับน้อยลง สิ่งที่น่าสังเกตประการหนึ่งก็คือ การยกศาสนาหรือความดีมานําเสนอนั้น คนที่
ได้ดีเพิ่มขึ้นอาจไม่ใช่คนฟังแต่เป็นคนพูด ที่อย่างน้อยก็ได้หน้า ได้ภาพลักษณ์ ยิ่งถ้าพูดหรือสรรหา
คําคมได้ประทับใจเพียงใด ยิ่งได้ผลเพียงนั้น ในวงการศาสนา ทุกท่านก็คงเคยได้ยินว่าพระรูปใดที่มี
น้ําเสียงการเทศน์ที่ไพเราะก็มักเป็นที่นิยมของญาติโยม การนี้แสดงว่าเรายังยึดติดอยู่ในเปลือกหรือ
รูปแบบมากกว่าแก่นหรือสาระ 
          การอธิบายเรื่องการทําดีนั้น แทนที่จะเอาความเชื่อทางศาสนามาอ้างอิง เราควรอธิบายโดย
อาศัยความเป็นจริง เช่น ความซื่อสัตย์ต่อ ลูกค้านั้นไม่ใช่การทําดีตามที่บัญญัติในหลักศาสนาหรือ
เพราะกลัวตกนรก แต่ต้องทําในภาคบังคับตามกฎหมาย คือหากไม่ซื่อสัตย์ ฉ้อโกงลูกค้า ก็อาจถูก
ลูกค้าฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายได้ ทําให้เสียชื่อเสียง ความเชื่อถือหมดไป การทํางานอย่างซื่อสัตย์จึง
ทําให้ธุรกิจยั่งยืน ลูกค้าต้อนรับและเติบโตต่อไปด้วยบริการหรือสินค้าที่มีคุณภาพสมราคา การ
อธิบายเช่นนี้จะเข้าใจได้ง่ายและชัดเจนโดยไม่ต้องอาศัยบทบัญญัติของศาสนาใดมากล่าวอ้าง
Ethics @ UN 2013
ศีลธรรมไม่ใช่แนวทางการแก้ไข
•  1. ขีดจํากัดของการรณรงค์ให้ทําดี
          โดยทั่วไปมีการรณรงค์ให้ประชาชนยึดมั่นในศาสนา กิจกรรมรณรงค์อาจมากขึ้น
แต่การเข้าถึงศาสนากลับน้อยลง สิ่งที่น่าสังเกตประการหนึ่งก็คือ การยกศาสนาหรือ
ความดีมานําเสนอนั้น คนที่ได้ดีเพิ่มขึ้นอาจไม่ใช่คนฟังแต่เป็นคนพูด ที่อย่างน้อยก็ได้
หน้า ได้ภาพลักษณ์ ยิ่งถ้าพูดหรือสรรหาคําคมได้ประทับใจเพียงใด ยิ่งได้ผลเพียงนั้น ใน
วงการศาสนา ทุกท่านก็คงเคยได้ยินว่าพระรูปใดที่มีน้ําเสียงการเทศน์ที่ไพเราะก็มักเป็น
ที่นิยมของญาติโยม การนี้แสดงว่าเรายังยึดติดอยู่ในเปลือกหรือรูปแบบมากกว่าแก่น
หรือสาระ 
          การอธิบายเรื่องการทําดีนั้น แทนที่จะเอาความเชื่อทางศาสนามาอ้างอิง เราควร
อธิบายโดยอาศัยความเป็นจริง เช่น ความซื่อสัตย์ต่อ ลูกค้านั้นไม่ใช่การทําดีตามที่
บัญญัติในหลักศาสนาหรือเพราะกลัวตกนรก แต่ต้องทําในภาคบังคับตามกฎหมาย คือ
หากไม่ซื่อสัตย์ ฉ้อโกงลูกค้า ก็อาจถูกลูกค้าฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายได้ ทําให้เสียชื่อ
เสียง ความเชื่อถือหมดไป การทํางานอย่างซื่อสัตย์จึงทําให้ธุรกิจยั่งยืน ลูกค้าต้อนรับ
และเติบโตต่อไปด้วยบริการหรือสินค้าที่มีคุณภาพสมราคา การอธิบายเช่นนี้จะเข้าใจได้
ง่ายและชัดเจนโดยไม่ต้องอาศัยบทบัญญัติของศาสนาใดมากล่าวอ้าง 	
	

Ethics @ UN 2013
ศีลธรรมไม่ใช่แนวทางการแก้ไข
•  2. ไม่ควรอ้างความดีโดด ๆ 
          การพร่ําพูดว่าเราควรทําดี (เพิ่มขึ้น) นั้นอาจไม่เกิดประโยชน์นัก  เพราะคนดีก็
ทําดีอยู่แล้ว  แต่ปัญหาทุกวันนี้ไม่ใช่อยู่ที่ทําดีน้อยไปแต่อยู่ที่การละเมิดกฎหมายกัน
อย่างแพร่หลาย โดยเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องกลับเอาเอาหูไปนาตาไปไร่ต่างหาก เราจึงควร
รณรงค์ป้องกันไม่ให้ทําผิดกฎหมาย ส่วนช่องโหว่ของกฎหมายที่มีบางคนเล็ดลอดได้
ประโยชน์เป็นเพียงส่วนน้อยนิดซึ่งต้องหาทางอุดหรือปรับปรุงเป็นระยะ ๆ โปรดสังวร
ว่าการรณรงค์ให้ทําความดีบางครั้งอาจเป็นไปเพื่อซ่อนเร้นการทําชั่วจนเข้าทํานองอ้าง
ว่ามีคุณธรรมแต่ละเมิดกฎหมาย 
          ยิ่งกว่านั้น เราควรรณรงค์ให้ประชาชนรู้จักปกป้องและหวงแหนสิทธิของตนเอง
ตามกฎหมายและไม่เฉยชาต่อการกระทําผิดกฎหมายของผู้อื่นที่ส่งผลต่อตนเอง ชุมชน
และสังคม การเพิกเฉยหรือละเลยต่อหน้าที่ยังถือเป็นอาชญากรรมอย่างหนึ่งด้วย และยัง
เป็นการเอื้อประโยชน์ต่อผู้หาผลประโยชน์โดยมิชอบและไม่ตระหนักว่าค่าใช้จ่ายในการ
แก้ปัญหามากกว่าการป้องกันหลายเท่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือ ชีวิตมนุษย์ซึ่งสร้างคน
ใหม่มาทดแทนคนเก่าไม่ได้ รัฐบาลที่เพิกเฉยเช่นนี้เท่ากับเป็นรัฐบาลที่อยู่ข้างอาชญากร
หรือเป็นหัวหน้าอาชญากรเสียเอง

Ethics @ UN 2013
ศีลธรรมไม่ใช่แนวทางการแก้ไข
•  3. ระวังคนทําดีแต่เป็นอาชญากร 
          บางคนดูคล้ายมีคุณธรรม แต่มักละเมิดกฎหมาย! มีคนทําดีมากมายแต่ประกอบ
อาชญากรรมอยู่เป็นนิจ บริษัทพัฒนาที่ดินบางแห่งอาจดูประสบความสําเร็จ ทําบุญทํา
กุศลมากมาย เจ้าของก็ดูมีชื่อเสียง ไม่เคยถูกสื่อมวลชนติติง แต่กลับ “รีดเลือดกับปู” ต่อ
ผู้รับเหมา ทําผิดสัญญาก่อสร้างล่าช้าเกินทน หรือส่งมอบบ้านที่ไม่มีคุณภาพ ก่อสร้าง
แบบสุกเอาเผากินให้ลูกค้า 
          อีกกรณีหนึ่งสถาบันการเงินบางแห่งอาจเป็นผู้อุปถัมภ์งานมรดกของชาติที่ยิ่ง
ใหญ่หรือทําสาธารณประโยชน์มากมาย แต่ภายในสถาบันการเงินนั้นกลับขาดธรรมภิ
บาล ไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ผู้บริหารโกงสถาบันการเงินของตัวเอง พนักงานเรียกเก็บ
เงินใต้โต๊ะกับผู้มาขอกู้ ผู้บริหารให้สินเชื่อเครือญาติโดยไม่มีหลักประกันจนกลายเป็นหนี้
ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ สุดท้ายสถาบันการเงินแห่งนั้นก็ล้มไป

Ethics @ UN 2013
ศีลธรรมไม่ใช่แนวทางการแก้ไข
•  4. ระวังทําดีเพื่อปกปิดคนผิดและความผิด
          การทําดีแบบแอบแฝงและไร้ประสิทธิผล นอกจากจะได้ดีเฉพาะคนทําดีแล้ว
บ่อยครั้งยังเป็นการช่วยปกปิดความชั่วของคนชั่วที่ซ่อนตัวอยู่ภายใต้เสื้อคลุมของคนดี
เช่น เรารณรงค์ปลูกป่ากันใหญ่ แต่ไม่เคยใส่ใจว่า เราจะรณรงค์กันปราบปรามการ
ลักลอบตัดไม้ทําลายป่ากันอย่างไร ท่านทราบหรือไม่ในปี 2504 มีพื้นที่ป่าไม้อยู่
273,629 ตร.กม. (53% ของพื้นที่ประเทศไทย) แต่ ณ ปี 2547 เหลืออยู่เพียง
167,591 ตร.กม. (33% ของพื้นที่ประเทศไทย) {6} หรือหายไปเท่ากับ 68 เท่าของ
พื้นที่กรุงเทพมหานคร หรือเท่ากับเราสูญเสียพื้นที่ภาคใต้และภาคตะวันออกรวม 	
	

Ethics @ UN 2013
แนวทางการแก้ไข 	

Ethics @ UN 2013
แนวทางการแก้ไข 
          
•  แนวทางการแก้ไขปัญหาทุจริตของวิสาหกิจเอกชนนั้น สามารถพิจารณาได้ในหลายมิติ
อย่างไรก็ตามพึงเริ่มต้นที่ผู้บริหารเป็นอันดับแรก และตามด้วยการปฏิบัติตามกฎหมาย
โดยเคร่งครัด รวมทั้งการตรวจสอบที่เข้มงวด
	

•  1. เริ่มต้นที่ผู้บริหาร
          ผมเคยอ่านหนังสือประวัติของพระพุทธเจ้า ซึ่งแปลโดย ท่าน สว.รสนา โตสิตระ
กูลและสามี ว่า ในสมัยพุทธกาล ในราชสํานักของพระเจ้าสุทโธทนะก็มีปัญหาขุนนาง
ทุจริต แต่ก็แก้ไขอะไรไม่ได้มากเพราะพวกขุนนางทุจริตเหล่านี้ค้ําจุนบัลลังก์อยู่  ขุนนาง
เหล่านี้ต่างก็ขับเคี่ยวกันเพื่อมุ่งปกป้องและสร้างฐานอํานาจของตนเอง ไม่ใช่มุ่งขจัด
ความทุกข์ยากให้ผู้ยากไร้  พระพุทธเจ้าได้เห็นความเป็นจริงข้อนี้จึงไม่คิดที่จะเป็น
กษัตริย์ {7}
          การที่จะแก้ปัญหาทุจริตได้ จึงจําเป็นต้องเริ่มต้นที่ผู้บริหารก่อน หากผู้บริหารมี
ความตั้งใจ (Strong Commitment) ที่จะแก้ไข  ปัญหาก็อาจได้รับการแก้ไขให้ลุล่วง
ไป	
	
Ethics @ UN 2013
แนวทางการแก้ไข 
          
•  2. เน้นที่การปฏิบัติตามกฎหมาย
          การที่จะแก้ปัญหาทุจริตได้ เราต้องบังคับใช้ Hard Laws หรือให้ประเทศมีลักษณะนิติรัฐโดยเคร่งครัด 
อย่างไรก็ตามกฎหมายต่าง ๆ อาจมีช่องโหว่บ้าง เราก็ควรแก้ไขกฎหมายให้ทันสมัยอยู่เป็นระยะ ๆ หากไม่แก้ไขข้อ
กฎหมาย ก็เท่ากับส่งเสริมการทําผิดกฎหมาย เปิดช่องโหว่อยู่ร่ําไป เช่น ในวงการประเมินค่าทรัพย์สิน มีการจัดสอบ
และจัดการศึกษาให้บริษัทประเมินอย่างจริงจัง ซึ่งเป็นการทําได้ดีในระดับหนึ่ง แต่ช่องโหว่ที่ไม่ได้แก้ก็คือ การปล่อยให้
บริษัทมหาชนว่าจ้างบริษัทประเมินกันเอง ซึ่งย่อมมีโอกาสประเมินตามใจชอบ อันอาจทําให้ประชาชนผู้ถือหุ้นเสีย
ประโยชน์ได้ นี่จึงเป็นตัวอย่างที่ชัดเจนว่าหากเรา “ปลื้ม” กับการทําดีในระดับหนึ่ง (จัดสอบและจัดการศึกษา) แต่ละ
เลยสาระสําคัญคือ การอุดช่องโหว่ ก็เท่ากับเราเปิดโอกาสให้เกิดการฉ้อฉล 
          เราจะหวังให้กฎหมายสมบูรณ์แบบ ไร้ช่องโหว่คงไม่ได้ บางคนอาจอาศัยช่องโหว่ของกฎหมายเพื่อหาผล
ประโยชน์ใส่ตัวบ้าง แต่กรณีนี้ก็เกิดขึ้นได้น้อยมาก และคงต้อง “ยกประโยชน์ให้จําเลย” ไป เพราะกฎหมายไม่ได้
กําหนดไว้ จึงไม่ถือเป็นความผิด และกฎหมายทั้งหลายก็มักไม่มีผลย้อนหลัง อย่างไรก็ตามปัญหาส่วนมากที่เกิดขึ้นก็
คือ การที่ผู้รักษากฎหมายร่วมมือตีความกฎหมายอย่างบิดเบี้ยวเพื่อฉ้อฉลมากกว่า เช่น การสร้างอาคารพาณิชย์ใน
พื้นที่ต้องห้ามบางบริเวณตามผังเมือง ด้วยการหลีกเลี่ยงไปสร้างเป็นบ้านเดี่ยวที่ดูคล้ายอาคารพาณิชย์โดยแต่ละหลัง
ห่างกันแค่คืบเดียว กรณีเช่นนี้ถือว่าผิดกฎหมายชัดเจน แต่ผู้รักษากฎหมายคงตีความส่งเดช หรือ “เอาหูไปนา เอาตา
ไปไร่” มากกว่า 
          ข้อพึงสังวรประการสําคัญก็คือเราจะให้ใครมาละเมิดกฎหมายที่มีอยู่ไม่ได้ หาไม่ก็จะเป็นการยอมรับ
อาชญากรรม ดังนั้น เราจึงต้องเริ่มต้นที่การทําให้ถูกต้องตามตัวบทกฎหมายที่มีอยู่ก่อนเพื่อยึดถือปฏิบัติตามกติกาที่
ชอบธรรมฉบับเดียวกัน ผู้ไม่ยึดถือกฎหมาย ไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ย่อมไม่มีคุณธรรมหรือจริยธรรม เพราะการละเมิด
กฎหมายเป็นการล่วงเกินหรือเอาเปรียบบุคคลอื่น เป็นการสร้างความเดือดร้อนให้สังคมโดยรวม	
	
Ethics @ UN 2013
แนวทางการแก้ไข
•  3. พัฒนาระบบตรวจสอบที่เข้มแข็ง 
          ลําพังการมีกฎหมาย (Hard Law) ที่ทันสมัย มีบทลงโทษที่เข้มงวดโดยไม่เลือกปฏิบัติ และ
การมีจรรยาบรรณ (Soft Law) ที่ชัดเจนในแต่ละวิชาชีพเพื่อประโยชน์ของผู้บริโภค ยังไม่เพียงพอที่
จะป้องกันหรือแก้ไขปัญหาทุจริต ยังมีความจําเป็นที่จะต้องพัฒนาระบบตรวจสอบที่เข้มแข็ง เข็มงวด
ต่อเนื่อง ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความโปร่งใสอย่างแท้จริง การตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพนั้น นอกจากจะ
เป็นการป้องปรามในลักษณะ “เขียนเสือให้วัวกลัว” แล้ว ยังเป็นกิจกรรมที่ควรดําเนินการต่อเนื่องเพื่อ
ประกันระบบคุณภาพให้เข้าที่และอยู่กับร่องกับรอยอย่างสม่ําเสมอ
          ระบบตรวจสอบสามารถดําเนินการได้ 2 รูปแบบคือ	
•  การตรวจสอบภายใน โดยใช้พนักงานหรือเจ้าหน้าที่ในวิสาหกิจเองเป็นผู้ดําเนินการ โดยผู้ตรวจสอบ
ต้องมีความเป็นอิสระ และขึ้นอยู่กับผู้บริหารสูงสุดในวิสาหกิจ การใช้ผู้ตรวจสอบภายในซึ่งคุ้นเคยกับ
วิสาหกิจของตนเอง จะช่วยให้สามารถค้นพบข้อผิดพลาดหรือกรณีทุจริตต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว	
•  การตรวจสอบภายนอก ทั้งนี้ใช้ในกรณีที่การตรวจสอบภายในอาจมีข้อบกพร่อง หรือใช้ในกรณีการ
ตรวจสอบการตรวจสอบภายใน รวมถึงการเพิ่มมุมมองใหม่ ๆ จากภายนอกเพื่อให้ปัญหาทุจริต
สามารถได้รับการแก้ไขอย่างมีประสิทธิภาพ ในกรณีนี้จึงอาจว่าจ้างผู้ตรวจสอบจากภายนอก เพื่อให้
มุมมองที่แตกต่างออกไป
	
	
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Cases: Colgate 	

Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
เกี่ยวกบัหลกัในการประพฤติปฏิบตัิตน

Ethics @ UN 2013
หลกัในการประพฤติปฏิบตัิตน

Ethics @ UN 2013
หลกัในการประพฤติปฏิบตัิตน

Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Cases: Tesco	

Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
ธิ กี ารประเมนิ แบบบตั รคะแนนทส่ี มดลุ กนั ซงึ่ เรา เรยี กวา่ แผนงานทง้ั 5 (Steering Wheel) ซงึ่
แบง่ ออกเปน็ 5 แผนงานคอื ชมุ ชน การ ดา� เนนิ งาน บคุ ลากร การเงนิ และลกู คา้

Ethics @ UN 2013
การบรหิ ารความ รบั ผดิ ชอบของเรา

Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Cases: Cargill	

Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Monsanto

Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
Cases: ABB	

Ethics @ UN 2013
Ethics @ UN 2013
85

Ethics @ UN 2013
การยืมมือกฎหมายบังคับให้ “พลเมือง” เป็น “คนดี
•  มีประกาศสํานักนายกรัฐมนตรีเรื่อง กําหนดวันห้ามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.
๒๕๕๒ ตามประกาศนี้ห้ามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในวันพระใหญ่ 4 วัน ได้แก่ วันมาฆบูชา วัน
วิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชาและวันเข้าพรรษา โดยมีข้อยกเว้นกรณีการขายในโรงแรมตามกฎหมาย
ว่าด้วยโรงแรม เพื่อเป็นการส่งเสริมนโยบายการท่องเที่ยวในประเทศไทยและกระตุ้นเศรษฐกิจของ
ภาคอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว แต่ประกาศนี้ก็แฝงคําถามที่ชวนสงสัยดังนี้
•  กฎหมายนี้มีข้อยกเว้นคือให้ขายได้ในโรงแรมโดยให้เหตุผลว่าต้องการกระตุ้นเศรษฐกิจด้านการท่อง
เที่ยวซึ่งดูเหมือนว่ารัฐให้คุณค่า “ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ” มากกว่า “ความเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี” ใช่
หรือไม่
•  การยืมมือกฎหมายบังคับให้ “พลเมือง” เป็น “คนดี”นั่นเอง แต่คําถามมีว่า การบังคับใช้กฎหมาย
แบบนี้บรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่ แน่นอน กฎหมายย่อมมีพื้นฐานมาจากศีลธรรมและแยกออกจากศีล
ธรรมไม่ได้ แต่กฎหมายไม่สามารถบังคับให้เป็นคนดี หรือพุทธศาสนาสนิกชนที่ดีได้ ศีลธรรมหรือ
คุณธรรมเป็นเรื่องของการปลูกฝังอบรมมาตั้งแต่ครอบครัวและในโรงเรียนมายาวนาน อย่างที่
Immanuel Kant อธิบาย เจตจํานงเสรี (Free will) เป็นรากฐานของศีลธรรมโดยที่ไม่มีปัจจัย
ภายนอก (ทั้งเชิงบวกและเชิงลบ) เข้ามามีอิทธิพลต่อการตัดสินใจของบุคคลนั้น

Ethics @ UN 2013
“ใช่หรือไม่ว่า มาตรฐานทางศีลธรรมและจริยธรรมของสังคมไทยได้
เปลี่ยนแปลงไปแล้ว?”
•  “ย้อนกลับไปในปี 2535 หลังจากพลเอกสุจินดา คราประยูร สั่งฆ่าคนแล้ว จะมีเสียงสะท้อนจากสังคม
(public opinion) ที่ชัดว่าการฆ่าคนทําไม่ได้
•  การสลายการชุมนุม นปช. เมื่อวันที่ 10 เม.ย. ที่ผ่านมา ซึ่งทําให้มีผู้ชุมนุมเสียชีวิตไม่น้อยกว่า 20 คน
บาดเจ็บกว่า 800 คน ทําให้รัฐบาลอภิสิทธิ์สูญเสียความชอบธรรมทางการเมืองในทันที ทว่าหลัง
เหตุการณ์ผ่านไปเพียง 2-3 วัน รัฐบาลได้พลิกเกมกลับมาเป็นฝ่ายรุก ด้วยข้ออ้างว่า การตายและ
บาดเจ็บของทั้งฝ่ายทหารและผู้ชุมนุมเกิดจากการกระทําของผู้ก่อการร้ายที่แต่งกายด้วยชุดดํา ต่อ
มารัฐบาลอ้างว่า ชายชุดดําแฝงและคนเสื้อแดงเป็นพวกเดียวกัน
•  เมื่อมีความพยายามของรัฐบาลที่จะเบี่ยงประเด็นข้อโต้แย้งใหม่ “ตอนนี้เป็นการ shift debate ตกลง
ใครยิงไม่รู้ ทั้งที่แทบจะไม่มีข้อสงสัย ทหารยิงผู้ชุมนุมมันไม่รู้จะชัดยังไงแล้ว แต่กลายเป็นการตั้งวาระ
ขึ้นมาใหม่ว่า อาจจะเป็นพวกเดียวกันยิงเสื้อแดง หรือคนชุดดํายิงเสื้อแดง ก็นับว่าเป็นความเก่งมาก
ของฝ่ายรัฐบาลและทหารที่เบี่ยงวาระการถกเถียงไปเพื่อ minimize อาชญากรรมครั้งนี้ให้เหลือน้อย
ที่สุด เป็นไปตามศัพท์คําว่า blaming the victim คือทําให้เหยื่อกลายเป็นผู้ถูกกล่าวหา เหมือนกับ
คนทําผิดใส่ร้ายคนถูกทําร้าย

Ethics @ UN 2013
การบริจาคอวัยวะ การค้าหรือมนุษยธรรม
•  
ปัจจุบันการช่วยเหลือผู้ป่วยที่อวัยวะเสื่อมโดยผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะเป็นที่แพร่หลาย มีผู้
ใจบุญบริจาคอวัยวะหลังเสียชีวิต เพื่อต่อชีวิตผู้อื่น ในอดีตท่านคงทราบกันดีว่าเคยมีคดี
เกี่ยวกับการค้าอวัยวะ เพื่อผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะ ซึ่งนําไปสู่คดีฟ้องร้อง และมีการลงโทษ
โดยการเพิกถอนใบประกอบโรคศิลป์และยึดใบประกอบโรคศิลป์ชั่วคราว3เดือน กับ
กลุ่มแพทย์รพ.เอกชนแห่งหนึ่ง เป็นข่าวครึกโครมจนรพ.เอกชนต้องเปลี่ยนชื่อรพ.และ
กลายเป็นเครือข่ายของรพ.เอกชนอีกแห่งหนึ่ง หลายท่านคงจํากันได้ดี และไม่ควรลืม
เหตุการณ์ดังกล่าว	
•  ท่านคิดว่าจะทําเช่นใดเพื่อมิให้เกิดเหตุการณ์ดังกล่าว และหากท่านเป็นแพทย์ที่ร่วมใน
การดูแลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะท่านจะทําเช่นใด	
• 
•  ท่านจะเลือกเป็นเทวดาที่ผู้ป่วยยกมือไหว้ หรือจะเป็นปิศาจที่ชาวบ้านสาปแช่งฟ้องร้อง
ขึ้นอยู่กับตัวท่านเอง
Ethics @ UN 2013
ส.ส.ณัฏฐ์ย้ําพร้อมถูกกก.จริยธรรมสอบกรณีดูรูปหวิว
•  ณัฏฐ์” ลั่นพร้อมชี้แจง กมธ.กิจการสภาฯ กรณีใช้สมาร์ทโฟนดูภาพโป๊ในที่ประชุมฯ
ยืนยันช่วงรูปโป๊หลุดกลางจอใหญ่ ไม่ได้อยู่ในห้องประชุม เผยได้แจ้งพ่อ- ผู้ใหญ่ในพรรค
แล้ว แนะให้ระวังอย่าผิดพลาด ย้ําชัดพร้อมรับการถูกตรวจสอบจากกก.จริยธรรม...
เมื่อวันที่ 21 เม.ย.2555 นายณัฏฐ์ บรรทัดฐาน ส.ส.กทม. พรรคประชาธิปัตย์ กล่าวถึง
กรณีที่นายไพจิต ศรีวรขาน ส.ส. นครพนม พรรคเพื่อไทย ในฐานะประธานคณะ
กรรมาธิการกิจการสภาฯ ระบุจะขอเชิญมาชี้แจงต่อ กมธ.ในวันที่ 26 เม.ย.นี้ในกรณีดู
คลิปรูปโป๊ในห้องประชุมรัฐสภา โดยระบุว่า ได้ให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายไอซีทีทั้งของสภา ของ
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีท) และกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดี
ี
เอสไอ) ตรวจสอบแล้วว่า อาจเป็นการส่งสัญญาณออนไลน์ผ่านระบบไวไฟ จากโทรศัพท์
มือถือไปปรากฏบนจอภาพใน กลางห้องประชุมว่า ตนพร้อมที่จะไปให้ถ้อนคําเพื่อพิสูจน์
ทราบข้อเท็จจริงในข้อกล่าวหานี้ และไม่อยากตอบโต้รายวันเพื่อต่อความยาวสาวความ
ยืด เพราะกรณีภาพโป๊ที่หลุดกลางจอโปรเจคเตอร์ในห้องประชุมร่วมรัฐสภากับกรณีที่
ตนเปิดดูรูปและข้อความต่างๆที่มีคนส่งเข้าเครื่องโทรศัพท์ของตนสามารถ พิสูจน์ข้อเท็จ
จริงได้
Ethics @ UN 2013

Contenu connexe

En vedette

the green house
the green housethe green house
the green housepipmossop
 
Client Selection Process V4
Client  Selection  Process V4Client  Selection  Process V4
Client Selection Process V4acolleran
 
Organization theory and design 05 2013
Organization theory and   design 05 2013Organization theory and   design 05 2013
Organization theory and design 05 2013Wai Chamornmarn
 
Final Version
Final VersionFinal Version
Final Versiondscanlan
 
Socialmediaplan
SocialmediaplanSocialmediaplan
Socialmediaplanlweller
 
香港六合彩
香港六合彩香港六合彩
香港六合彩wuliao
 
Organization theory and design 07 2013
Organization theory and  design  07 2013Organization theory and  design  07 2013
Organization theory and design 07 2013Wai Chamornmarn
 

En vedette (7)

the green house
the green housethe green house
the green house
 
Client Selection Process V4
Client  Selection  Process V4Client  Selection  Process V4
Client Selection Process V4
 
Organization theory and design 05 2013
Organization theory and   design 05 2013Organization theory and   design 05 2013
Organization theory and design 05 2013
 
Final Version
Final VersionFinal Version
Final Version
 
Socialmediaplan
SocialmediaplanSocialmediaplan
Socialmediaplan
 
香港六合彩
香港六合彩香港六合彩
香港六合彩
 
Organization theory and design 07 2013
Organization theory and  design  07 2013Organization theory and  design  07 2013
Organization theory and design 07 2013
 

Similaire à Business ethics 2013 part2

Business ethics 2013 part 1
Business ethics 2013 part 1Business ethics 2013 part 1
Business ethics 2013 part 1Wai Chamornmarn
 
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์panomkon
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660CUPress
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้Nona Khet
 
การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริต
การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตการดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริต
การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตWatcharasak Chantong
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีPa'rig Prig
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
อบรมค่ายศิลปะ คุณธรรม และสิ่งแวดล้อม(Power point)
อบรมค่ายศิลปะ คุณธรรม และสิ่งแวดล้อม(Power point)อบรมค่ายศิลปะ คุณธรรม และสิ่งแวดล้อม(Power point)
อบรมค่ายศิลปะ คุณธรรม และสิ่งแวดล้อม(Power point)โสภณ ศุภวิริยากร
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้looktao
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน BrProud N. Boonrak
 

Similaire à Business ethics 2013 part2 (20)

Ba.453 ch8
Ba.453 ch8 Ba.453 ch8
Ba.453 ch8
 
Csr
CsrCsr
Csr
 
Business ethics 2013 part 1
Business ethics 2013 part 1Business ethics 2013 part 1
Business ethics 2013 part 1
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์ผู้บำเพ็ญประโยชน์
ผู้บำเพ็ญประโยชน์
 
9789740330660
97897403306609789740330660
9789740330660
 
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
การจัดการความรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
05 ethics
05 ethics05 ethics
05 ethics
 
การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริต
การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตการดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริต
การดำเนินการเพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริต
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่333 3-ปี
 
Week 1
Week 1Week 1
Week 1
 
QA forstudent 300511
QA forstudent 300511QA forstudent 300511
QA forstudent 300511
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
Pmk internal assessor 3
Pmk internal assessor 3Pmk internal assessor 3
Pmk internal assessor 3
 
อบรมค่ายศิลปะ คุณธรรม และสิ่งแวดล้อม(Power point)
อบรมค่ายศิลปะ คุณธรรม และสิ่งแวดล้อม(Power point)อบรมค่ายศิลปะ คุณธรรม และสิ่งแวดล้อม(Power point)
อบรมค่ายศิลปะ คุณธรรม และสิ่งแวดล้อม(Power point)
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Brการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน Br
 
Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 

Plus de Wai Chamornmarn

Organization theory and design 15 2013
Organization theory and design 15 2013Organization theory and design 15 2013
Organization theory and design 15 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 14 2013
Organization theory and design 14 2013Organization theory and design 14 2013
Organization theory and design 14 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 13 2013
Organization theory and design 13 2013Organization theory and design 13 2013
Organization theory and design 13 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 12 2013
Organization theory and design 12 2013Organization theory and design 12 2013
Organization theory and design 12 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 11 2013
Organization theory and design 11 2013Organization theory and design 11 2013
Organization theory and design 11 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 10 2013
Organization theory and design 10 2013Organization theory and design 10 2013
Organization theory and design 10 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 09 2013
Organization theory and design 09 2013Organization theory and design 09 2013
Organization theory and design 09 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 08 2013
Organization theory and design  08 2013Organization theory and design  08 2013
Organization theory and design 08 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 06 2013
Organization theory and   design  06 2013Organization theory and   design  06 2013
Organization theory and design 06 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 05 2013
Organization theory and   design  05 2013Organization theory and   design  05 2013
Organization theory and design 05 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 04 2013
Organization theory and design  04 2013Organization theory and design  04 2013
Organization theory and design 04 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 03 2013
Organization theory and design   03 2013Organization theory and design   03 2013
Organization theory and design 03 2013Wai Chamornmarn
 
Organization theory and design 02 2013
Organization theory and design  02 2013Organization theory and design  02 2013
Organization theory and design 02 2013Wai Chamornmarn
 
organization theory and design 01 2013
organization theory and design 01 2013organization theory and design 01 2013
organization theory and design 01 2013Wai Chamornmarn
 
12 Innovation Strategy 2013
12 Innovation Strategy  2013 12 Innovation Strategy  2013
12 Innovation Strategy 2013 Wai Chamornmarn
 
08 Dynamic Capability 2013
08 Dynamic Capability 201308 Dynamic Capability 2013
08 Dynamic Capability 2013Wai Chamornmarn
 
07 Business Model Innovation 2013
07 Business Model Innovation 201307 Business Model Innovation 2013
07 Business Model Innovation 2013Wai Chamornmarn
 
05 Value and Value Net Analysis 2013
05 Value and Value Net Analysis 2013 05 Value and Value Net Analysis 2013
05 Value and Value Net Analysis 2013 Wai Chamornmarn
 
04 Stakeholder & Business Ecosystem Analysis 2013
04 Stakeholder & Business Ecosystem Analysis 201304 Stakeholder & Business Ecosystem Analysis 2013
04 Stakeholder & Business Ecosystem Analysis 2013Wai Chamornmarn
 
03 Strategic Management 2013
03 Strategic Management 201303 Strategic Management 2013
03 Strategic Management 2013Wai Chamornmarn
 

Plus de Wai Chamornmarn (20)

Organization theory and design 15 2013
Organization theory and design 15 2013Organization theory and design 15 2013
Organization theory and design 15 2013
 
Organization theory and design 14 2013
Organization theory and design 14 2013Organization theory and design 14 2013
Organization theory and design 14 2013
 
Organization theory and design 13 2013
Organization theory and design 13 2013Organization theory and design 13 2013
Organization theory and design 13 2013
 
Organization theory and design 12 2013
Organization theory and design 12 2013Organization theory and design 12 2013
Organization theory and design 12 2013
 
Organization theory and design 11 2013
Organization theory and design 11 2013Organization theory and design 11 2013
Organization theory and design 11 2013
 
Organization theory and design 10 2013
Organization theory and design 10 2013Organization theory and design 10 2013
Organization theory and design 10 2013
 
Organization theory and design 09 2013
Organization theory and design 09 2013Organization theory and design 09 2013
Organization theory and design 09 2013
 
Organization theory and design 08 2013
Organization theory and design  08 2013Organization theory and design  08 2013
Organization theory and design 08 2013
 
Organization theory and design 06 2013
Organization theory and   design  06 2013Organization theory and   design  06 2013
Organization theory and design 06 2013
 
Organization theory and design 05 2013
Organization theory and   design  05 2013Organization theory and   design  05 2013
Organization theory and design 05 2013
 
Organization theory and design 04 2013
Organization theory and design  04 2013Organization theory and design  04 2013
Organization theory and design 04 2013
 
Organization theory and design 03 2013
Organization theory and design   03 2013Organization theory and design   03 2013
Organization theory and design 03 2013
 
Organization theory and design 02 2013
Organization theory and design  02 2013Organization theory and design  02 2013
Organization theory and design 02 2013
 
organization theory and design 01 2013
organization theory and design 01 2013organization theory and design 01 2013
organization theory and design 01 2013
 
12 Innovation Strategy 2013
12 Innovation Strategy  2013 12 Innovation Strategy  2013
12 Innovation Strategy 2013
 
08 Dynamic Capability 2013
08 Dynamic Capability 201308 Dynamic Capability 2013
08 Dynamic Capability 2013
 
07 Business Model Innovation 2013
07 Business Model Innovation 201307 Business Model Innovation 2013
07 Business Model Innovation 2013
 
05 Value and Value Net Analysis 2013
05 Value and Value Net Analysis 2013 05 Value and Value Net Analysis 2013
05 Value and Value Net Analysis 2013
 
04 Stakeholder & Business Ecosystem Analysis 2013
04 Stakeholder & Business Ecosystem Analysis 201304 Stakeholder & Business Ecosystem Analysis 2013
04 Stakeholder & Business Ecosystem Analysis 2013
 
03 Strategic Management 2013
03 Strategic Management 201303 Strategic Management 2013
03 Strategic Management 2013
 

Business ethics 2013 part2

  • 3. จริยศาสตร์สอนให้มนุษย์ 1)  รู้จักการดําเนินชีวิตทั้งในด้านสังคมและในด้านส่วนตัว มีทั้งการกระทําที่ดีและการกระทําที่ชั่ว การกระทําที่ถูกและการกระทําที่ผิดไม่ว่า กิจการใดๆ แม้จะประกอบอาชีพเดียวกัน เช่น ทนาย และแพทย์ 2)  ชีวิตในสังคมของเราควรจะเป็นชีวิตที่มีระเบียบ เราต้องมีหลักการในการดําเนินชีวิตรวมทั้งข้อปฏิบัติที่จะทําให้เรามีความเจริญ ก้าวหน้าในทางที่ดีงาม ตามความเป็นจริงแล้วจริยธรรมและศีลธรรมเป็นวิถีแห่งการ ครองชีวิตที่ดีที่สุด 3 Ethics @ UN 2013
  • 4. ประโยชน์ของการศึกษาจริยศาสตร์ (ต่อ) จริยศาสตร์สอนให้มนุษย์ : 3) ศีลธรรมและจริยธรรมไม่ใช่สิ่งสมมติสร้างขึ้นมาเล่นๆ ไม่ใช่เรื่องของอารมณ์ แต่มัน เป็นกฎแห่งความเป็นจริงของชีวิต ที่ชีวิตต้องการ ทําให้ชีวิตสมบูรณ์ จิตใจดีงาม คุณธรรมต่างๆ เป็นอาหารหล่อเลี้ยงจิตใจได้ฉันใด อาหารที่มีประโยชน์ก็เป็นเครื่อง หล่อเลี้ยงร่างกายให้เจริญเติบโตได้ฉันนั้น 4) ความประพฤติทางศีลธรรมและหลักจริยศาสตร์นั้น ทั้งในอดีตและปัจจุบันเป็นหลัก เพิ่มพูนสติปัญญา เพื่อพัฒนาเชื้อชาติ เพื่อความประพฤติที่ดีงาม เพื่อให้คนทําหน้าที่ อันถูกต้องเหมาะสม ให้มีมโนธรรมเพิ่มพูนบุญกุศลให้ชีวิตทั้งในชาตินี้และชาติหน้า 4 Ethics @ UN 2013
  • 5. จริยศาสตร์สอนให้มนุษย์ : 5)  จริยศาสตร์สอนให้เรารู้จักคุณค่าอันแท้จริงของชีวิต ว่าอะไร? คือคุณค่าที่เราควร รีบแสวงหา โดยไม่เสียเวลาเปล่า บุคคลที่ไม่ได้กําหนดคุณค่าแห่งชีวิตของตนไว้ให้ แน่นอนนั้น จะมีชีวิตอยู่อย่างสงบไม่ได้เลย และจะไม่พบความพึงพอใจในชีวิตอีก ด้วย เนื่องจากจริยศาสตร์ ศึกษาถึงคุณค่าแห่งชีวิตมนุษย์ พยายาม เร่งเร้าให้คนมีความรู้สึกอันดี ค้นหาคุณค่าอันแท้จริงแห่งชีวิต และช่วยเป็นแรง บันดาลใจให้มนุษย์พยายามแสวงหาสิ่งที่ดีที่สุด มีคุณค่าที่สุดในชีวิตของตน 5 Ethics @ UN 2013
  • 6. จริยศาสตร์สอนให้มนุษย์ : โดยสรุป เราอาจกล่าวได้ว่าที่ใดมีความประพฤติของมนุษย์และเจตนาของมนุษย์ที่ นั้นก็มีขอบเขตของจริยศาสตร์ด้วย จอห์น ดิวอี้ ได้กล่าวไว้ว่าบทสรุปที่สําคัญก็คือว่า ศีลธรรมต้องเข้าไปเกี่ยวข้องกับ กิจกรรมทั้งหมดเพราะว่า เมื่อศีลธรรมเข้าไปเกี่ยวข้องกับกิจกรรมเหล่านั้นแล้วความ แตกต่างระหว่างสิ่งที่ดีกว่าและเลวกว่าก็เกิดขึ้น 6 Ethics @ UN 2013
  • 9. The Ethics of Leadership Training Don’t pretend that everything is O.K. when it is not Ethics @ UN 2013
  • 10. 1)ผูน้าตน้แบบทีด(Exemplary.Leadership) ่ี •  •  ภาวะผู้นามีอทิธพิลอย่างสูงต่อองค์การและการสร้างจริยธรรมผู้นา จะต้องปฏบิ ัติตนอย่างมีศักด์ศิ รี และจริยธรรม เพ่ือเป็นแบบอย่างท่ดี ีแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาและเม่ือ ผู้นาในองค์การได้แนะนาผู้ใต้ บังคับบัญชาให้ปฏบิ ัติตนอย่างไรจาเป็นอย่างย่ิงท่ตี นเองจะต้องทา ในส่งิ ท่ตี นได้พูดอย่างเคร่งครัด PRINCIPLES OF EXEMPLARY LEADERSHIP Ethics @ UN 2013
  • 11. 2) การฝึกอบรมจริยธรรม (Ethical.Training) •  ก) แนวทางเชิงบังคับให้ปฏบิ ัติตาม (Compliance Model) •  เป็นเร่ือง การวางกฎระเบียบข้อกาหนด และแนวทางปฏบิ ัติต่างๆ ท่ถี ูกระบุว่า ถูกต้องเหมาะสม และนา มา กาหนดให้บุคคลท่วั ไปต้องประพฤติตาม เพ่ือแสดงถึงการมีจริยธรรม การพิจารณาว่าพฤติกรรม ใดมี จริยธรรมหรือไม่น้ัน จะยึดหลักกฎหมายเป็นพ้ืนฐาน ซ่ึงได้กาหนดแนวทางปฏบิ ัติต่างๆ ว่า ควรทา หรือ ไม่ควรทาอะไร ควรหลีกเล่ียงพฤติกรรมแบบใด มีการตรวจสอบให้ประพฤติปฏบิ ัติ ตามท่วี างไว้ และการ ลงโทษผู้กระทาผิด อันเป็นลักษณะเชิงลบให้ความสาคัญในการป้องกันการ ฉ้อฉล ทุจริตประพฤติมิชอบ Ethics @ UN 2013
  • 12. 2) การฝึกอบรมจริยธรรม (Ethical.Training) •  ข) แนวทางเชิงศักด์ิศรี(Integrity Model) •  เป็นเร่ืองของการเสริมสร้าง ขีดสมรรถนะทางคุณธรรม และพฤติกรรมอันเหมาะสมดีงามท่มี ุ่งพัฒนาทกั ษะความ สามารถของ บุคคลในการท่จี ะเข้าใจ หย่ังรู้ ตระหนักถึงวิธีการปฏบิ ัติเพ่ือสร้าง และนาพาตน เองส่กู ารเป็นผู้มี จริยธรรม บุคคลน้ันจะต้องมีความสามารถในการพิจารณาถึงเหตุและผลเพ่ือแสดงถึง พฤติกรรม ท่แี สดงถึงการมีจริยธรรม เช่น ความซ่ือสัตย์ การปฏบิ ัติต่อผู้อ่นื การฝึกอบรมรูปแบบน้ีมุ่ง เน้น ความพยายามท่จี ะจูงใจให้บุคลากรประพฤติตนสงู กว่ามาตรฐานปกติ มิใช่เป็นเพียงยึดกฎ ระเบียบ เป็นบรรทดัฐานเทา่น้ัน Ethics @ UN 2013
  • 13. 3) การประมวลจริยธรรม/จรรยาบรรณ และการปฏิญาณตน (Codes & Oaths) •  องค์การควรจัดทา หากต้องการท่จี ะส่งเสริมจริยธรรมในระยะยาว เช่น จัดทาประมวล จริยธรรม หรือ จรรยาบรรณ รวมท้งั การกาหนดเง่ือนไขและบทลงโทษเก่ียวกับการ กระทาอันเป็นปฏิปักษ์ต่อจริยธรรมเพ่ือส่ือสาร และจูงใจให้ข้าราชการประพฤติตนเองให้ สอดคล้องกับจริยธรรมขององค์การ การประมวลจริยธรรมน้ันจา เป็นจะต้องมีการกา หนดให้ เหมาะสมกับสภาพขององค์การและการเปล่ียนแปลง สาหรับการปฏญิ าณตน หมายถึง การ รวบรวมคากล่าวยืนยันแสดงความมุ่งม่ันว่าบุคคลน้ันจะทาอะไร มีความ ต้ังใจจะประพฤติตนในแนวทางใด Ethics @ UN 2013
  • 14. 4) การตรวจสอบจริยธรรม (Ethics Audits) •  อาจใช้แบบสารวจ และการสัมภาษณ์ เพ่ือตรวจสอบว่าในปัจจุบัน •  บุคลากรมีความเข้าใจด้านจริยธรรม หรือมีพฤติกรรมท่ีสอดคล้องกับจริยธรรมอยู่ใน ระดับใด •  แล้วจึงค่อยกาหนดรูปแบบ และองค์ประกอบของจริยธรรมท่อี งค์การต้องการ เพ่ือผลัก ดันส่กู าร เป็นองค์การท่มี ีศักด์ิศรี (Integrity Organization) Ethics @ UN 2013
  • 15. 5) การบริหารทรพั ยากรบุคคล ( Human Resources Management) •  เป็นเคร่ืองมืออีกชนิดหน่ึงท่สี ามารถนามาใช้ประโยชน์ในการเสริมสร้าง จริยธรรมใน องค์การ ได้แก่ การคัดเลือกบุคลากร การว่าจ้าง การพัฒนาบุคลากร การ •  ประเมินผลการปฏบิ ัติงานการเล่ือนตาแหน่งเป็นต้น Ethics @ UN 2013
  • 16. โครงสร้างปัจจัยพ้ืนฐานทางจริยธรรมของMenzel ท่มี า: OECD, 1996: 26 (อ้างถึงใน ปานจิต จินดากุล, 2549: 7) Ethics @ UN 2013
  • 17. How to Report Unethical Practices by Your Employer Ethics @ UN 2013
  • 18. How to Deal With Unethical Coworkers Ethics @ UN 2013
  • 19. How to Justify a Negative Credit Report to an Employer Ethics @ UN 2013
  • 21. ศีลธรรมไม่ใช่แนวทางการแก้ไข •  ในการแก้ไขปัญหาทุจริต ไม่ใช่แค่ “อมพระมาพูด”  ในเชิงสากล การใช้ศีลธรรมมาแก้ไขปัญหา ทุจริตไม่ได้           1. ขีดจํากัดของการรณรงค์ให้ทําดี           โดยทั่วไปมีการรณรงค์ให้ประชาชนยึดมั่นในศาสนา กิจกรรมรณรงค์อาจมากขึ้น แต่การเข้า ถึงศาสนากลับน้อยลง สิ่งที่น่าสังเกตประการหนึ่งก็คือ การยกศาสนาหรือความดีมานําเสนอนั้น คนที่ ได้ดีเพิ่มขึ้นอาจไม่ใช่คนฟังแต่เป็นคนพูด ที่อย่างน้อยก็ได้หน้า ได้ภาพลักษณ์ ยิ่งถ้าพูดหรือสรรหา คําคมได้ประทับใจเพียงใด ยิ่งได้ผลเพียงนั้น ในวงการศาสนา ทุกท่านก็คงเคยได้ยินว่าพระรูปใดที่มี น้ําเสียงการเทศน์ที่ไพเราะก็มักเป็นที่นิยมของญาติโยม การนี้แสดงว่าเรายังยึดติดอยู่ในเปลือกหรือ รูปแบบมากกว่าแก่นหรือสาระ           การอธิบายเรื่องการทําดีนั้น แทนที่จะเอาความเชื่อทางศาสนามาอ้างอิง เราควรอธิบายโดย อาศัยความเป็นจริง เช่น ความซื่อสัตย์ต่อ ลูกค้านั้นไม่ใช่การทําดีตามที่บัญญัติในหลักศาสนาหรือ เพราะกลัวตกนรก แต่ต้องทําในภาคบังคับตามกฎหมาย คือหากไม่ซื่อสัตย์ ฉ้อโกงลูกค้า ก็อาจถูก ลูกค้าฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายได้ ทําให้เสียชื่อเสียง ความเชื่อถือหมดไป การทํางานอย่างซื่อสัตย์จึง ทําให้ธุรกิจยั่งยืน ลูกค้าต้อนรับและเติบโตต่อไปด้วยบริการหรือสินค้าที่มีคุณภาพสมราคา การ อธิบายเช่นนี้จะเข้าใจได้ง่ายและชัดเจนโดยไม่ต้องอาศัยบทบัญญัติของศาสนาใดมากล่าวอ้าง Ethics @ UN 2013
  • 22. ศีลธรรมไม่ใช่แนวทางการแก้ไข •  1. ขีดจํากัดของการรณรงค์ให้ทําดี           โดยทั่วไปมีการรณรงค์ให้ประชาชนยึดมั่นในศาสนา กิจกรรมรณรงค์อาจมากขึ้น แต่การเข้าถึงศาสนากลับน้อยลง สิ่งที่น่าสังเกตประการหนึ่งก็คือ การยกศาสนาหรือ ความดีมานําเสนอนั้น คนที่ได้ดีเพิ่มขึ้นอาจไม่ใช่คนฟังแต่เป็นคนพูด ที่อย่างน้อยก็ได้ หน้า ได้ภาพลักษณ์ ยิ่งถ้าพูดหรือสรรหาคําคมได้ประทับใจเพียงใด ยิ่งได้ผลเพียงนั้น ใน วงการศาสนา ทุกท่านก็คงเคยได้ยินว่าพระรูปใดที่มีน้ําเสียงการเทศน์ที่ไพเราะก็มักเป็น ที่นิยมของญาติโยม การนี้แสดงว่าเรายังยึดติดอยู่ในเปลือกหรือรูปแบบมากกว่าแก่น หรือสาระ           การอธิบายเรื่องการทําดีนั้น แทนที่จะเอาความเชื่อทางศาสนามาอ้างอิง เราควร อธิบายโดยอาศัยความเป็นจริง เช่น ความซื่อสัตย์ต่อ ลูกค้านั้นไม่ใช่การทําดีตามที่ บัญญัติในหลักศาสนาหรือเพราะกลัวตกนรก แต่ต้องทําในภาคบังคับตามกฎหมาย คือ หากไม่ซื่อสัตย์ ฉ้อโกงลูกค้า ก็อาจถูกลูกค้าฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายได้ ทําให้เสียชื่อ เสียง ความเชื่อถือหมดไป การทํางานอย่างซื่อสัตย์จึงทําให้ธุรกิจยั่งยืน ลูกค้าต้อนรับ และเติบโตต่อไปด้วยบริการหรือสินค้าที่มีคุณภาพสมราคา การอธิบายเช่นนี้จะเข้าใจได้ ง่ายและชัดเจนโดยไม่ต้องอาศัยบทบัญญัติของศาสนาใดมากล่าวอ้าง Ethics @ UN 2013
  • 23. ศีลธรรมไม่ใช่แนวทางการแก้ไข •  2. ไม่ควรอ้างความดีโดด ๆ           การพร่ําพูดว่าเราควรทําดี (เพิ่มขึ้น) นั้นอาจไม่เกิดประโยชน์นัก  เพราะคนดีก็ ทําดีอยู่แล้ว  แต่ปัญหาทุกวันนี้ไม่ใช่อยู่ที่ทําดีน้อยไปแต่อยู่ที่การละเมิดกฎหมายกัน อย่างแพร่หลาย โดยเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องกลับเอาเอาหูไปนาตาไปไร่ต่างหาก เราจึงควร รณรงค์ป้องกันไม่ให้ทําผิดกฎหมาย ส่วนช่องโหว่ของกฎหมายที่มีบางคนเล็ดลอดได้ ประโยชน์เป็นเพียงส่วนน้อยนิดซึ่งต้องหาทางอุดหรือปรับปรุงเป็นระยะ ๆ โปรดสังวร ว่าการรณรงค์ให้ทําความดีบางครั้งอาจเป็นไปเพื่อซ่อนเร้นการทําชั่วจนเข้าทํานองอ้าง ว่ามีคุณธรรมแต่ละเมิดกฎหมาย           ยิ่งกว่านั้น เราควรรณรงค์ให้ประชาชนรู้จักปกป้องและหวงแหนสิทธิของตนเอง ตามกฎหมายและไม่เฉยชาต่อการกระทําผิดกฎหมายของผู้อื่นที่ส่งผลต่อตนเอง ชุมชน และสังคม การเพิกเฉยหรือละเลยต่อหน้าที่ยังถือเป็นอาชญากรรมอย่างหนึ่งด้วย และยัง เป็นการเอื้อประโยชน์ต่อผู้หาผลประโยชน์โดยมิชอบและไม่ตระหนักว่าค่าใช้จ่ายในการ แก้ปัญหามากกว่าการป้องกันหลายเท่า โดยเฉพาะอย่างยิ่งคือ ชีวิตมนุษย์ซึ่งสร้างคน ใหม่มาทดแทนคนเก่าไม่ได้ รัฐบาลที่เพิกเฉยเช่นนี้เท่ากับเป็นรัฐบาลที่อยู่ข้างอาชญากร หรือเป็นหัวหน้าอาชญากรเสียเอง Ethics @ UN 2013
  • 24. ศีลธรรมไม่ใช่แนวทางการแก้ไข •  3. ระวังคนทําดีแต่เป็นอาชญากร           บางคนดูคล้ายมีคุณธรรม แต่มักละเมิดกฎหมาย! มีคนทําดีมากมายแต่ประกอบ อาชญากรรมอยู่เป็นนิจ บริษัทพัฒนาที่ดินบางแห่งอาจดูประสบความสําเร็จ ทําบุญทํา กุศลมากมาย เจ้าของก็ดูมีชื่อเสียง ไม่เคยถูกสื่อมวลชนติติง แต่กลับ “รีดเลือดกับปู” ต่อ ผู้รับเหมา ทําผิดสัญญาก่อสร้างล่าช้าเกินทน หรือส่งมอบบ้านที่ไม่มีคุณภาพ ก่อสร้าง แบบสุกเอาเผากินให้ลูกค้า           อีกกรณีหนึ่งสถาบันการเงินบางแห่งอาจเป็นผู้อุปถัมภ์งานมรดกของชาติที่ยิ่ง ใหญ่หรือทําสาธารณประโยชน์มากมาย แต่ภายในสถาบันการเงินนั้นกลับขาดธรรมภิ บาล ไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ผู้บริหารโกงสถาบันการเงินของตัวเอง พนักงานเรียกเก็บ เงินใต้โต๊ะกับผู้มาขอกู้ ผู้บริหารให้สินเชื่อเครือญาติโดยไม่มีหลักประกันจนกลายเป็นหนี้ ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ สุดท้ายสถาบันการเงินแห่งนั้นก็ล้มไป Ethics @ UN 2013
  • 25. ศีลธรรมไม่ใช่แนวทางการแก้ไข •  4. ระวังทําดีเพื่อปกปิดคนผิดและความผิด           การทําดีแบบแอบแฝงและไร้ประสิทธิผล นอกจากจะได้ดีเฉพาะคนทําดีแล้ว บ่อยครั้งยังเป็นการช่วยปกปิดความชั่วของคนชั่วที่ซ่อนตัวอยู่ภายใต้เสื้อคลุมของคนดี เช่น เรารณรงค์ปลูกป่ากันใหญ่ แต่ไม่เคยใส่ใจว่า เราจะรณรงค์กันปราบปรามการ ลักลอบตัดไม้ทําลายป่ากันอย่างไร ท่านทราบหรือไม่ในปี 2504 มีพื้นที่ป่าไม้อยู่ 273,629 ตร.กม. (53% ของพื้นที่ประเทศไทย) แต่ ณ ปี 2547 เหลืออยู่เพียง 167,591 ตร.กม. (33% ของพื้นที่ประเทศไทย) {6} หรือหายไปเท่ากับ 68 เท่าของ พื้นที่กรุงเทพมหานคร หรือเท่ากับเราสูญเสียพื้นที่ภาคใต้และภาคตะวันออกรวม Ethics @ UN 2013
  • 27. แนวทางการแก้ไข            •  แนวทางการแก้ไขปัญหาทุจริตของวิสาหกิจเอกชนนั้น สามารถพิจารณาได้ในหลายมิติ อย่างไรก็ตามพึงเริ่มต้นที่ผู้บริหารเป็นอันดับแรก และตามด้วยการปฏิบัติตามกฎหมาย โดยเคร่งครัด รวมทั้งการตรวจสอบที่เข้มงวด •  1. เริ่มต้นที่ผู้บริหาร           ผมเคยอ่านหนังสือประวัติของพระพุทธเจ้า ซึ่งแปลโดย ท่าน สว.รสนา โตสิตระ กูลและสามี ว่า ในสมัยพุทธกาล ในราชสํานักของพระเจ้าสุทโธทนะก็มีปัญหาขุนนาง ทุจริต แต่ก็แก้ไขอะไรไม่ได้มากเพราะพวกขุนนางทุจริตเหล่านี้ค้ําจุนบัลลังก์อยู่  ขุนนาง เหล่านี้ต่างก็ขับเคี่ยวกันเพื่อมุ่งปกป้องและสร้างฐานอํานาจของตนเอง ไม่ใช่มุ่งขจัด ความทุกข์ยากให้ผู้ยากไร้  พระพุทธเจ้าได้เห็นความเป็นจริงข้อนี้จึงไม่คิดที่จะเป็น กษัตริย์ {7}           การที่จะแก้ปัญหาทุจริตได้ จึงจําเป็นต้องเริ่มต้นที่ผู้บริหารก่อน หากผู้บริหารมี ความตั้งใจ (Strong Commitment) ที่จะแก้ไข  ปัญหาก็อาจได้รับการแก้ไขให้ลุล่วง ไป Ethics @ UN 2013
  • 28. แนวทางการแก้ไข            •  2. เน้นที่การปฏิบัติตามกฎหมาย           การที่จะแก้ปัญหาทุจริตได้ เราต้องบังคับใช้ Hard Laws หรือให้ประเทศมีลักษณะนิติรัฐโดยเคร่งครัด  อย่างไรก็ตามกฎหมายต่าง ๆ อาจมีช่องโหว่บ้าง เราก็ควรแก้ไขกฎหมายให้ทันสมัยอยู่เป็นระยะ ๆ หากไม่แก้ไขข้อ กฎหมาย ก็เท่ากับส่งเสริมการทําผิดกฎหมาย เปิดช่องโหว่อยู่ร่ําไป เช่น ในวงการประเมินค่าทรัพย์สิน มีการจัดสอบ และจัดการศึกษาให้บริษัทประเมินอย่างจริงจัง ซึ่งเป็นการทําได้ดีในระดับหนึ่ง แต่ช่องโหว่ที่ไม่ได้แก้ก็คือ การปล่อยให้ บริษัทมหาชนว่าจ้างบริษัทประเมินกันเอง ซึ่งย่อมมีโอกาสประเมินตามใจชอบ อันอาจทําให้ประชาชนผู้ถือหุ้นเสีย ประโยชน์ได้ นี่จึงเป็นตัวอย่างที่ชัดเจนว่าหากเรา “ปลื้ม” กับการทําดีในระดับหนึ่ง (จัดสอบและจัดการศึกษา) แต่ละ เลยสาระสําคัญคือ การอุดช่องโหว่ ก็เท่ากับเราเปิดโอกาสให้เกิดการฉ้อฉล           เราจะหวังให้กฎหมายสมบูรณ์แบบ ไร้ช่องโหว่คงไม่ได้ บางคนอาจอาศัยช่องโหว่ของกฎหมายเพื่อหาผล ประโยชน์ใส่ตัวบ้าง แต่กรณีนี้ก็เกิดขึ้นได้น้อยมาก และคงต้อง “ยกประโยชน์ให้จําเลย” ไป เพราะกฎหมายไม่ได้ กําหนดไว้ จึงไม่ถือเป็นความผิด และกฎหมายทั้งหลายก็มักไม่มีผลย้อนหลัง อย่างไรก็ตามปัญหาส่วนมากที่เกิดขึ้นก็ คือ การที่ผู้รักษากฎหมายร่วมมือตีความกฎหมายอย่างบิดเบี้ยวเพื่อฉ้อฉลมากกว่า เช่น การสร้างอาคารพาณิชย์ใน พื้นที่ต้องห้ามบางบริเวณตามผังเมือง ด้วยการหลีกเลี่ยงไปสร้างเป็นบ้านเดี่ยวที่ดูคล้ายอาคารพาณิชย์โดยแต่ละหลัง ห่างกันแค่คืบเดียว กรณีเช่นนี้ถือว่าผิดกฎหมายชัดเจน แต่ผู้รักษากฎหมายคงตีความส่งเดช หรือ “เอาหูไปนา เอาตา ไปไร่” มากกว่า           ข้อพึงสังวรประการสําคัญก็คือเราจะให้ใครมาละเมิดกฎหมายที่มีอยู่ไม่ได้ หาไม่ก็จะเป็นการยอมรับ อาชญากรรม ดังนั้น เราจึงต้องเริ่มต้นที่การทําให้ถูกต้องตามตัวบทกฎหมายที่มีอยู่ก่อนเพื่อยึดถือปฏิบัติตามกติกาที่ ชอบธรรมฉบับเดียวกัน ผู้ไม่ยึดถือกฎหมาย ไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ย่อมไม่มีคุณธรรมหรือจริยธรรม เพราะการละเมิด กฎหมายเป็นการล่วงเกินหรือเอาเปรียบบุคคลอื่น เป็นการสร้างความเดือดร้อนให้สังคมโดยรวม Ethics @ UN 2013
  • 29. แนวทางการแก้ไข •  3. พัฒนาระบบตรวจสอบที่เข้มแข็ง           ลําพังการมีกฎหมาย (Hard Law) ที่ทันสมัย มีบทลงโทษที่เข้มงวดโดยไม่เลือกปฏิบัติ และ การมีจรรยาบรรณ (Soft Law) ที่ชัดเจนในแต่ละวิชาชีพเพื่อประโยชน์ของผู้บริโภค ยังไม่เพียงพอที่ จะป้องกันหรือแก้ไขปัญหาทุจริต ยังมีความจําเป็นที่จะต้องพัฒนาระบบตรวจสอบที่เข้มแข็ง เข็มงวด ต่อเนื่อง ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความโปร่งใสอย่างแท้จริง การตรวจสอบที่มีประสิทธิภาพนั้น นอกจากจะ เป็นการป้องปรามในลักษณะ “เขียนเสือให้วัวกลัว” แล้ว ยังเป็นกิจกรรมที่ควรดําเนินการต่อเนื่องเพื่อ ประกันระบบคุณภาพให้เข้าที่และอยู่กับร่องกับรอยอย่างสม่ําเสมอ           ระบบตรวจสอบสามารถดําเนินการได้ 2 รูปแบบคือ •  การตรวจสอบภายใน โดยใช้พนักงานหรือเจ้าหน้าที่ในวิสาหกิจเองเป็นผู้ดําเนินการ โดยผู้ตรวจสอบ ต้องมีความเป็นอิสระ และขึ้นอยู่กับผู้บริหารสูงสุดในวิสาหกิจ การใช้ผู้ตรวจสอบภายในซึ่งคุ้นเคยกับ วิสาหกิจของตนเอง จะช่วยให้สามารถค้นพบข้อผิดพลาดหรือกรณีทุจริตต่าง ๆ ได้อย่างรวดเร็ว •  การตรวจสอบภายนอก ทั้งนี้ใช้ในกรณีที่การตรวจสอบภายในอาจมีข้อบกพร่อง หรือใช้ในกรณีการ ตรวจสอบการตรวจสอบภายใน รวมถึงการเพิ่มมุมมองใหม่ ๆ จากภายนอกเพื่อให้ปัญหาทุจริต สามารถได้รับการแก้ไขอย่างมีประสิทธิภาพ ในกรณีนี้จึงอาจว่าจ้างผู้ตรวจสอบจากภายนอก เพื่อให้ มุมมองที่แตกต่างออกไป Ethics @ UN 2013
  • 30. Ethics @ UN 2013
  • 32. Ethics @ UN 2013
  • 33. Ethics @ UN 2013
  • 34. Ethics @ UN 2013
  • 35. Ethics @ UN 2013
  • 39. Ethics @ UN 2013
  • 40. Ethics @ UN 2013
  • 41. Ethics @ UN 2013
  • 43. Ethics @ UN 2013
  • 44. ธิ กี ารประเมนิ แบบบตั รคะแนนทส่ี มดลุ กนั ซงึ่ เรา เรยี กวา่ แผนงานทง้ั 5 (Steering Wheel) ซงึ่ แบง่ ออกเปน็ 5 แผนงานคอื ชมุ ชน การ ดา� เนนิ งาน บคุ ลากร การเงนิ และลกู คา้ Ethics @ UN 2013
  • 45. การบรหิ ารความ รบั ผดิ ชอบของเรา Ethics @ UN 2013
  • 46. Ethics @ UN 2013
  • 48. Ethics @ UN 2013
  • 49.
  • 50.
  • 51.
  • 52.
  • 53.
  • 54.
  • 55.
  • 56.
  • 57.
  • 58.
  • 59.
  • 60.
  • 61.
  • 62.
  • 63.
  • 64. Ethics @ UN 2013
  • 65. Ethics @ UN 2013
  • 66. Ethics @ UN 2013
  • 68. Ethics @ UN 2013
  • 69. Ethics @ UN 2013
  • 71.
  • 72.
  • 73.
  • 74.
  • 75.
  • 76.
  • 77.
  • 78.
  • 79.
  • 80.
  • 81.
  • 82.
  • 83.
  • 84. Ethics @ UN 2013
  • 86. การยืมมือกฎหมายบังคับให้ “พลเมือง” เป็น “คนดี •  มีประกาศสํานักนายกรัฐมนตรีเรื่อง กําหนดวันห้ามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๒ ตามประกาศนี้ห้ามขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในวันพระใหญ่ 4 วัน ได้แก่ วันมาฆบูชา วัน วิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชาและวันเข้าพรรษา โดยมีข้อยกเว้นกรณีการขายในโรงแรมตามกฎหมาย ว่าด้วยโรงแรม เพื่อเป็นการส่งเสริมนโยบายการท่องเที่ยวในประเทศไทยและกระตุ้นเศรษฐกิจของ ภาคอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว แต่ประกาศนี้ก็แฝงคําถามที่ชวนสงสัยดังนี้ •  กฎหมายนี้มีข้อยกเว้นคือให้ขายได้ในโรงแรมโดยให้เหตุผลว่าต้องการกระตุ้นเศรษฐกิจด้านการท่อง เที่ยวซึ่งดูเหมือนว่ารัฐให้คุณค่า “ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ” มากกว่า “ความเป็นพุทธศาสนิกชนที่ดี” ใช่ หรือไม่ •  การยืมมือกฎหมายบังคับให้ “พลเมือง” เป็น “คนดี”นั่นเอง แต่คําถามมีว่า การบังคับใช้กฎหมาย แบบนี้บรรลุวัตถุประสงค์หรือไม่ แน่นอน กฎหมายย่อมมีพื้นฐานมาจากศีลธรรมและแยกออกจากศีล ธรรมไม่ได้ แต่กฎหมายไม่สามารถบังคับให้เป็นคนดี หรือพุทธศาสนาสนิกชนที่ดีได้ ศีลธรรมหรือ คุณธรรมเป็นเรื่องของการปลูกฝังอบรมมาตั้งแต่ครอบครัวและในโรงเรียนมายาวนาน อย่างที่ Immanuel Kant อธิบาย เจตจํานงเสรี (Free will) เป็นรากฐานของศีลธรรมโดยที่ไม่มีปัจจัย ภายนอก (ทั้งเชิงบวกและเชิงลบ) เข้ามามีอิทธิพลต่อการตัดสินใจของบุคคลนั้น Ethics @ UN 2013
  • 87. “ใช่หรือไม่ว่า มาตรฐานทางศีลธรรมและจริยธรรมของสังคมไทยได้ เปลี่ยนแปลงไปแล้ว?” •  “ย้อนกลับไปในปี 2535 หลังจากพลเอกสุจินดา คราประยูร สั่งฆ่าคนแล้ว จะมีเสียงสะท้อนจากสังคม (public opinion) ที่ชัดว่าการฆ่าคนทําไม่ได้ •  การสลายการชุมนุม นปช. เมื่อวันที่ 10 เม.ย. ที่ผ่านมา ซึ่งทําให้มีผู้ชุมนุมเสียชีวิตไม่น้อยกว่า 20 คน บาดเจ็บกว่า 800 คน ทําให้รัฐบาลอภิสิทธิ์สูญเสียความชอบธรรมทางการเมืองในทันที ทว่าหลัง เหตุการณ์ผ่านไปเพียง 2-3 วัน รัฐบาลได้พลิกเกมกลับมาเป็นฝ่ายรุก ด้วยข้ออ้างว่า การตายและ บาดเจ็บของทั้งฝ่ายทหารและผู้ชุมนุมเกิดจากการกระทําของผู้ก่อการร้ายที่แต่งกายด้วยชุดดํา ต่อ มารัฐบาลอ้างว่า ชายชุดดําแฝงและคนเสื้อแดงเป็นพวกเดียวกัน •  เมื่อมีความพยายามของรัฐบาลที่จะเบี่ยงประเด็นข้อโต้แย้งใหม่ “ตอนนี้เป็นการ shift debate ตกลง ใครยิงไม่รู้ ทั้งที่แทบจะไม่มีข้อสงสัย ทหารยิงผู้ชุมนุมมันไม่รู้จะชัดยังไงแล้ว แต่กลายเป็นการตั้งวาระ ขึ้นมาใหม่ว่า อาจจะเป็นพวกเดียวกันยิงเสื้อแดง หรือคนชุดดํายิงเสื้อแดง ก็นับว่าเป็นความเก่งมาก ของฝ่ายรัฐบาลและทหารที่เบี่ยงวาระการถกเถียงไปเพื่อ minimize อาชญากรรมครั้งนี้ให้เหลือน้อย ที่สุด เป็นไปตามศัพท์คําว่า blaming the victim คือทําให้เหยื่อกลายเป็นผู้ถูกกล่าวหา เหมือนกับ คนทําผิดใส่ร้ายคนถูกทําร้าย Ethics @ UN 2013
  • 88. การบริจาคอวัยวะ การค้าหรือมนุษยธรรม •  ปัจจุบันการช่วยเหลือผู้ป่วยที่อวัยวะเสื่อมโดยผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะเป็นที่แพร่หลาย มีผู้ ใจบุญบริจาคอวัยวะหลังเสียชีวิต เพื่อต่อชีวิตผู้อื่น ในอดีตท่านคงทราบกันดีว่าเคยมีคดี เกี่ยวกับการค้าอวัยวะ เพื่อผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะ ซึ่งนําไปสู่คดีฟ้องร้อง และมีการลงโทษ โดยการเพิกถอนใบประกอบโรคศิลป์และยึดใบประกอบโรคศิลป์ชั่วคราว3เดือน กับ กลุ่มแพทย์รพ.เอกชนแห่งหนึ่ง เป็นข่าวครึกโครมจนรพ.เอกชนต้องเปลี่ยนชื่อรพ.และ กลายเป็นเครือข่ายของรพ.เอกชนอีกแห่งหนึ่ง หลายท่านคงจํากันได้ดี และไม่ควรลืม เหตุการณ์ดังกล่าว •  ท่านคิดว่าจะทําเช่นใดเพื่อมิให้เกิดเหตุการณ์ดังกล่าว และหากท่านเป็นแพทย์ที่ร่วมใน การดูแลผู้ป่วยผ่าตัดเปลี่ยนอวัยวะท่านจะทําเช่นใด •  •  ท่านจะเลือกเป็นเทวดาที่ผู้ป่วยยกมือไหว้ หรือจะเป็นปิศาจที่ชาวบ้านสาปแช่งฟ้องร้อง ขึ้นอยู่กับตัวท่านเอง Ethics @ UN 2013
  • 89. ส.ส.ณัฏฐ์ย้ําพร้อมถูกกก.จริยธรรมสอบกรณีดูรูปหวิว •  ณัฏฐ์” ลั่นพร้อมชี้แจง กมธ.กิจการสภาฯ กรณีใช้สมาร์ทโฟนดูภาพโป๊ในที่ประชุมฯ ยืนยันช่วงรูปโป๊หลุดกลางจอใหญ่ ไม่ได้อยู่ในห้องประชุม เผยได้แจ้งพ่อ- ผู้ใหญ่ในพรรค แล้ว แนะให้ระวังอย่าผิดพลาด ย้ําชัดพร้อมรับการถูกตรวจสอบจากกก.จริยธรรม... เมื่อวันที่ 21 เม.ย.2555 นายณัฏฐ์ บรรทัดฐาน ส.ส.กทม. พรรคประชาธิปัตย์ กล่าวถึง กรณีที่นายไพจิต ศรีวรขาน ส.ส. นครพนม พรรคเพื่อไทย ในฐานะประธานคณะ กรรมาธิการกิจการสภาฯ ระบุจะขอเชิญมาชี้แจงต่อ กมธ.ในวันที่ 26 เม.ย.นี้ในกรณีดู คลิปรูปโป๊ในห้องประชุมรัฐสภา โดยระบุว่า ได้ให้เจ้าหน้าที่ฝ่ายไอซีทีทั้งของสภา ของ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ไอซีท) และกรมสอบสวนคดีพิเศษ (ดี ี เอสไอ) ตรวจสอบแล้วว่า อาจเป็นการส่งสัญญาณออนไลน์ผ่านระบบไวไฟ จากโทรศัพท์ มือถือไปปรากฏบนจอภาพใน กลางห้องประชุมว่า ตนพร้อมที่จะไปให้ถ้อนคําเพื่อพิสูจน์ ทราบข้อเท็จจริงในข้อกล่าวหานี้ และไม่อยากตอบโต้รายวันเพื่อต่อความยาวสาวความ ยืด เพราะกรณีภาพโป๊ที่หลุดกลางจอโปรเจคเตอร์ในห้องประชุมร่วมรัฐสภากับกรณีที่ ตนเปิดดูรูปและข้อความต่างๆที่มีคนส่งเข้าเครื่องโทรศัพท์ของตนสามารถ พิสูจน์ข้อเท็จ จริงได้ Ethics @ UN 2013