SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  28
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยน
         แก๊สของคน

          ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์)
ทางเดินหายใจของคนประกอบด้วย
1. รูจมูก (Nostrill) เป็นทางผ่านเข้าของอากาศ
2. ช่องจมูกหรือโพรงจมูก (Nasal cavity) เป็นโพรงที่ถัดจากรู
จมูกเข้าไปซึ่งติดต่อกับคอหอย ที่โพรงจมูกจะมีขนเส้นเล็ก ๆ และ
ต่อมน้้ามันช่วยกรองและจับฝุ่นละอองไม่ให้ผ่านลงสูปอด
                                                  ่
นอกจากนี้ที่โพรงจมูกยังมีเยื่อบุจมูกหนาช่วยให้อากาศที่เข้ามามี
ความชุ่มชื้น
                                                ฉวีวรรณ นาคบุตร
3. คอหอย (Pharynx) เป็นบริเวณทีพบกันของช่องอากาศจากจมูก
                                         ่
ช่องอาหารจากปาก กล่องเสียงจากหลอดลมคอและช่องจากหูคือ
หลอดยูสเทเชียน(eustachian tube) อากาศเมื่อผ่านคอหอยจะเข้า
สู่กล่องเสียง ที่กล่องเสียงมีอวัยวะที่ท้าหน้าที่ปิดเปิดกล่องเสียง เรียก
เอพิกลอททิส(epiglottis) ป้องกันไม่ให้อาหารตกลงสู่หลอดลมคอ
4. หลอดลม (trachea) เป็นหลอดยาวตรง มีกระดูกอ่อนเรียง
เป็นรูปเกือกม้าติดอยู่ และการที่มีแผ่นกระดูกอ่อนจึงท้าให้หลอดลม
ไม่แฟบลง บริเวณส่วนต้นของหลอดลมเรียก หลอดลมคอ ส่วน
หลอดลม จะหมายถึงส่วนที่แตกแขนงออกจากหลอดลมคอ แบ่ง
ออกเป็น 2 กิ่ง เข้าสูปอดทั้งสองข้าง
                      ่
                                                       ฉวีวรรณ นาคบุตร
5.ขั้วปอด (Bronchus ) เป็นส่วนของหลอดลมที่แยกออกเป็น
กิ่ง ซ้ายและขวาเข้าสูปอด
                     ่
6.แขนงขั้วปอดหรือหลอดลมฝอย (Bronchiole) เป็นแขนงของ
ท่อลมที่แยกออกไปมากมายแทรกอยู่ทั่วไปในเนื้อปอด ซึ่งจะไป
สิ้นสุดที่ถุงลม (alveolus)
7.ถุงลมเล็ก ๆ ในปอด (alveolus ) ที่ผนังของถุงลมจะมีเส้น
เลือดฝอยล้อมรอบอยู่มากมาย จึงเป็นแหล่งในการแลกเปลี่ยนก๊าซ
ภายในปอดของคนมี อัลวิโอลัส (ถุงลมเล็ก ๆ )
               ประมาณ 300 ล้านถุง           ฉวีวรรณ นาคบุตร
ระบบแลกเปลียนแก๊สและอวัยวะที่เกี่ยวข้อง
           ่
        1. รูจมูก
        2. โพรงจมูก
        3. คอหอย
        4. กล่องเสียง
        5. หลอดลม
        6. ขั้วปอด
        7. กระบังลม
        8. กระดูกซี่โครง
        9. กล้ามเนื้อยึดซี่โครง
        X : อาหารเข้าปาก
        Y : อาหารลงหลอดอาหาร
        Z : ต้าแหน่งของหัวใจ
                                ฉวีวรรณ นาคบุตร
เมื่อนักเรียนสูดอากาศเข้าทางช่องจมูกแล้ว อากาศจะผ่านอวัยวะใดบ้าง

ช่องจมูก       โพรงจมูก       คอหอย          กล่องเสียง       ท่อลม
    หลอดลม          หลอดลมฝอย           ถุงลม
           ร่างกายมีวิธีการรักษาความชื้นของโครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยน
           แก๊สได้อย่างไร
           ปอดมีต้าแหน่งอยู่ภายในช่องอก และมีเยื่อหุ้มปอดที่ช่วยรักษา
           ความชื้นให้ปอดอยู่เสมอ
                                                            ฉวีวรรณ นาคบุตร
ปอดหมู   ฉวีวรรณ นาคบุตร
การเปลี่ยนแปลงเมื่อเป่าลมเข้าปอด
ระบบหายใจของคน




http://www.youtube.com/watch?v=8RbWBJg5zfo
อากาศที่ผ่านทางจมูกจะเข้าสู่หลอดลมใหญ่
และหลอดลมเล็กแยกเข้าสู่ขั้วปอดซ้ายขวา
โดยหลอดลมด้านขวาสั้นกว่าด้านซ้าย ท้า
ให้เชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอม
ตกลงไปหลอดลมด้านขวามากกว่า
ด้านซ้าย
ดังนั้นจึงพบว่าปอดด้านขวามักเกิดการติด
เชื้อมากกว่าปอดด้านซ้าย

                    ฉวีวรรณ นาคบุตร
ปอดอยู่ในช่องทรวงอก มีลักษณะยืดหยุ่น
                                   คล้ายฟองน้้า แบ่งเป็นปอดขวาและปอดซ้าย
                                   โดยปอดขวามี 3 กลีบ และปอดซ้ายมี 2
                                   กลีบแต่ละกลีบจะประกอบด้วยกลีบเล็กๆ
                                   หลายกลีบ
ปอดแต่ละข้างหุ้มด้วยเยื่อหุ้มบางๆ สองชั้น โดยเยื่อชั้นในยึดติดกับเนื้อปอดและ
เยื่อชั้นนอกยึดติดกับผนังทรวงอก ช่องว่างระหว่างเยื่อทั้งสองชั้นเรียกว่า ช่องเยื่อ
หุ้มปอด ซึ่งภายในมีของเหลวใสเคลือบอยู่ ประมาณ 2 – 5 ซีซี
ความดันอากาศในช่องเยื่อหุ้มปอดนี้จะเป็นต่้ากว่าบรรยากาศเสมอ ทั้งในขณะ
หายใจเข้าและหายใจออก
                                                             ฉวีวรรณ นาคบุตร
ปอดแต่ละกลีบประกอบด้วยปอดกลีบเล็กๆ หลายกลีบ
แต่ละกลีบเล็กๆ ประกอบด้วย แขนงของหลอดลมฝอย 1 อัน และถุงลม
หลายๆ อัน
บริเวณถุงลมจะมีหลอดเลือดฝอยกระจายอยู่ทั่วๆ ไป

                          หลอดเลือดฝอยเหล่านี้จะรับเลือดด้าจากหัวใจ
                          และเลือดด้าจะรับออกซิเจนจากถุงลม
                          เปลี่ยนเป็นเลือดแดง
                          เลือดแดงจะไหลออกจากปอดกลับเข้าสู่หัวใจ
                          และไปยังส่วนต่างๆ ของร่างกาย


                                                 ฉวีวรรณ นาคบุตร
ฉวีวรรณ นาคบุตร
กิจกรรมที่ 6.2 การจ้าลองการท้างานของกล้ามเนื้อกระบังลม
จุดประสงค์ เพื่อให้นักเรียนทดลองและอธิบายการท้างานของกล้ามเนื้อ
            กะบังลม ในขณะหายใจเข้า-ออก
อุปกรณ์ และวิธีการทดลอง ในแบบเรียน ชีววิทยา เล่ม 2 สสวท. หน้า 10-11




                                                    ฉวีวรรณ นาคบุตร
เมื่อใช้นิ้วหัวแม่มือปิดรูเล็กๆข้างหลอด แล้วดันลูกสูบไปด้านหน้า
จะสังเกตเห็นลูกโป่งหดตัวและแฟบ

                                                  ฉวีวรรณ นาคบุตร
เมื่อปล่อยนิ้วหัวแม่มือที่ปิดรูเล็กๆที่ข้างหลอดออก แล้วดึงลูกสูบให้
เลื่อนไปอยู่ด้านท้ายของหลอดจะเห็นลูกโป่งยืดตัวและพองออก


                                                       ฉวีวรรณ นาคบุตร
ผลการทดลอง


    ขณะที่ปิดรูเล็กๆ ที่หลอดฉีดยาพลาสติก เมื่อเลื่อนลูกสูบไป
ทางด้านหน้าปริมาตรอากาศในหลอดจะลดลง ความดันอากาศ
ในลูกโป่ง จะเพิ่มขึ้น ดันให้อากาศภายในลูกโป่งออกจากลูกโป่ง
ท้าให้ลูกโป่งหดตัว ดังภาพ ก.
     แต่เมื่อดึงลูกสูบกลับที่เดิม อากาศภายในหลอดจะมีปริมาตร
เพิ่มขึ้น ความดันอากาศภายในหลอดลดลง อากาศภายนอกมี
ความดันสูงกว่า จะไหลเข้าไปในลูกโป่ง ท้าให้ลูกโป่งขยายขนาด
            เพิ่มขึ้น ดังภาพ ข.
                                                ฉวีวรรณ นาคบุตร
นักเรียนจะน้าผลการทดลองนี้ไปอธิบายการหายใจเข้า-ออก ของ
  ร่างกายได้ว่าอย่างไร


     ถ้ากล้ามเนื้อกะบังลมคลายตัว กะบังลมจะโค้งมากขึ้น ท้าให้
ปริมาตรช่องอกลดลง ความดันในปอดเพิ่มขึ้น เกิดการหายใจออก

     ถ้ากล้ามเนื้อกะบังลมหดตัว กะบังลมจะแบนราบ ท้าให้
ปริมาตรช่องอกมากขึ้น ความดันในปอดลดลง เกิดการหายใจเข้า


                                               ฉวีวรรณ นาคบุตร
การเปลี่ยนแปลงปริมาตรของทรวงอกขณะหายใจเข้าและหายใจออก
                 ก. หายใจเข้า , ข .หายใจออก
ฉวีวรรณ นาคบุตร
การท้างานของกล้ามเนื้อยึดซี่โครง กะบังลม และการเปลี่ยนแปลง
      ปริมาตรของทรวงอกขณะหายใจเข้า และหายใจออก




 http://www.youtube.com/watch?v=43jJGXudePs&feature=related
สรุปการท้างานของกล้ามเนื้อระหว่างกระดูกซี่โครงแถบนอกและ
             กล้ามเนื้อกะบังลม ขณะหายใจเข้า-ออก

             กล้ามเนื้อ    กระดูก       กล้ามเนื้อ   ปริมาตร     ความดัน
             ระหว่างกระดูก ซี่โครง      กะบังลม      ช่องอก      อากาศ
             ซี่โครงแถบนอก                                       ภายในปอด
ขณะหายใจเข้า หดตัว         ยกตัวสูงขึ้น หดตัว        เพิ่มขึ้น   ลดลง

ขณะหายใจออก คลายตัว          เคลื่อนลง   คลายตัว     ลดลง        เพิ่มขึ้น


                                                         ฉวีวรรณ นาคบุตร
กราฟแสดงปริมาตรของอากาศในปอดขณะหายใจเข้า-ออกปกติ
            และ ขณะหายใจเข้า-ออกเต็มที่




                                      ฉวีวรรณ นาคบุตร
ปริมาตรของปอดมีดังนี้

1. ปริมาตรอากาศหายใจเข้าออกต่อครั้ง (tidal volume : TV) คือ อากาศที่
   หายใจเข้าออกตามปกติธรรมดา คนปกติมีคาเฉลี่ยประมาณ 500 ลบ.ซม.
                                          ่
   (0.5 ลิตร)

2. ปริมาตรหายใจเข้าส้ารอง (inspiratory reserve volume : IRV) คือ
   ปริมาตรของอากาศที่หายใจเข้าเพิ่มจากการหายใจปกติจนเต็มที่ คนปกติมี
   ค่าเฉลี่ยประมาณ 2,500 ลบ.ซม.(2.5 ลิตร)

                                                     ฉวีวรรณ นาคบุตร
3. ปริมาตรหายใจออกส้ารอง (expiratory reserve volume : ERV) คือ
   ปริมาตรของอากาศที่หายใจออกได้อีกจนเต็มที่ ซึ่งเพิ่มจากการหายใจปกติ
คนปกติมีค่าเฉลี่ยประมาณ 1,500 ลบ.ซม.(1.5 ลิตร)

4. ปริมาณส่วนที่เหลือ (residual volume : RV) คือ
   คือปริมาตรที่เหลืออยู่ แก๊สอยู่ในปอดส่วนหนึ่ง และไม่สามารถวัดได้ด้วย
   สไปโรมิเตอร์(spirometer) คนปกติมค่าเฉลี่ยประมาณ 1,500 ลบ.ซม.
                                        ี
   (1.5 ลิตร)


                                                       ฉวีวรรณ นาคบุตร
ค้าถาม

   จากกราฟการหายใจเข้า-ออกปกติ 1 ครั้งจะมีปริมาตรของอากาศเท่าใด

   ตอบ       500 ลูกบาศก์เซนติเมตร

    นักเรียนสามารถหายใจเอาอากาศออกจากปอดจนหมดได้หรือไม่
    เพราะเหตุใด

   ตอบ       ไม่ได้ เพราะการท้างานของกล้ามเนื้อกะบังลมและ
            กล้ามเนื้อระหว่างกระดูกซี่โครงแถบนอกท้างานได้จ้ากัด
                                                   ฉวีวรรณ นาคบุตร
ปริมาตรของอากาศจากการบังคับให้มีการหายใจเข้าเต็มที่ กับการบังคับ
การหายใจออกเต็มที่ต่างกันหรือไม่ อย่างไร

 ตอบ       ต่างกัน ขณะที่มีการหายใจเข้าเต็มที่จะมีปริมาตรอากาศสูงสุด
          ที่ 6,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร ขณะที่หายใจออกเต็มที่จะมี
          ปริมาตรอากาศประมาณ 4,900 ลูกบาศก์เซนติเมตร และ
          ยังคงมีอากาศตกค้างในปอดประมาณ 1,100 ลูกบาศก์
          เซนติเมตร
 เมื่อหายใจออกปกติจะมีปริมาตรของอากาศที่ตกค้างในปอดเป็นเท่าไร

  ตอบ        1,100 ลูกบาศก์เซนติเมตร
                                                 ฉวีวรรณ นาคบุตร
The End

          ฉวีวรรณ นาคบุตร

Contenu connexe

Tendances

การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
Thanyamon Chat.
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
dnavaroj
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืช
dnavaroj
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
Thanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
website22556
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
Anana Anana
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
Jariya Jaiyot
 

Tendances (20)

ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาทศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
การลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืชการลำเลียงอาหารในพืช
การลำเลียงอาหารในพืช
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
1แบบทดสอบระบบนิเวศ (ตอนที่ 1)
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
ย่อยอาหาร
ย่อยอาหารย่อยอาหาร
ย่อยอาหาร
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำการแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
การแลกเปลี่ยนแก๊สและการคายน้ำ
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
4 กฎรวมแก๊ส กฎแก๊สอุดมคติ
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 

En vedette

3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
Wan Ngamwongwan
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1
Wan Ngamwongwan
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
Wan Ngamwongwan
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
Wan Ngamwongwan
 
ตุ๊กตาล้มลุกจริง
ตุ๊กตาล้มลุกจริงตุ๊กตาล้มลุกจริง
ตุ๊กตาล้มลุกจริง
Mim Kaewsiri
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลือง
Wan Ngamwongwan
 
ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3
ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3
ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3
krupornpana55
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
Wan Ngamwongwan
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
Wan Ngamwongwan
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
Wan Ngamwongwan
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรม
Wan Ngamwongwan
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
Wan Ngamwongwan
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
Wan Ngamwongwan
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
Wan Ngamwongwan
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
Wan Ngamwongwan
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
Wan Ngamwongwan
 

En vedette (20)

3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1
 
หัวใจคน
หัวใจคนหัวใจคน
หัวใจคน
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
Respiration m.5
Respiration m.5Respiration m.5
Respiration m.5
 
ตุ๊กตาล้มลุกจริง
ตุ๊กตาล้มลุกจริงตุ๊กตาล้มลุกจริง
ตุ๊กตาล้มลุกจริง
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลือง
 
ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3
ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3
ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
 
กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์กำเนิดสปีชีส์
กำเนิดสปีชีส์
 
สมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรมสมบัติของสารพันธุกรรม
สมบัติของสารพันธุกรรม
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
 
โครโมโซม
โครโมโซมโครโมโซม
โครโมโซม
 
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDnaพันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีทางDna
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 

Similaire à โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน

ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
Wan Ngamwongwan
 
ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)
joongka3332
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
Weerawan Ueng-aram
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Thanyalux Kanthong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Thanyalux Kanthong
 
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
Amporn Ponlana
 
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
Amporn Ponlana
 
บทที่ 2 การหายใจ
บทที่ 2 การหายใจบทที่ 2 การหายใจ
บทที่ 2 การหายใจ
202333
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจ
Krongdai Unhasuta
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Thanyalux Kanthong
 

Similaire à โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน (20)

ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
Pneumothorax
PneumothoraxPneumothorax
Pneumothorax
 
โครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษาโครงงานสุขศึกษา
โครงงานสุขศึกษา
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
 
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์บทที่ 4  การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
บทที่ 4 การแลกเปลี่ยนแก๊สในสัตว์
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 8
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
บทที่ 2 การหายใจ
บทที่ 2 การหายใจบทที่ 2 การหายใจ
บทที่ 2 การหายใจ
 
Airway (Thai)
Airway (Thai)Airway (Thai)
Airway (Thai)
 
การจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจการจัดการทางเดินหายใจ
การจัดการทางเดินหายใจ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Hyperbaric oxygen therapy
Hyperbaric oxygen therapyHyperbaric oxygen therapy
Hyperbaric oxygen therapy
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
9789740329831
97897403298319789740329831
9789740329831
 

Plus de Wan Ngamwongwan

ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
Wan Ngamwongwan
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
Wan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
Wan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
Wan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
Wan Ngamwongwan
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
Wan Ngamwongwan
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
Wan Ngamwongwan
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบ
Wan Ngamwongwan
 

Plus de Wan Ngamwongwan (20)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
 
โรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบโรคหลอดลมอักเสบ
โรคหลอดลมอักเสบ
 

โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน