SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  98
ประววัตัติิแแลละะกตติกิกาาวอลเเลลยย์์บอล 
จจััดททำาำาโโดดย นนาายสสาา 
โโรรจนน์์ พพะะลลาาด
ประวัติวอลเลย์บอลต่างประเทศ 
กีฬาวอลเลย์บอลเริ่มขึ้นเมื่อปี ๒๔๓๘ โดย 
นายวิลเลียม จี มอร์แกน (William G. Morgan) 
ผู้อำานวยการฝ่ายพลศึกษาของสมาคมY.M.C.A. 
(Young Men's Christian Association) 
เมืองฮอลโยค (Holyoke) มลรัฐแมสซาซูเซตส์ 
(Massachusetts) ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นผู้ 
คิดเกมการเล่นขึ้น เนื่องจากในฤดูหนาวหิมะ 
ตกลงมา ผู้คนทั่วไปไม่สามารถเล่นกีฬากลางแจ้ง 
ได้ เขาได้พยายาม คิดและดัดแปลง กิจกรรมต่าง 
ๆ เพื่อใช้เป็นกิจกรรมนันทนาการผ่อนคลาย 
ความตึงเครียดให้เหมาะสมกับฤดูกาล
ขณะที่เขาดูการแข่งขันเทนนิส เขาได้เกิด 
แนวความคิดที่จะนำาลักษณะและวิธกีาร เล่น 
ของกีฬาเทนนิสมาดัดแปลงใช้เล่น จึงใช้ตาข่าย 
เทนนิสซึ่งระหว่างเสาโรงยิมเนเซียม สูงจากพื้น 
ประมาณ ๖ ฟุต ๖ นิ้ว และใช้ยางในของลูก 
บาสเกตบอลสูบลมให้แน่น แล้วใช้มือและแขน 
ตีโต้ ข้ามตาข่ายกันไปมา แต่เนื่องจากยางใน 
ของลูกบาสเกตบอลเบาเกินไปทำาให้ลูกบอล 
เคลื่อนที่ช้าและทิศทางที่เคลื่อนไปไม่แน่นอน 
จึงเปลี่ยนมาใช้ลูกบาสเกตบอล แต่ลูก 
บาสเกตบอลใหญ่ หนักและแข็งเกินไปทำาให้มือ 
ของผู้เล่นได้รับบาดเจ็บ ในที่สุดเขาจึงให้ 
บริษัท A.G. Spalding and Brother
ปี พ.ศ ๒๔๓๙ มีการประชุมสัมมนาผนู้ำา 
ทางพลศึกษาที่วิทยาลัยสปริงฟิลด์ (Spring-field 
College) นายวิลเลียม จี มอร์แกน ได้ 
สาธิตวิธีการเล่นต่อหน้าที่ประชุมหลังจากที่ 
ประชุมได้ชมการสาธิต ศาสตราจารย์ อัลเฟรด ที 
เฮลสเตด ( Alfred T. Helstead) ได้เสนอแนะ 
ให้มอร์แกนเปลี่ยนจากมินโตเนต (Mintonette) 
เป็น "วอลเลย์บอล" (Volleyball) โดยให้ความ 
เห็นว่าเป็นวิธีการเล่นโต้ลูกบอลให้ลอยข้าม 
ตาข่ายไปมาในอากาศ โดยผเู้ล่นพยายามไม่ให้ 
ลูกบอล ตกพื้น ต่อมากีฬาวอลเลย์บอลได้ 
แพร่หลายและเป็นที่นิยมเล่นกันในหมู่ประชาชน 
ชาวอเมริกันเป็นอย่างมาก เพราะเป็นเกมที่เล่น
ปี พ.ศ ๒๔๗๑ ดอกเตอร์ จอร์จ เจ ฟิเชอร์ 
( Dr.George J.Fisher ) 
ได้ปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงกติกา การเล่น 
วอลเลย์บอล เพื่อใช้ในการแข่งขันกีฬา 
วอลเลย์บอล ในระดับชาติ ซึ่งบุคคลผู้นี้เป็นผู้มี 
บทบาทอย่างมาก ในการเผยแพร่กีฬาวอลเลย์บอล 
จนได้รับสมญานามว่า บิดาแห่งกีฬาวอลเลย์บอล
ในปี พ.ศ. 2495 คณะกรรมการบริหารสมาคม 
วอลเลย์บอลแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา ได้เสนอให้ใช้ชื่อ 
เป็นคำาเดียวคือ Volleyball และนาย Morgan ได้แนะนำาวิธี 
การเล่นให้แก่ Dr.Frank Wook ซึ่งเป็นนักฟิสิกส์ และ 
John Lynoh หัวหน้าหน่วยดับเพลิง โดยได้ร่วมกันร่างกฎ 
เกณฑ์ในการเล่นขึ้น 10 ข้อ ดังนี้ 
1.เกม (Game) เกมหนึ่งประกอบด้วย 9 อินนิ่ง (Innings) เมื่อ 
ครบ 9 อินนิ่ง ฝ่ายใดได้คะแนนมากว่าเป็นฝ่ายชนะ 
2. อินนิ่ง หมายถึง ผู้เล่นของแต่ละชุดได้เสิร์ฟทุกคน 
3. สนามเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 25 ฟุต ยาว 50 ฟุต 
4. ตาข่ายกว้าง 2 ฟุต ยาว 27 ฟุต สูงจากพื้น 6 ฟุต 6 นิ้ว 
5. ลูกบอลมียางในหุ้มด้วยหนังหรือผ้าใบ วัดโดยรอบไม่ 
น้อยกว่า 25 นิ้วและไม่เกิน 27 นิ้ว มีนำ้าหนักไม่น้อยกว่า 9 
ปอนด์ และไม่เกิน 12 ปอนด์
6. ผู้เสิร์ฟและการเสิร์ฟ ผู้เสิร์ฟจะต้องยืนด้วยเท้าหนึ่งบน 
เส้นหลัง และตีลูกบอลด้วยมือข้างเดียว อนุญาตให้ 
ทำาการเสิร์ฟได้ 2 ครั้ง เพื่อที่จะส่งลูกบอลไปยังแดนคู่ 
ต่อสู้เช่นเดียวกับเทนนิส การเสิร์ฟจะต้องตีลูกบอลได้ 
อย่างน้อย 10 ฟุต และห้ามเลี้ยงลูกบอล อนุญาตให้ 
ถูกตาข่ายได้ แต่ถ้าลูกบอลถูกผู้เล่นคนอื่นๆ ก่อนถูกตา 
ข่ายและถ้าลูกข้ามตาข่ายไปยังแดนคู่ต่อสู้ถือว่าดี แต่ 
ถ้าลูกออกนอกสนาม จะหมดสิทธ์การเสิร์ฟ ครั้งที่ 2 
7. การนับคะแนนลูกเสิร์ฟที่ดีฝ่ายรับจะไม่สามารถโต้ลูก 
กลับมาได้ให้นับ 1 คะแนนสำาหรับฝ่ายเสิร์ฟ ฝ่ายที่จะ 
สามารถทำาคะแนนได้คือฝ่ายเสิร์ฟเท่านั้น ถ้าฝ่ายเสิร์ฟ 
ทำาลูกบอลเสียในแดนของตนเอง ผู้เสิร์ฟจะหมดสิทธิ์ 
ในการเสิร์ฟ 
8. ลูกบอลถูกตาข่าย (ลูกเสิร์ฟ) ถ้าเป็นการทำาเสียครั้งที่ 
1 ให้ขานเป็นลูกตาย 
9. ลูกบอลถูกเส้น ให้ถือเป็นลูกออก 
10. การเล่นและผู้เล่น การถูกตาข่ายโดยผู้เล่นทำา 
ลูกบอลติดตาข่าย หรือ ลูกบอลถูกสิ่งกีดขวาง และ 
กระดอนเข้าสู่สนามถือเป็นลูกดี
1. นาย Elwood s. Brown ได้นำากีฬาวอลเลย์บอลไปสู่ 
ประเทศฟิลิปปินส์ 
2. นาย J. Haward Crocher นำาไปเผยแพร่ที่ประเทศจีน 
3. นาย Franklin H. Brown นำาไปเผยแพร่ที่ประเทศญี่ปุ่น 
4. Dr. J.H. Cary นำาไปเผยแพร่ที่ประเทศพม่า และอินเดีย 
ปี พ.ศ. 2453 นาย Elwood S. Brown เดินทางไปฟิลิปปินส์ 
ได้ช่วยจัดตั้งสมาคม และริเริ่มการแข่งขันครั้งแรกที่กรุง 
มะนิลา ในปี พ.ศ. 2456 โดยเรียกการแข่งขันครั้งนี้ว่า Far 
Eastern Games
ประวัติกีฬาวอลเลย์บอลในประเทศไทย 
ปี พ.ศ. ๒๔๗๗ กรมพลศึกษาได้จัดพิมพ์ 
กติกาวอลเลย์บอลขึ้น โดยอาจารย์นพคุณ พงษ์ 
สุวรรณ เป็นผแู้ปล และท่านเป็นผเู้ชยี่วชาญใน 
กีฬาวอลเลย์บอล ในปีเดียวกันกรมพลศึกษาได้จัด 
ให้มีการแข่งขันกีฬาประจำาปี และบรรจุกีฬา 
วอลเลย์บอลหญิงเข้าไว้ ในรายการแข่งขันเป็น 
ครั้งแรก โดยใช้กติกาการเล่นระบบ ๙ คน และ 
ตั้งแต่นั้นกีฬาวอลเลย์บอลก็พัฒนาขึ้นโดยตลอด 
ปี พ.ศ ๒๕๐๐ ประเทศไทยได้จัดตั้งสมาคม 
กีฬาวอลเลย์บอลขึ้น โดยมีพลเอกสุรจิตร จารุ 
เศรณี เป็นนายกสมาคมคนแรก เมื่อวันที่ ๑ 
พฤศจิกายน ๒๕๐๐ และได้รับชอื่เรียกอย่างเป็น 
ทางการว่า "สมาคมวอลเลย์บอลสมัครเล่นแห่ง
ความมุ่งหมมาายของกกีีฬฬาาวอลเเลลยย์์บอล 
1. เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของกีฬา 
วอลเลย์บอล 
2. เพื่อให้มีความสามารถในการเล่นทักษะเบื้องต้นต่างๆ 
ของกีฬาวอลเลย์บอลอย่างถูกต้อง 
3. เพื่อให้มีความสามารถในการเล่นทีมได้อย่างถูกต้องและ 
ฉลาด 
4. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในกติกาเกี่ยวกับการเล่น 
กีฬาวอลเลย์บอล 
5. เพื่อส่งเสริมในการพัฒนาร่างกาย จิตใจ สังคม และ 
อารมณ์ 
6. เพื่อส่งเสริมให้มีนิสัยรู้จักการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 
7. ส่งเสริมให้เป็นคนมีนำ้าใจนักกีฬา 
8. เพื่อก่อให้เกิดความสนุกสนาน และเพลิดเพลินในการ 
เล่นกีฬาวอลเลย์บอล 
9. เพื่อปลูกฝังนิสัยให้รู้จักการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ 
โดยการเล่นกีฬาวอลเลย์บอล
มารยาทของผผู้เู้เลล่น่นกกีีฬฬาาวอลเเลลยย์บ์บอลทที่ดี่ดีี 
a. แต่งกายด้วยชุดที่เหมาะสมกับการเล่นวอลเลย์บอล 
ในการแข่งขันนั้นผู้เล่นต้องแต่งกายตามกติกา แต่ 
ในการเล่นทั่วไปเพื่อความสนุกสนานหรือเพื่อออก 
กำาลังกายควรจะแต่งกายให้เหมาะสม บางคน 
สวมรองเท้าแตะหรือแต่งชุดไปเที่ยวลงเล่นเป็นต้น 
ซึ่งอาจทำาให้เกิดการบาดเจ็บระหว่างการเล่นได้ 
b. ไม่แสดงกิริยาเสียดสีล้อเลียน หรือกล่าวถ้อยคำาที่ 
ไม่สุภาพต่อผู้เล่นฝ่ายเดียวกันหรือฝ่ายตรงข้าม 
หรือผู้ชม 
c. เล่นตามกติกาที่กำาหนดไว้ โดยปฏิบัติตามระเบียบ 
กติกาการเล่นอย่างเคร่งครัด 
d. มีความสุภาพเรียบร้อย แสดงความเป็นมิตรและให้ 
เกียรติแก่ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามก่อนและ หลังการ
๕. ไม่โต้เถียงหรือแสดงกิริยาอาการที่ไม่เหมาะ 
สมแก่ผู้ตัดสินในการตัดสิน 
๖. มีใจคอหนักแน่น อดทน อดกลั้น และสามารถ 
ควบคุมอารมณ์ของตนเองได้ ถึงแม้ว่าผเู้ล่น 
ฝ่ายเดียวกันผิดพลาดก็ไม่ควรแสดงอาการไม่ 
พอใจ 
๗. เชอื่ฟังคำาสั่งของหัวหน้าทีม และโค้ช 
๘. มีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ตนได้รับมอบ 
หมาย 
๙. รู้จักระงับอารมณ์ เมื่อเกิดการยั่วยุจากฝ่าย 
ตรงข้าม
๑๐.เมื่อเล่นกีฬาแพ้หรือชนะไม่ควรดีใจหรือ 
เสียใจจนเกินไป 
๑๑.การเล่นกีฬาต้องเล่นอย่างสุดความสามารถ 
ไม่ว่าตนเองจะเป็นฝ่ายแพ้หรือชนะ 
๑๒.ต้องมีนำ้าใจนักกีฬารู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย 
๑๓.มีความตั้งใจในการฝึกซ้อม และมีความ 
อดทน 
๑๔.มีความอดกลั้นและไม่ใช้อารมณ์รุนแรง 
๑๕.ไม่สร้างความเดือดร้อนให้กับผู้อื่นในขณะฝึก 
ซ้อมหรือแข่งขัน 
๑๖. หลังจากการฝึกซ้อมหรือเล่นแล้วควรเก็บ 
อุปกรณ์ให้เรียบร้อย
กตกิาการแข่งขันกฬีาวอลเลย์บอล 
ลักษณะการแข่งขัน (Game Characteristic) 
เป็นกีฬาที่เล่นโดยทีมสองทีม บนสนามที่แบ่งแดน 
ด้วยตาข่าย ลักษณะของการแข่งขันอาจแตกต่างกัน 
ตามสภาพที่จำาเป็น 
จุดมุ่งหมายของการแข่งขัน คือ การส่งลูกให้ข้าม 
ตาข่ายตกลงบนพื้นในแดนของทีมตรงข้าง และป้องกัน 
ไม่ให้ทีมตรงข้ามส่งลูกข้ามตาข่ายมาตกลงบนพื้นใน 
แดนของตนเอง แต่ละทีมจะถูกลูกได้ 3 ครั้ง
ตอนททีี่่ 11 กกาารแแขข่่งขขันัน ((TThhee GGaammee)) 
กติกาข้อที่ 1พื้นทเี่ล่นลูก (Playing area) 
1.1 ขนาดของสนาม (Dimension) 
สนามแข่งขันเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด 18 x 9 
เมตร ล้อมรอบด้วยเขตรอบสนาม กว้างอย่างน้อยทสีุ่ด 
3 เมตร ทุกด้านทวี่่างสำาหรับเล่นลูก คือ ทวี่่างเหนือ 
พนื้ทเี่ล่นลูก ซึ่งไมมี่ สงิ่ใดกีดขวาง สูงขึ้นไปอย่างน้อย 
ที่สุด 7 เมตร จากพนื้สนาม สำาหรับการแข่งขันระดับ 
โลกของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ (FIVB) และ 
การแข่งขันอย่างเป็นทางการ เขตรอบสนามต้องกว้าง 
อย่างน้อยที่สดุ 5 เมตร จากเส้นข้าง 8 เมตร จากเส้น 
หลังและที่ว่างสำาหรับเล่นลูกต้องสูงจากพื้นสนามขึ้นไป 
อย่างน้อยทสีุ่ด 12.50 เมตร
1.2 พนื้ผิวสนาม (PLAYING SURFACE) 
1.2.1 พนื้ผิวสนามต้องเรียบ เป็นพื้นราบและ 
เหมือนกันตลอดทงั้สนาม ต้องไม่เป็นอันตราย 
จนเป็นเหตุให้ผู้เล่นบาดเจ็บ และไม่อนุญาตให้ 
แข่งขันบนพนื้สนามทขี่รุขระหรือลื่น สำาหรับ 
การแข่งขันระดับโลกของสหพันธ์วอลเลย์บอล 
นานาชาติและการแข่งขันอย่างเป็นทางการ 
อนุญาตให้ใช้ได้เฉพาะพื้นผิวสนามที่เป็นไม้ 
หรือพนื้ผิวสังเคราะห์เท่านนั้ พนื้ผิวสนามอื่นใด 
ต้องได้รับการรับรองจากสหพันธ์วอลเลย์บอล 
ก่อนทั้งสิ้น 
1.2.2 สนามแข่งขันในร่ม พนื้ผิวสนามต้องเป็นสี 
สว่างสำาหรับการแข่งขันระดับโลกของสหพันธ์ 
วอลเลย์บอลนานาชาติและการแข่งขันอย่าง 
เป็นทางการ เส้นสนามต้องเป็นสีขาว ส่วนพนื้
1.3 เส้นบนพนื้สนาม (LINES ON THE COURT) 
1.3.1 เส้นทุกเส้นกว้าง 5 เซนติเมตร เป็นสีสว่าง 
แตกต่างจากสีของพนื้ผิวสนามและเส้นอื่น ๆ 
1.3.2 เส้นเขตสนาม เส้นข้าง 2 เส้น และเส้น 
หลัง 2 เส้น เป็นเส้นกำาหนดเขตสนามแข่งขัน 
เส้นทั้งหมดนี้ต้องอยู่ภายในเขตของสนาม 
แข่งขัน 
1.3.3 เส้นแบ่งแดน กึ่งกลางเส้นแบ่งแดน จะ 
แบ่งสนามแข่งขันออกเป็น 2 ส่วนเท่า ๆ กัน 
ขนาด 9 x 9 เมตร เส้นนี้ลากจากเส้นข้างด้าน 
หนึ่งไปยังเส้นข้างอีกดานหนึ่งใต้ตาข่าย 
1.3.4 เส้นรุก แต่ละแดนของสนามจะมีเส้นรุกซึ่ง 
ริมสุดด้านนอกของเส้นจะขีดห่างจากจุด 
กึ่งกลางของเส้นแบ่งแดน 3 เมตร เป็น 
เครื่องหมายของเขตรุก สำาหรับการแข่งขัน
1.4 เขตและพื้นที่ต่าง ๆ (Zone And Areas) 
1.4.1 เขตรุก เขตรุกของแต่ละแดนจะถูกกำาหนดจา 
กึ่งกลางของเส้นแบ่งเขตแดน ไปจนถึงริมสุดด้านนอก 
ของเส้นรุกเขตรุก ถือเสมือนว่ามีความยาวจากเส้นทั้ง 
สองไปจนถึงริมสุดของเขตรอบสนาม 
1.4.2 เขตเสิร์ฟ เขตเสิร์ฟมีพื้นที่กว้าง 9 เมตร อยู่เลย 
เส้นหลังแต่ละเส้นออกไปเส้นขนานสั้นๆ 2 เส้น ยาวเส้น 
ละ 15 เซนติเมตร เป็นเส้นกำาหนดเขตเสิร์ฟ เส้นทั้งสอง 
นี้จะตีห่างจากเส้นหลัง 20 เซนติเมตร เหมือนกับแนว 
ต่อจากเส้นข้าง และรวมอยู่ในความกว้างของเขตเสิร์ฟ 
ด้วยในแนวลึก เขตเสิร์ฟจะยาวออกไปจนถึงปลายสุด 
ของเขตรอบสนาม 
1.4.3 เขตเปลี่ยนตัว คือ เขตที่อยู่ภายในแนวของเส้น 
รุกทั้งสองเส้นไปจนถึงโต๊ะผู้บันทึกการแข่งขัน 
1.4.4 พื้นที่อบอุ่นร่างกาย สำาหรับการแข่งขันระดับโลก 
ของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติและการแข่งขัน 
อย่างเป็นทางการ พื้นที่อบอุ่นร่างกายขนาด 3 x 3 
เมตร จะอยู่ที่นอกเขตรอบสนามตรงมุมสนามด้านเดียว
1.5 อุณหภูมิ (TEMPERATURE) 
อุณหภูมิตำ่าสุดต้องไม่ตำ่ากว่า 10 องศาเซลเซียส 
การแข่งขันระดับโลกของสหพันธ์วอลเลย์บอล 
นานาชาติและการแข่งขันอย่างเป็นทางการ 
แสงสว่างบนพนื้ทเี่ล่นลูกต้องมีความสว่าง 
1,000 – 1,500 ลักซ์ โดยวัดที่ระดับความสูงจาก 
พนื้สนาม 1 เมตร
แผนผังการจัดกกาารแแขข่ง่งขขันันวอลเเลลยย์์บอล 
a. ผู้ตัดสินที่ ๑ 
b. ผู้ตัดสินที่ ๒ 
c. โต๊ะผู้บันทึก ผู้จับเวลา ผู้ 
กดป้ายคะแนน 
d. โต๊ะที่นั่งสำาหรับผู้เล่น 
สำารอง ผู้ฝึกสอน ผู้ช่วยผู้ 
ฝึกสอน ฯลฯ 
e. ผู้กำากับเส้น 
f. ผู้เก็บบอล 
g. เขตอบอุ่นร่างกายของผู้ 
เล่นสำารอง
กตติิกกาาขข้้อททีี่่ 22 ตตาาขข่า่ายแแลละะเเสสาาขขึงึงตตาาขข่า่าย 
((NNeett aanndd PPoossttss)) 
2.1 ความสูงของตาข่าย (HEIGHT OF THE NET) 
2.1.1 ตาข่าย ขึงเป็นแนวตั้งเหนือเส้นเบ่งแดน สำาหรับ 
ทีมชาย ขอบบนสุดต้องสูงจากพื้นที่ 2.43 เมตร ทีมหญิง 
2.24 เมตร 
2.1.2 ความสูงของตาข่าย วัดที่กึ่งกลางของสนามความ 
สูงของตาข่าย (เหนือเส้นทั้งสอง) ต้องสูงเท่ากัน แต่จะ 
สูงเกินกว่าความสูงที่กำาหนด 2 เซนติเมตรไม่ได้ 
2.2 โครงสร้าง (STRUCTURE) 
ตาข่ายมีความกว้าง 1 เมตร และยาว 9.50 ถึง 10.00 
เมตร (โดยมีความยาวเหลืออยู่ 25 ถึง 50 เซนติเมตร 
จากแถบข้างแต่ละด้าน) ทำาด้วยวัสดุสีดำา เป็นตา 
สี่เหลี่ยมจตุรัสขนาด 10 เซนติเมตร ที่ขอบบนของ 
ตาข่ายมีแถบขนานกับพื้นพับ 2 ชั้น สีขาว กว้าง 7 
เซนติเมตร เย็บติดตลอดความยาวของตาข่าย ที่ปลาย 
สุดแต่ละข้างเจาะรูไว้ข้างละ 1 รู เพื่อร้อยเชือกผูกกับ 
เสาขึง ตาข่ายดึงให้แถบบนสุดของตาข่ายตึง ภายใน
2.3 แถบข้าง (SIDE BANDS) 
แถบสีขาว 2 เส้น ผูกในแนวตั้งกับตาข่ายเหนือ 
ทงั้ 2 เส้น แถบข้างกว้าง 5 เซนติเมตร ยาว 1 
เมตร และถือว่าเป็นส่วนหนงึ่ของตาข่าย 
2.4 เสาอากาศ (ANTENNAE) 
เสาอากาศเป็นแท่งกลมยืดหยนุ่ได้ ยาว 1.80 
เมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 10 มิลลิเมตร ทำาด้วยใย 
แก้วหรือวัสดุที่คล้ายคลึงกันเสาอากาศแต่ละต้น 
ถูกยึดติดอยทู่รีิ่มด้านนอกของแถบข้างทงั้สอง 
แต่อยคู่นละด้านของตาข่าย ส่วนบนสุดของเสา 
อากาศ ถือเป็นสีสลับกันเป็นช่วง ๆ ยาวช่องละ 
10 เซนติเมตร ส่วนมากแล้วนิยมใช้สีแดงและ 
ขาว เสาอากาศถือเป็นส่วนหนงึ่ ของตาข่าย 
เป็นแนวขนานที่กำาหนดพื้นที่ข้ามตาข่าย
2.5 เสาขึงตาข่าย (POSTS) 
2.5.1 เสาขึงตาข่ายยึดติดกับพนื้สนาม ห่างจาก 
เส้นข้าง 0.50 – 1.00 เมตร มีความสูง 2.55 
เมตร สามารถปรับระดับได้ สำาหรับการแข่งขัน 
ระดับโลกของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ 
และการแข่งขันอย่างเป็นทางการ เสาขึงตาข่าย 
ยึดติดกับพนื้สนาม ห่างจากเส้นข้าง 1 เมตร 
เว้นแต่ว่า ได้รับการยินยอมจากสหพันธ์ 
วอลเลย์บอลนานาชาติ 
2.5.2 เสาขึงตาข่ายมีลักษณะกลมและเรียบ ยึด 
ติดกับพื้นโดยไม่มีสายยึดเสาและต้องไม่เป็นสิ่ง 
ทกี่่อให้เกิดอันตรายและไม่เป็นสงิ่กีดขวางใด ๆ 
2.6 อุปกรณ์อื่น ๆ (ADDITIONAL EQUIPMENT) 
อุปกรณ์อื่นใดให้ขึ้นอยู่กับข้อตกลงตามระเบียบ 
ของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ
กตติิกกาาขข้้อททีี่่ 33 ลลูกูกบอล ((BBaallllss)) 
3.1 มาตรฐาน (STANDARD) ลูกบอลต้องกลม ทำาด้วยหนังฟอก 
หรือหนังสังเคราะห์ที่ยืดหยุ่นได้ ห่อหุ้มลูกบอลทรงกลมที่ทำาด้วย 
ยาง หรือวัสดุที่คล้ายคลึงกัน สีของลูกบอลอาจเป็นสีอ่อน ๆ 
เหมือนกนัทั้งลูก หรืออาจเป็นหลายสีผสมกันก็ได้ ลูกบอลซึ่งทำา 
ด้วยวัสดุที่เป็นหนังสังเคราะห์มีหลายสีผสมกันและจะใช้ในการ 
แข่งขันระดับนานาชาติอย่างเป็นทางการ ต้องมีมาตรฐานตามที่ 
สหพันธว์อลเลย์บอลนานาชาติกำาหนด ลูกบอลต้องมีแรงดันลม 
0.30 – 0.325 กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร ลูกบอลต้องมีเส้น 
รอบวงกลม 65 – 67 เซนติเมตร และมีนำ้าหนัก 260 – 280 
กรัม 
3.2 รูปแบบของลูกบอล (UNIFORMITY OF BALLS) ลูกบอลที่ 
ใช้ในการแข่งขันต้องมีเส้นรอบวง นำ้าหนัก แรงอัด ชนิดและสี 
ตามาตรฐานเดียวกนั การแข่งขันระดับโลก 
ของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติและรวมทั้งระดับชาติ หรือ 
การแข่งขันลีก (League) ของแต่ละประเทศต้อง ใช้ลูกบอลที่ 
สหพันธว์อลเลย์บอลนานาชาติรับรองเท่านั้น เว้นแต่ได้รับการ
กตติิกกาาขข้้อททีี่่ 44 ททีีม ((TTeeaammss)) 
4.1 ส่วนประกอบของทีม (TEAM 
COMPOSITION) 
4.1.1 ทีมประกอบด้วยผู้เล่นไม่เกิน 12 คน ผู้ 
ฝึกสอน 1 คน ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน 1 คน เทรนเนอร์ 
1คน และแพทย์ 1 คน สำาหรับการแข่งขันระดับ 
โลกของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติและการ 
แข่งขันอย่างเป็นทางการ แพทย์ต้องขึ้น 
ทะเบียนกับสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติก่อน 
การแข่งขัน 
4.1.2 ผู้เล่นคนหนงึ่ของทีมทไี่ม่ใช่ตัวรับอิสระ 
(LIBERO PLAYER) ต้องเป็นหัวหน้าทีมและจะ 
ระบุไว้ในใบบันทึกการแข่งขัน 
4.1.3 ผู้เล่นที่มีชื่ออยู่ในใบบันบันทึกการแข่งขัน
4.2 ตำำแหน่งทอี่ยู่ของทีม (LOCATION OF THE 
TEAM) 
4.2.1 ผู้เล่นที่ไม่ได้ลงแข่งขันควรนั่งม้ำนั่งหรืออยู่ 
ในพนื้ทอี่บอุ่นร่ำงกำยของทีมตนเอง ผู้ฝึกสอน 
และผู้ร่วมทีมคนอื่นต้องนงั่บนม้ำนงั่ แต่อำจลุก 
จำกม้ำนงั่เป็นครั้งครำว ม้ำนงั่ของทีมตั้งอยขู่้ำง 
ๆ โต๊ะผู้บันทึก นอกเขตรอบสนำม 
4.2.2 เฉพำะผู้ร่วมทีมเท่ำนั้นที่ได้รับอนุญำตให้ 
นั่งม้ำนั่งระหว่ำงกำรแข่งขันและร่วมกำรอบอุ่น 
ร่ำงกำยก่อนกำรแข่งขัน 
4.2.3 ผู้เล่นที่ไม่ได้ลงแข่งขันสำมำรถอบอุ่น 
ร่ำงกำยโดยไม่ใช่ลุกบอลได้ดังนี้ 
4.2.3.1 ระหว่ำงกำรแข่งขันในพื้นที่อบอุ่น 
ร่ำงกำย 
4.2.3.2 ระหว่ำงขอเวลำนอกและเวลำเทคนิคใน
4.3 เครื่องแต่งกำย (EQUIPMENT) เครื่องแต่งกำยของผู้ 
เล่นประกอยด้วย เสื้อยืด กำงเกงขำสั้น ถุงเท้ำ (ชุด 
แข่งขัน) และรองเท้ำ 
4.3.1 สีและแบบของเสื้อยืด กำงเกงขำสั้น และถุงเท้ำต้อง 
เหมือนกันทั้งทีม (ยกเว้นตัวรับอิสระ LIBERO PLAYER) 
และสะอำด 
4.3.2 รองเท้ำต้องเบำและอ่อนนุ่ม พื้นเป็นยำงหรือหนัง 
ไม่มีส้น สำำหรับกำรแข่งขันระดับโลกของสหพันธ์ 
วอลเลย์บอลนำนำชำติและ กำรแข่งขันอย่ำงเป็น 
ทำงกำรในรุ่นที่ไม่กำำจัดอำยุสีรองเท้ำต้องเป็นสี 
เดียวกันทั้งทีม แต่เครื่องหมำยกำรค้ำอำจมีสีแตกต่ำง 
กันได้ เสื้อและกำงเกงต้องเป็นไปตำมมำตรฐำนของ 
สหพันธ์วอลเลย์บอลนำนำชำติ 
4.3.3 เสื้อผู้เล่นต้องมีเครื่องหมำย 1 – 18 
4.3.3.1 ต้องติดเครื่องที่กลำงอกและกลำงหลังสีของ 
เครื่องหมำยเลขต้องตัดกับสีเสื้ออย่ำงชัดเจน 
4.3.3.2 หมำยเลขด้ำนหน้ำต้องสูงอย่ำงน้อยที่สุด 15
4.4 กำรเปลี่ยนเครื่องแต่งกำย (CHANGE OF 
EQUIPMENT) 
ผู้ตัดสินคนที่ 1 มีอำำนำจทจี่ะให้ผู้เล่น 1 คน หรือ 
มำกกว่ำ 
4.4.1 ลงแข่งขันโดยไม่สวมรองเท้ำก็ได้ 
4.4.2 เปลี่ยนชุดทเี่ปียกช่วงพักระหว่ำงเชต หรือ 
หลังจำกกำรเปลี่ยนตัวได้ โดยสี แบบ และ 
หมำยเลขของชุดใหม่ต้องเหมือนับชุดเดิม 
4.4.3 สวมชุดวอร์มลงแข่งขันได้ ถ้ำอำกำศ 
หนำว ถ้ำสีและแบบของชุควอร์ม 
เหมือนกันทงั้ทีม และหมำยเลขต้องเป็นไปตำม 
ปกติ 
4.5 สงิ่ทหี่้ำมสวมใส่ (FORBIDDEN OBJECTS) 
4.5.1 ห้ำมสวมใส่สิ่งของซึ่งอำจเป็นสำเหตุให้ 
เกิดกำรบำดเจ็บหรือช่วยให้ผู้เล่นได้เปรียบผู้อื่น
กตติกิกำำขข้อ้อททีี่่ 55 ผนู้นู้ำำำำของททีมีม ((TTeeaamm lleeaaddeerr)) 
5.1 หัวหน้ำทีม (CAPTAIN) 
5.1.1 ก่อนกำรแข่งขัน หัวหน้ำทีมเป็นผู้ลงชื่อในใบบันทึก 
กำรแข่งขันและเป็นผู้แทนของทีมในกำรเสี่ยง 
5.1.2 ระหว่ำงกำรแข่งขันและขณะอยู่ในสนำมแข่งขัน 
หัวหน้ำทีม (TEAM CAPTAIN) ผู้นำำในกำรแข่งขัน เมื่อ 
หัวหน้ำทีมไม่ได้เล่นอยู่ในสนำม ผู้ฝึกสอนหรือหัวหน้ำทีม 
ต้องแต่งตั้งผู้เล่นคนหนึ่งที่อยู่ในสนำม แต่ต้องไม่ไช่ตัวรับ 
อิสระ ทำำหน้ำที่หัวหน้ำทีมในกำรแข่งขัน (GAME 
CAPTAIN) และต้องรับผิดชอบไปจนกว่ำหัวหน้ำทีม 
(TEAM CAPTAIN) จะเปลี่ยนตัวมำลงเล่นอีกหรือจนกว่ำ 
จะสิ้นสุดเซตนั้นเมื่อลูกตำย หัวหน้ำทีมในกำรแข่งขัน 
เท่ำนั้นที่มีสิทธิเป็นผู้แทนของผู้เล่นทั้งหมดพูดกับผู้ตัดสิน 
เพื่อ 
5.1.2.1 ขอคำำอธิบำยในกำรตีควำมกติกำหรือนำำกติกำมำ 
ใช้และร้องขอหรือถำมคำำถำมของเพื่อร่วมทีม ถ้ำคำำ 
อธิบำยไม่เป็นที่พอใจ หัวหน้ำในกำรแข่งขันต้องประท้อง 
กำรตัดสินนั้นและสงวนสิทธิบันทึกกำรประท้องอย่ำงเป็น
5.1.2.3 ขอเวลำนอกและเปลี่ยนตัวผู้เล่น 
5.1.3 เมื่อสิ้นสุดกำรแข่งขันหัวหน้ำทีมต้อง 
5.1.3.1 แสดงควำมขอบคุณผู้ตัดสินและลงชื่อใน 
ใบบันทึกกำรแข่งขันกำรประท้องอย่ำงเป็น 
ทำงกำรต่อผู้ตัดสิน เกยี่วกับกำรนำำกติกำใช้ 
หรือตีควำมกติกำลงในใบบันทึกกำรแข่งขัน
5.2 ผู้ฝึกสอน (COACH) 
5.2.1 ตลอดกำรแข่งขัน ผู้ฝึกสอนเป็นผู้ควบคุมกำรเล่นของ 
ทีมภำยในสนำมแข่งขัน เป็นผู้เลือกผู้เล่น 6 คนแรก 
เปลี่ยนตัวผู้เล่นและขอเวลำนอก ผู้ฝึกสอนทำำหน้ำที่ดัง 
กล่ำวได้โดยขอผ่ำนทำงผู้ตัดสินที่ 2 
5.2.2 ก่อนกำรแข่งขัน ผู้ฝึกสอนต้องบันทึกหรือตรวจสอบ 
รำยชื่อและหมำยเลขของผู้เล่นในใบบันทึกกำรแข่งขัน 
5.2.3 ระหว่ำงกำรแข่งขัน ผู้ฝึกสอนต้อง 
5.2.3.1 ยืนใบส่งตำำแหน่งของผู้เล่นที่ลงชื่อแล้ว ให้ผู้ตัดสิน 
หรือผู้บันทึกก่อนกำรแข่งขันทุกเซต 
5.2.3.2 นั่งม้ำนั่งของทีมซึ่งใกล้กับผู้บันทึกมำกที่สุดแต่อำจ 
ลูกจำกม้ำนั่งได้เป็นครั้งครำว 
5.2.3.3 ขอเวลำนอกและเปลี่ยนตัวผู้เล่น 
5.2.3.4 ผู้ฝึกสอนรวมทั้งผู้ร่วมทีมอื่น ๆ อำจให้คำำแนะนำำผู้ 
เล่นในสนำมได้ โดยผู้ฝึกสอนอำจให้คำำแนะนำำผู้เล่นใน 
สนำมได้โดยผู้ฝึกสอนอำจให้คำำแนะนำำขณะที่ยืนหรือ 
เดินภำยในเขตเล่นลูก (FREE ZONE) ด้ำนหน้ำของม้ำนั่ง
5.3 ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน (ASSISTANT COACH) 
5.3.1 ผู้ช่วยผู้ฝึกสอนนงั่บนม้ำนงั่ของทีม แต่ไม่มี 
สิทธิใด ๆ ทจี่ะหยุดกำรแข่งขัน 
5.3.2 ถ้ำผู้ฝึกสอนไม่อยู่ ผู้ช่วยผู้ฝึกสอนอำจทำำ 
หน้ำทผีู่้ฝึกสอนแทนได้ โดยกำรขออนุญำตของ 
หัวหน้ำทีมในขณะแข่งขัน (GAME CAPTAIN) 
และได้รับกำรยินยอมจำกผู้ตัดสินที่ 1
กตติิกกำำขข้้อททีี่่ 66 กกำำรไไดด้ค้คะะแแนนน กกำำรชนนะะใในน 
แแตต่ล่ละะเเซซตแแลละะกกำำรชนนะะใในนแแตต่่ลละะนนััด 
6.1 กำรได้คะแนน (TO SCORE A POINT) 
6.1.1 คะแนน ทีมได้คะแนนเมื่อ 
6.1.1.1 ทำำให้ลูกบอลตกลงบนพื้นสนำมในแดนของทีมตรง 
ข้ำม 
6.1.1.2 ทีมตรงข้ำมทำำผิดกติกำ 
6.1.1.3 ทีมตรงข้ำมถูกลงโทษ 
6.1.2 กำรทำำผิดกติกำ ทีมทำำผิดกติกำเมอื่ลักษณะของกำรเล่น 
ตรงข้ำมกับกติกำกำรแข่งขัน 
(หรือขัดแย้งกับกติกำโดยวิธีอื่นใด) ผู้ตัดสินจะตัดสินกำร 
กำรกระทำำผิดและตัดสินใจดำำเนินกำรตำมกติกำ ดังนี้ 
6.1.2.1 ถ้ำมีกำรเล่นผิดกติกำสองอย่ำงหรือมำกกว่ำเกิดขึ้น 
ต่อเนอื่งกัน จะลงโทษเฉพำะกำรผิดกติกำที่เกิดขึ้นก่อน 
เท่ำนั้น 
6.1.2.2 ถ้ำทั้งสองทีมเล่นผิดกติกำสองอย่ำงหรือมำกกว่ำ 
พร้อม ๆ กันทงั้สองทีม จะถือว่ำเป็นกำรกระทำำผิดทั้งคู่ และจะ 
เล่นลูกนั้นใหม่ 
6.1.3 ผลที่ตำมมำเมอื่ชนะกำรเล่นลูก กำรเล่นลูกเป็นลักษณะ
6.2 กำรชนะในแต่ละเซต (TO WIN A SET)ทีมที่ 
ทำำได้ 25 คะแนนก่อน (ยกเว้นเซตตัดสิน) และมี 
คะแนนนำำทีมตรงข้ำมอย่ำงน้อยทสีุ่ก 2 คะแนน 
จะเป็นทีมชนะกำรแข่งขันเซตนนั้ ถ้ำทำำได้ 24 
คะแนนเท่ำกัน จะแข่งขันกันต่อไปจนกว่ำทีมใด 
ทีมหนงึ่อย่ำงน้อยทสีุ่ด 2 คะแนน 
6.3 กำรชนะกำรแข่งขันแต่ละนัด (TO WIN THE 
MATCH) 
6.3.1 ทีมทที่ำำได้ 3 เซต เป็นทีมทชี่นะกำร 
แข่งขันนัดนั้น 
6.3.2 ในกรณีทไี่ด้เซตเท่ำกัน 2 : 2 กำรแข่งขัน 
เซตตัดสิน (เซตที่ 5) จะแข่งขันกัน 15 คะแนน 
และต้องมีคะแนนนำำอีกทีมหนงึ่อย่ำงน้อย 2 
คะแนน
6.4 ทีมที่ผิดระเบียบกำรแข่งขันและไม่พร้อมจะ 
แข่งขัน (DEFAULT AND INCOMPLETE 
TEAM) 
6.4.1 ถ้ำทีมปฏิเสธทจี่ะแข่งขัน หลังจำกได้รับ 
แจ้งให้แข่งขันต่อ ทีมนั้นจะถูกแจ้งว่ำทำำผิด 
ระเบียบกำรแข่งขัน และปรับเป็นแพ้ในกำร 
แข่งขันนัดนนั้ ด้วยผลกำรแข่งขัน 0 – 3 เซต 
คะแนน 0 – 25 ในแต่ละเซต 
6.4.2 ทีมทไี่ม่ปรำกฏตัว ณ สนำมแข่งขันตำม 
เวลำทกี่ำำหนดโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ถือว่ำ 
ผิดระเบียบกำรแข่งขันและมีผลกำรแข่งขันเช่น 
เดียวกับกติกำข้อ 6.4.1 
6.4.3 ทีมที่ถูกแจ้งว่ำไม่พร้อมในกำรแข่งขันนัด 
ใดนัดหนงึ่หรือกำรแข่งขันเซตใดเซตหนงึ่ จะ 
แพ้ในเซตนนั้หรือกำรแข่งขันนัดนั้น ทีมตรง 
ข้ำมจะได้คะแนนและเซตเพื่อเป็นทีมชนะใน
กตติิกกำำขข้อ้อททีี่่ 77 โโคครงสรร้ำ้ำงกกำำรแแขข่ง่งขขันัน 
((SSttrruuccttuurree ooff PPllaayy)) 
7.1 กำรเสี่ยง (TOSS) ก่อนกำรแข่งขัน ผู้ตัดสินที่ 
1 จะทำำกำรเสี่ยงเพื่อตัดสินว่ำทีมใดจะทำำกำร 
เสิร์ฟก่อนหรืออยแู่ดนใด ในเซตที่ 1 ถ้ำ 
ต้องกำรแข่งขันเซตตัดสินจะต้องทำำกำรเสี่ยง 
ใหม่อีกครั้งหนึ่ง 
7.1.1 กำรเสี่ยงต้องทำำโดยมีหัวหน้ำทีมทั้งสอง 
ทีมร่วมอยู่ด้วย 
7.1.2 ผู้ชนะกำรเสี่ยงจะสิทธิเลือกอย่ำงใดอย่ำง 
หนงึ่ ดังนี้ 
7.1.2.1 เลือกเสิร์ฟหรือรับลูกเสิร์ฟ 
7.1.2.2 เลือกแดนใดแดนหนึ่งของสนำมก็ได้ ผู้ 
แพ้กำรเสี่ยงจะได้รับส่วนที่เหลือ 
7.1.3 ในกรณีที่ทำำกำรอบอุ่นร่ำงกำยมำพร้อม 
กัน ทีมทที่ำำกำเสิร์ฟก่อนจะทำำกำรอบอุ่น
7.2 กำรอบอุ่นร่ำงกำย (WARM-UP SESSION) 
7.2.1 ก่อนกำรแข่งขัน ถ้ำทีมมีสนำมอบอุ่น 
ร่ำงกำยทจีั่ดไว้ให้แล้ว แต่ละทีมจะทำำกำรอบอุ่น 
ร่ำงกำยทตี่ำข่ำยได้ทีมละ 5 นำที 
7.2.2 ถ้ำหัวหน้ำทีมทั้งสองตกลงทำำกำรอบอุ่น 
ร่ำงกำยทตี่ำข่ำยพร้อมกันจะอบอุ่นร่ำงกำยได้ 6 
นำที หรือ 10 นำที
7.3 ตำำแหน่งกำรเริ่มต้นของทีม (TEAM STARTING LINE-UP) 
7.3.1 ทีมต้อมีผู้เล่น 6 คนเสมอ ในกำรแข่งขันตำำแหน่ง 
เริ่มต้นของทีม แสดงถึงลำำดับกำรหมุนตำำแหน่งของผู้เล่น 
ในสนำมลำำดับนี้ตะคงอยู่ตลอดเวลำนั้น 
7.3.2 ก่อนกำรเริ่มแข่งขันแต่ละเซตผู้ฝึกสอนต้องแจ้ง 
ตำำแหน่งเริ่มต้นเล่นทีมของตนเองในใบส่งตำำแหน่ง ซึ่ง 
เขียนหมำยเลขของผู้เล่นและลงชื่อกำำกับแล้ว ส่งให้ผู้ 
ตัดสินที่ 2 หรือผู้บันทึกกำรแข่งขัน 
7.3.3 ผู้เล่นที่ไม่ได้อยู่ในตำำแหน่งเริ่มต้นเล่นของทีม จะ 
เป็นผู้เล่นสำำรองในเซตนั้น 
7.3.4 เมื่อใบส่งตำำแหน่งเริ่มต้นเล่น ถูกนำำส่งให้ผู้ตัดสินที่ 
2 หรือผู้บันทึกกำรแข่งขันแล้ว จะไม่อนุญำตให้มีกำร 
เปลี่ยนแปลงใบส่งตำำแหน่งอีก นอกจำกต้องกำรทำำกำร 
เปลี่ยนตัวผู้เล่นตำมปกติ 
7.3.5 ถ้ำพบว่ำมีกำรผิดพลำดระหว่ำงใบส่งตำำแหน่งกับ 
ตำำแหน่งของผู้เล่นในสนำม 
ถ้ำพบว่ำมีกำรผิดพลำดก่อนเริ่มกำรแข่งขัน
7.4 ตำำแหน่ง (POSITIONS) 
ขณะทผีู่้เสิร์ฟทำำกำรเสิร์ฟลูกบอล แต่ละทีมต้อง 
อยู่ในแดนของตนเองตำมลำำดับกำรหมุมตำำแหน่ง 
7.4.1 ตำำแหน่งของผู้เล่นจำำแนกได้ดังนี้ 
7.4.1.1 ผู้เล่นแถวหน้ำ 3 คน ทอี่ยใู่กล้ตำข่ำยเป็น 
ผู้เล่นแถวหน้ำอยใู่นตำำแหน่งที่ 4 ตำำแหน่งที่ 3 
และตำำแหน่งที่ 2 
7.4.1.2 ส่วนอีก 3 คน เป็นผู้เล่นแถวหลังอยใู่น 
ตำำแหน่งที่ 5 ตำำแหน่งที่ 6 ตำำแหน่งที่ 1 
ตำำแหน่งของผู้เล่นจะถือตำำแหน่งของเท้ำที่แตะ 
พนื้ เป็นเครื่องหมำยกำำหนด 
หมำยเลข ๑ ตำำแหน่ง หลังขวำ มีหน้ำทเี่สิร์ฟและรับลูกบอลป้อนไปยังแดนหน้ำ 
หมำยเลข ๒ ตำำแหน่ง หน้ำขวำ มีหน้ำที่สกัดกนั้ เล่นลูกบอลหน้ำตำข่ำย 
หมำยเลข ๓ ตำำแหน่ง หน้ำกลำง มีหน้ำที่สกัดกั้น เล่นลูกบอลหน้ำตำข่ำย 
หมำยเลข ๔ ตำำแหน่ง หน้ำซ้ำย มีหน้ำทสี่กัดกั้น เล่นลูกบอลหน้ำตำข่ำย 
หมำยเลข ๕ ตำำแหน่ง หลังซ้ำย มีหน้ำที่รับและป้อนลูกบอลไปยังแดนหน้ำ 
หมำยเลข ๖ ตำำแหน่ง กลำงหลัง มีหน้ำทรีั่บและป้อนลูกบอลไปยังแดนหน้ำ
7.4.2 ควำมเกี่ยวข้องของตำำแหน่งระหว่ำงผู้เล่น 
7.4.2.1 ผู้เล่นแถวหลังแต่ละคนต้องมีตำำแหน่งอยู่ 
ด้ำนหลังทงั้คู่ของตนเองทเี่ป็นผู้เล่นแถวหน้ำ 
7.4.2.2 ผู้เล่นแถวหน้ำและแถวหลังแต่ละคู่ต้องอยู่ 
ในตำำแหน่งข้ำงเดียวกันตำมลำำดับกำรหมุน 
ตำำแหน่งทรี่ะบุไว้ในกติกำข้อ 7.4.1 
7.4.3 ตำำแหน่งของผู้เล่นจะพิจำรณำและควบคุม 
จำกตำำแหน่งของเท้ำทสีั่มผัสพนื้ ดังนี้ 
7.4.3.1 ผู้เล่นแถวหน้ำแต่ละคนต้องมีส่วนหนึ่ง 
ส่วนใดของรองเท้ำอยู่ใกล้เส้นแบ่งแดนมำกกว่ำ 
เท้ำของผู้เล่นแดนตน 
7.4.3.2 ผู้เล่นที่อยทู่ำงขวำ (หรือทำงซ้ำย) ต้องมี 
ส่วนใดส่วนหนงึ่ของเท้ำใกล้กับเส้นทำงขวำ 
(หรือซ้ำย) มำกกว่ำผู้เล่นที่อยู่ตำำแหน่งกลำงของ 
แถวเดียวกัน
7.5 กำรผิดตำำแหน่ง (POSITIONAL FAULT) 
7.5.1 ทีมจะผิดตำำแหน่ง ถ้ำผู้เล่นคนใดคนหนงึ่ 
ไม่อยไู่ม่อยใู่นตำำแหน่งทถีู่กต้อง ขณะทผีู่้เสิร์ฟ 
ทำำกำรเสิร์ฟลูกบอล 
7.5.2 ถ้ำผู้เสิร์ฟเสิร์ฟผิดกติกำขณะที่ทำำกำร 
เสิร์ฟ จะถือว่ำกำรเสิร์ฟผิดปกติเกิดขึ้นก่อนกำร 
ผิดตำำแหน่งของทีมตรงข้ำม 
7.5.3 ถ้ำกำรเสิร์ฟผิดกติกำหลังจำกทำำกำรเสิร์ฟ 
ออกไปแล้ว จะถือว่ำกำรผิดตำำแหน่งเกิดขึ้นก่อน 
7.5.4 กำรทำำผิดตำำแหน่งจะมีผลตำมมำดังนี้ 
7.5.4.1 เป็นฝ่ำยแพ้ในกำรเล่นลูกครั้งนั้น 
7.5.4.2 เปลี่ยนตำำแหน่งของผู้เล่นให้ถูกต้อง
7.6 กำรหมุนตำำแหน่ง (ROTATION) 
7.6.1 ลำำดับกำรหมุนตำำแหน่งจะเป็นไปตำมใบ 
ส่งตำำแหน่งเริ่มต้นของทีมและควบคุมด้วย 
ลำำดับกำรเสิร์ฟและตำำแหน่งของผู้เล่นตลอดทั้ง 
เซต 
7.6.2 เมื่อทีมที่รับลูกเสิร์ฟได้สิทธ์ในกำรทำำ 
เสิร์ฟ ผู้เล่นต้องหมุนต้องหมุนไปตำมเข็ม 
ผนู้เลำ่นฬตำำิกแำหไน่ปงท 1ี่ ๒ ตหำำมุนแไหปน่ง 
ตำำแหน่งที่ ๑ เพื่อทำำกำรเสิร์ฟ 
ผู้เล่นตำำแหน่งที่ ๑ หมุนไป 
ตำำแหน่งที่ ๖ 
ผู้เล่นตำำแหน่งที่ ๖ หมุนไป 
ตำำแหน่งที่ ๕ 
ผู้เล่นตำำแหน่งที่ ๕ หมุนไป 
ตำำแหน่งที่ ๔ 
ผู้เล่นตำำแหน่งที่ ๔ หมุนไป 
ตำำแหน่งที่ ๓
7.7 กำรหมุนตำำแหน่งผิด (ROTATIONAL 
FAULT) 
7.7.1 กำรหมุนตำำแหน่งผิดเกิดขึ้นเมอื่ กำรเสิร์ฟ 
ไม่เป็นไปตำมตำำแหน่งกำรหมุนตำำแหน่ง และมีผล 
ตำมมำดังนี้ 
7.7.1.1 เป็นฝ่ำยแพ้ในเล่นลูกครั้งนั้น 
7.7.1.2 ต้องเปลี่ยนตำำแหน่งของผู้เล่นให้ถูก 
ต้อง 
7.7.2 นอกจำกนนั้ ผู้บันทึกต้องตัดสินใจ 
หยุดกำรแข่งขันทันทีที่มีกำรผิด ตำำแหน่ง 
และยกเลิกคะแนนที่ได้ทำำทั้งหมดขณะที่ผิด 
ตำำแหน่ง ส่วนคะแนนของที่ทำำได้ทั้งหมด 
ขณะผิดตำำแหน่งส่วนคะแนนของ ทีมตรง 
ข้ำมให้คงไว้คงเดิมถ้ำคะแนนขณะผิดตำำแหน่งไม่ 
สำมำรถ ตรวจพบได้ให้ลงโทษเพียงเป็น 
ฝ่ำยแพ้ในกำรเล่นลูกครั้งนนั้เท่ำนั้น
กติกำข้อที่ 8 กำรเปลี่ยนตัว 
8.1 ข้อจำำกัดขอกกำรเปลี่ยนตัว (LIMIYION OF 
SUBSTITUTION) 
8.1.1 ทีมหนงึ่จะเปลี่ยนตัวได้มำกทสีุ่ด 6 
คนต่อเซต กำรเปลี่ยนตัวแต่ละครั้งจะเปลี่ยน 
เพียง 1 คน หรือมำกกว่ำก็ได้ 
8.1.2 ผู้เล่นที่เริ่มต้นเล่นในเซตนั้นจะ 
เปลี่ยนตัวออกได้หนึ่งครั้งและกลับมำเข้ำไปเล่น 
ได้อีกหนึ่งครั้ง ในตำำแหน่งเดิม ตำมใบส่ง 
ตำำแหน่ง 
8.1.3 ผู้เล่นสำำรองจะเปลี่ยนเข้ำแทนผู้เล่น 
ที่เริ่มต้นเล่นในเซตนั้นได้เพียงครั้งเดียวในแต่ละ 
เซต และผู้ทจี่ะเปลี่ยนตัวเข้ำมำแทนผู้เล่นสำำรอง 
ต้องเป็นผู้เล่นคนเดิมเท่ำนั้น
8.2 กำรเปลี่ยนตัวทไี่ด้รับกำรยกเว้น 
(EXCEPTIONAL SUBSTITUTION) 
ผู้เล่นทไี่ด้รับบำดเจ็บ (ยกเว้นผู้รับอิสระ) จน 
แข่งขันต่อไปไม่ได้ จะเปลี่ยนตัวตำมกติกำ ถ้ำ 
เปลี่ยนตัวตำมกติกำไม่ได้ ทีมนนั้จะได้รับกำร 
ยกเว้นให้เปลี่ยนได้ นอกเหนือจำกกติกำที่ 
กำำหนดไว้ใน กำรเปลี่ยนตัวทไี่ด้รับยกเว้นจะ 
8.3 กำรเปลี่ยนตัวผู้เล่นที่ถูกทำำโทษออกจำก 
กำรแข่งขันหรือขำดขำดคุณสมบัติทจี่ะไม่แข่นัคุบณรสวมม 
บัติที่จะแข่งขันหรือ 
กับกำรเปลี่ยนตัวตำงมขัปน กติ (SUBSTITUTION 
ไม่ว่ำกรณีใด 
FOR EXPULSION OR DISQUALIFICATION)ผู้ 
เล่นที่ถูกทำำโทษให้ออกจำกกำรแข่งขันหรือขำด 
คุณสมบัติทจี่ะแข่งขัน ต้องทำำกำรเปลี่ยนตัวตำม 
กติกำ ถ้ำทำำกำรเปลี่ยนตัวตำมกติกำไม่ได้ จะ 
ถือว่ำทีมนั้นเป็นทีมที่ไม่พร้อมจะแข่งขัน
8.4 กำรเปลี่ยนตัวทผีิ่ดกติกำ (ILLEGAL 
SUBSTITUTION) 
8.4.1 กำรเปลี่ยนตัวจะผิดกติกำ ถ้ำนอก 
เหนือจำกข้อจำำกัดทกี่ำำหนดไว้ในกติกำข้อ 8.1 
8.4.2 เมอื่ทีมทำำกำรเปลี่ยนตัวผิดกติกำ และ 
กำรแข่งขันได้เล่นต่อไปแล้วจะต้องดำำเนินกำร 
ดังนี้(กติกำข้อ 9.1) 
8.4.2.1 ทีมถูกลงโทษให้เป็นฝ่ำยแพ้ในกำร 
เล่นลูกครั้งนั้น 
8.4.2.2 แก้ไขกำรเปลี่ยนตัวให้ถูกต้อง 
8.4.2.3 คะแนนที่ทำำได้ตั้งแต่ทำำผิดกติกำ 
ของทีมนนั้จะถูกตัดออก ส่วนคะแนนของทีมตรง 
ข้ำมยังคงไว้ตำมเดิม
กตติิกกำำขข้อ้อททีี่่ 99 รรูปูปแแบบบตต่่ำำงๆๆ ของกกำำร 
เเลล่น่น 
9.1 ลูกบอลทอี่ยใู่นกำรเล่น (BALL IN PLAY) 
ลูกบอลจะอยู่ในกำรเล่นตั้งแต่ขณะที่ทำำกำร 
เสิร์ฟ โดยผู้ตัดสินที่ 1 เป็นผู้อนุญำต (กติกำข้อ 
13.3) 
9.2 ลูกบอลทไี่ม่ได้อยู่ในกำรเล่น หรือลูกตำย 
(BALL OUT OF PLAY) 
ลูกบอลทไี่ม่ได้อยู่ในกำรเล่น ตั้งแต่ขณะทมีี่กำร 
ทำำผิดกติกำซึ่งผู้ตัดสินคนใดคนหนึ่งจะเป็นผู้ให้ 
สัญญำณนกหวีด กำรทำำผิดกติกำสิ้นสุดลง 
พร้อมๆกับสัญญำณนกหวีด 
9.3 ลูกบอลอยใู่นสนำม (BALL IN) 
ลูกบอลอยใู่นสนำม เมอื่ลูกบอลถูกพนื้สนำม 
แข่งขันรวมทงั้เส้นเขตสนำม (กติกำข้อ 1.1, 
1.3.2)
9.4 ลูกบอลออกนอกสนำม (BALL OUT)ลูกบอล 
ออกนอกสนำมเมื่อ 
9.4.1 บำงส่วนของลูกบอลตกลงบนพนื้ นอกเส้น 
เขตสนำมอย่ำงสมบูรณ์ 
9.4.2 ลูกบอลถูกสงิ่ของทอี่ยู่ภำยนอกสนำม 
เพดำน หรือผู้ทไี่ม่ได้แข่งขันด้วย 
9.4.3 ลูกบอลถูกเสำอำกำศ เชือก เสำ หรือ 
ตำข่ำยทอี่ยู่นอกแถบข้ำง (กติกำข้อ 2.3) 
9.4.4 ลูกบอลข้ำมตำข่ำย นอกเขตแนวตั้งที่ 
กำำหนดให้ลูกบอลผ่ำนอย่ำงสมบูรณ์หรือเพียง 
บำงส่วน (ยกเว้นกรณีกติกำข้อ 11.1.2, 11.1.1) 
9.4.5 ลูกบอลลอดใต้ตำข่ำยไปยังแดนของทีม 
ตรงข้ำมอย่ำงสมบูรณ์
กตติกิกำำขข้อ้อททีี่่ 1100 กกำำรเเลล่น่นลลูกูกบอล 
10.1 กำรถูกลูกบอลของทมี (TEAM HITS) ทมีถกู 
ลูกบอลได้มำกทสี่ดุ 3 ครั้ง (นอกจำกทำำกำรสกัดกั้น 
ตำมกติกำข้อ 15.4.1) เพื่อส่งลูกบอลกลับไปยังทมี 
ตรงข้ำม ถำ้ถูกลูกบอลมำกกว่ำนี้ ถือว่ำทมีทำำผิดกติกำ 
“ถูกลูก 4 ครั้ง” กำรถูกลูกบอลของทมี นับรวมทงั้ทผีู่้ 
เล่นตั้งใจถูกหรือไม่ตั้งใจถูกก็ตำม 
10.1.1 กำรถูกลูกบอลอย่ำงต่อเนอื่ง 
(CONSECUTIVE CONTACTS) ผู้เล่นจะถูกลูกบอล 
2 ครั้งติดต่อกันไมไ่ด้ (ยกเว้นกติกำข้อ 10.2.3, 
15.2, 15.4.2) 
10.1.2 กำรถกูลูกบอลพร้อมกัน (SIMULTENEOUS 
CONTACTS) ผู้เล่น 2 คนหรือ 3 คนอำจถูกลูกบอล 
พร้อมๆกันได้ในเวลำเดียวกัน 
10.1.2.1 เมอื่ผู้เล่นทมีเดียวกัน 2 คน (3 คน) ถูกบอล
10.1.2.2 เมื่อทั้งสองทีมถูกลูกบอลพร้อมๆกันเหนือ 
ตำข่ำย และยังเล่นลูกบอลนนั้ต่อไปได้ ทีมรับที่รับลูก 
นั้นสำมำรถถกูลูกบอลได้อีก 3 ครั้ง ถ้ำลูกบอลออก 
นอกสนำม จะถือว่ำทีมที่อยฝูั่่งตรงข้ำมกับลูกบอลเป็น 
ฝ่ำยทำำลูกบอลออกนอกสนำม 
10.1.2.3 ถ้ำกำรถูกลูกบอลพร้อม ๆ กันทงั้สองทมี 
เป็นกำรจับลูก (CATCH) จะถอืว่ำผิดกติกำทงั้สองทมี 
และต้องเล่นลูกนนั้ใหม่ 
10.1.3 กำรเล่นลุกบอลโดยมกีำช่วยเหลือ 
(ASSISTED HIT) ภำยในบริเวณพนื้ทเี่ล่น ไมอ่นุญำต 
ให้ผู้เล่นอำศัยเพอื่นร่วมทมีหรือสิ่งใด ๆ ช่วยให้ไปถึง 
ลูกบอลได้ อย่ำงไรก็ตำม ผู้เล่นทกี่ำำลังจะทำำผิดกติกำ 
(โดยกำำลังจะถูกตำข่ำยหรือเส้นขั้นเขตแดน) อำจถูก 
ฉุดหรือดึงโดยเพื่อนร่วมทีมได้
10.2 การถูกลูกบอลในลักษณะต่าง ๆ 
(CHARACTERISTICS OF THE HIT) 
10.2.1 ลูกบอลอาจถูกส่วนใดส่วนหนึ่งของ 
ร่างกายได้ 
10.2.2 การถูกลูกบอลต้องเป็นการกระทบ 
ไม่ใช่จับหรือโยน ลูกบอลจะสะท้อนกลับใน 
ทิศทางใดก็ได้ 
10.2.3 ลูกบอลอาจถูกหลายส่วนของร่างกายได้ 
ถ้าการถูกนนั้เกิดขึ้นพร้อม ๆ กัน 
10.2.3.1 ในการสกกัดกนั้ ลูกบอลอาจถูกผู้สกัด 
กั้นคนเดียวหรือมากกว่าติดต่อกันได้ ถ้าการถูก 
ลูกบอลเป็นลักษณะการเล่นลูกบอลเพียงครั้ง 
เดียว 
10.2.3.2 การถูกลูกบอลครั้งแรกของทีม ลูกบอล
10.3 การทำาผิดกติกาในการเล่นลูกบอล (FAULT IN 
PLATING THR BALL) 
10.3.1 การถูกลูกบอล 4 ครั้ง ทีมถกูลูกบอล 4 ครั้ง 
ก่อนส่งลูกบอลไปยังทีมตรงข้าม 
10.3.2 การถูกลูกบอลโดยมกีารช่วยเหลือ ผู้เล่น 
อาศัยเพื่อนร่วมทีมหรือสิ่งของใดๆ ช่วยใหเ้ข้าถึง 
ลูกบอลภายในบริเวณพื้นที่เล่นลูก 
10.3.3 การจับลูกบอล ผู้เล่นไมไ่ด้กระทบลูกแต่จบั 
และ / หรือโยนลูกบอล 
10.3.4 การถูกลูกบอลติดต่อกัน 2 ครั้ง ผู้เล่นถกู 
ลูกบอล 2 ครั้ง หรือถกูส่วนต่าง ๆ ของร่างกายในการ 
เล่นลูก 1ครั้ง
กตติิกกาาขข้อ้อททีี่่ 1111 ลลููกบอลทที่บี่บรริเิเววณตตาาขข่า่าย 
11.1 การข้ามตาข่ายของลูกบอล (BALL CROSSING THE 
NET) 
11.1.1 ลูกบอลทสี่่งไปยังทีมตรงข้าม ต้องข้ามเหนือตาข่าย 
ภายในพื้นที่สำาหรับข้ามตาข่าย พื้นที่สำาหรับข้ามตาข่ายคือ 
พื้นที่ในแนวตั้งของตาข่ายที่ถูกกำาหนดด้วยสิ่งต่อไปนี้ 
11.1.1.1 ส่วนตำ่าสุด โดยขอบบนของตาข่าย 
11.1.1.2 ด้านข้าง โดยมีเสาอากาศและแนวสมมุติที่สูง 
ขึ้นไป 
11.1.1.3 ส่วนบนสุด โดยเพดาน 
11.1.2 ลูกบอลที่ข้ามแนวตาข่ายไปยังเขตรอบสนามของทีม 
ตรงข้ามโดยทุกส่วนของลูกบอล หรือเพียงบางส่วนของลูกบอล 
อยู่นอกแนวข้ามตาข่าย ลูกบอลอาจกลับมาเล่นต่อได้โดยเล่น 
ลูกไม่เกนิ 3 ครั้ง ถา้ 
11.1.2.1 ผู้เล่นไม่ถูกแดนของทีมตรงข้าม 
11.1.2.2 ลูกบอลที่เล่นกันมา ข้ามนอกเขตข้ามตาข่าย 
ลูกบอล ทางด้านเดียวกันของสนามทั้งลูกหรือเพียงบางส่วนของ
11.2 การถูกตาข่ายของลูกบอล (BALL 
TOUCHING THE NET) 
ลูกบอลอาจถูกตาข่ายได้ขณะที่กำาลังข้ามตาข่าย 
11.3 ลูกบอลทชี่นตาข่าย (BALL IN THE NET) 
11.3.1 ลูกบอลที่พุ่งชนตาข่ายยังเล่นต่อไปได้จน 
ครบ 3 ครั้ง ตามกำาหนดการเล่นลูก 
11.3.2 ถ้าลูกบอลทำาให้ลูกบอลทำาให้ตาข่ายฉีก 
ขาด หรือทำาให้ตาข่ายหลุดให้ยกเลิกการเล่นลูก 
ครั้งนนั้และนำามาเล่นกันใหม่
กตติิกกาาขข้อ้อททีี่่ 1122 ผผู้เู้เลล่่นทที่บี่บรริเิเววณตตาาขข่า่าย 
12.1 การลำ้าเหนือตาข่าย (REACHING BEYOND THE 
NET) 
12.1.1 ในการสกัดกั้น ผู้สกัดกั้นอาจลำ้าตาข่ายเข้าไป 
ถูกลูกบอลได้ถ้าไม่กีดขวางการเล่นลูกของทีมตรงกัน 
ข้าม คือไม่ถูกลูกก่อนหรือไม่ถูกลูกขณะที่ทีมตรงกัน 
ข้ามทำาการรุก 
12.1.2 ภายหลังการตบลูกบอล มือของผู้เล่นอาจลำ้า 
ตาข่ายได้ ถ้าขณะถูกลูกเป็นการถูกลูกบอลในแดนของ 
ทีมของตนเอง 
12.2 การลำ้าใต้ตาข่าย (PENETRATION UNDER THE 
NET) 
12.2.1 อนุญาตให้ลำ้าเข้าไปในแดนของทีมตรงข้ามใต้ 
ตาข่ายได้ ถ้าไม่ขัดขวางการเล่นของทีมตรงข้าม 
12.2.2 การลำ้าเส้นแบ่งแดนเข้าไปในแดนของทีมตรง 
ข้าม 
12.2.2.1 อนุญาตให้เท้าหรือมือข้างเดียว (2 ข้าง) ถูก 
แดนของทีมตรงข้ามได้ ถ้าส่วนใดส่วนหนึ่งของเท้าหรือ
12.3 การถูกตาข่าย (CONTACT WITH THE NET) 
12.3.1 การถกูตาข่ายหรือเสาอากาศไม่ผิดกติกา เว้นแต่เมื่อ 
อยู่ในลกัษณะเลน่ลูกหรือกีดขวางการเล่น การเล่นลูกบาง 
ลักษณะอาจรวมถึงลักษณะที่ผู้เล่นไม่ได้ถูกลูกบอลในขณะนั้น 
ด้วย 
12.3.2 เมื่อผู้เล่นได้เลน่ลกูบอลไปแล้ว ผู้เล่นอาจถูกเสาเชือก 
หรือสิ่งใด ๆ ที่อยู่นอกระยะความยาวของตาข่ายได้ ถ้าไม่ 
กีดขวางการเล่น 
12.3.3 ถ้าลูกบอลที่พุ่งชนตาข่ายทำาให้ตาข่ายไปถูกผู้เล่นทีม 
ตรงข้ามไม่ถือว่าผิดกติกา 
12.4 การผิดกติกาของผู้เล่นที่ตาข่าย (PLAYERS’ FAULTS 
AT THE NET) 
12.4.1 ผู้เลน่ถกูลูกบอลหรือถูกผู้เล่นทีมตรงข้าม ในแดน 
ของทีมตรงกันข้าม หรือระหว่างที่ทีมตรงกนัข้ามทำาการรุก 
12.4.2 ผู้เล่นลำ้าเข้าไปในที่ว่างใต้ตาข่ายของทีมตรงข้าม 
และกีดขวางการเล่นของทีมตรงข้าม
กตติกิกาาขข้อ้อททีี่่ 1133 กกาารเเสสิิรร์ฟ์ฟ 
13.1 การเสิร์ฟครั้งแรกในแต่ละเซต (FIRST 
SERVICE IN A SET) 
13.1.1 ทีมใดจะได้เสิร์ฟลูกแรกในเซตที่ 1 และ 
เซตตัดสิน (เซต 5) มีผลมาจากการตัดสินใจ 
ของทีมเมื่อทำาการเสี่ยง 
13.1.2 ในเซตอื่น ๆทีมทไี่ม่ได้เสิร์ฟลูกแรกใน 
เซตที่ผ่านมาจะเป็นทีมที่ทำาการเสิร์ฟลูกแรก 
13.2 ลำาดับการเสิร์ฟ (SERVICE ORDER) 
13.2.1 ลำาดับการเสิร์ฟของผู้เล่นต้องเป็นไปตาม 
ที่บันทึกไว้ในใบส่งตำาแหน่ง 
13.2.2 หลังจากากรเสิร์ฟครั้งแรกในแต่ละเซต 
ผู้เล่นที่เสิร์ฟครั้งต่อไปจะเป็นดังนี้ 
13.2.2.1 เมอื่ฝ่ายเสิร์ฟชนะการเล่นลูกนนั้ ผู้ 
ทที่ำาการเสิร์ฟอยแู่ล้ว (หรือผู้เล่นสำารองเปลี่ยน
13.3 การอนุญาตให้เสิร์ฟ (AUTHORIZATION OF 
THE SERVICE) 
ผู้ตัดสินที่ 1 เป็นผอู้นุญาตให้เสิร์ฟ หลังจากการตรวจ 
ดูว่าทั้งสองทีมพร้อมแข่งขัน และผู้เสิร์ฟถือลูกบอลไว้ 
แล้ว 
13.4 การปฏิบัติในการเสิร์ฟ (EXECUTION OF THE 
SERVICE) 
13.4.1 หลังจากผู้เสิร์ฟโยนหรือปล่อยลูกบอลออกจาก 
มือแล้วจะเสิร์ฟด้วยมือหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของแขน 
เพียงข้างเดียว 
13.4.2 อนุญาตให้ทำาการโยนลูกบอลเพื่อทำาการเสิร์ฟ 
เพียงครงั้เดียว แต่อนุญาตให้เดาะหรือเคลอื่นไหว 
ลูกบอลในมือได้ 
13.4.3 ขณะทำาการเสิร์ฟหรือกระโดดเสิร์ฟ ผู้เสิร์ฟ 
ต้องไม่ถูกพื้นที่เขตสนาม (รวมทงั้เส้นหลังด้วย) หรือ 
พนื้ทนี่อกเขตเสิร์ฟหลังจากทำาการเสิร์ฟแล้ว ผู้เสิร์ฟ 
จึงสามารถเหยียบหรือถูกพื้นนอกเขตเสิร์ฟและพื้นใน
13.5 การกำาบัง (SCREENING) 
13.5.1 ผู้เล่นของทีมที่กำาลังจะทำาการเสิร์ฟ คนเดียวหรือหลาย 
คนก็ตามไม่บังทีมตรงข้ามเพื่อมิให้มองเห็นผู้เสิร์ฟเคลื่อนไหวแขน 
กระโดด หรือเคลื่อนที่ไปข้าง ๆ ขณะที่กำาลังทำาการเสิร์ฟ เพอื่บัง 
ทิศทางที่ลูกบอลพุ่งไป จะถือว่าเป็นการกำาบัง 
13.6 การกระทำาผิดระหว่างทำาการเสิรฟ์ (FAULTS MADE 
DURING THE SEERVIC) 
13.6.1 การเสิร์ฟที่ผิดกติกา การผิดกติกาต่อไปนี้จะต้องเปลี่ยน 
เสิร์ฟ ถึงแม้ว่าทีมตรงข้ามจะผิดตำาแหน่ง 
13.6.1.1 ทำาการเสิร์ฟผิดลำาดับการเสิร์ฟ 
13.6.1.1 ทำาการเสิร์ฟไม่ถูกต้อง 
13.6.2 การผิดกติกาหลังจากการเสิร์ฟลูกบอลออกไปอย่างถูก 
ต้องแล้ว การเสิร์ฟนั้นอาจผิดกติกาได้ 
13.62.1 ถ้าลูกบอลถูกผู้เล่นของทีมที่ทำาการเสิร์ฟหรือไม่ผ่าน 
พื้นที่ว่างเหนือตาข่ายอย่างสมบูรณ์ 
13.6.2.2 ลูก “ออก” กติกาข้อ 9.4 
13.6.2.3 ลูกบอลผ่านเหนือการกำาบัง
กตติกิกาาขข้อ้อททีี่่ 1144 กกาารรรุกุก 
14.1 การรุก (ATTACK HIT) 
14.1.1 การกระทำาใด ๆ ที่ส่งลูกบอลไปยังทีมตรงข้ามยกเว้น 
การเสิร์ฟและการสกัดกั้น ถือว่าเป็นการรุก 
14.1.2 ขณะทำาการรุก อนุญาตให้ใช้ปลายนิ้วเล่นลูกได้ถ้า 
การถูกลูกเป็นไปอย่างชัดเจน และไม่ได้ใช้ฝ่ามือจับหรือ 
โยนลูกบอลออกไป 
14.1.2 การรุกจะสมบูรณ์เมื่อลูกได้ข้ามแนวดิ่งของตาข่ายไป 
แล้วทั้งลูกหรือเมื่อทีมตรงข้ามถูกลูก 
14.2 ข้อกำาจัดของการรุก (RESTRICTIONS OF THE 
ATTACK HIT) 
14.2.1 ผู้เล่นแถวหน้าสามารถทำาการรุกที่ระดับความสูง 
เท่าใดก็ได้ ถ้าการถูกลูกบอลอยู่ภายในแดนของผู้เล่นเอง 
14.2.2 ผู้เล่นแถวหลังสามารถทำาการรุกที่ระดับความสูง 
เท่าใดก็ได้ จากหลังเขตรุก 
14.2.2.1 ขณะกระโดด เท้าข้างหนึ่ง (ทั้งสองข้าง) ต้องไม่ 
แตะหรือข้ามเส้นรุก 
14.2.2.2 หลังจากตบลูกแล้ว จึงจะลงยืนในเขตรุกได้
14.3 การรุกทผีิ่ดกติกา (FAULTS OF THE 
ATTACK HIT) 
14.3.1 ถูกลูกบอลในแดนของทีมตรงข้าม 
14.3.2 ตบลูกออกนอกเขตสนาม 
14.3.3 ผู้เล่นแถวหลังทำาการรุกในเขตรุก ขณะ 
ที่ลูกบอลอยู่เหนือขอบบนสุดของตาข่ายทั้งลูก 
14.3.4 ตบลูกบอลททีี่มตรงข้ามเสิร์ฟมา ขณะที่ 
ลูกบอลอยู่ในเขตรุกและอยู่เหนือขอบบนสุดของ 
ตาข่ายทั้งลูก 
14.3.5 ตัวรับอิสระทำาการรุก โดยขณะถูก 
ลูกบอล ลูกบอลทงั้ลูกอยเู่หนือขอบบนสุดของ 
ตาข่าย 
14.3.6 ผู้เล่นทำาการรุกขณะลูกบอลอยู่เหนือ 
ขอบบนสุดของตาข่าย โดยตัวรับอิสระทอี่ยใู่น 
แดนหน้าเป็นผู้ใช้นิ้วส่งลูกบอลมาให้ด้วยการ
กตติกิกาาขข้อ้อททีี่่ 1155 กกาารสกกััดกกั้นั้น 
15.1 การสกัดกั้น (BLOCK) 
15.1.1 การสกัดกั้นคือ การเล่นของผู้เล่นที่อยู่ชิด 
ตาข่ายเพื่อป้องกันลูกบอลที่จะมาจากทีมตรงข้าม โดย 
เอื้อมมือสูงกว่าระดับสูงสุดของตาข่าย 
ผู้เล่นแถวหน้าเท่านั้นที่ได้รับอนุญาตให้ทำาการสกัดกั้น 
ได้ 
15.1.2 ความพยายามที่จะสกัดกั้น คือลักษณะของการ 
ทำาการสกัดกั้นแต่ไม่ถูกลูกบอล 
15.1.3 การสกัดกั้นที่สมบูรณ์ คือการสกัดกั้นที่สมบูรณ์ 
คือการสกัดกั้นที่ผู้สกัดกั้นถูกลูกบอล 
15.1.4 การสกัดกั้นเป็นกลุ่ม คือการสกัดกั้นโดยผู้เล่น 
สองหรือสามคนที่อยู่ใกล้ ๆ กัน การสกัดกั้นจะสมบูรณ์ 
เมื่อผู้เล่นคนใดคนหนึ่งถูกลูกบอล 
15.2 การถูกลูกบอลขณะทำาการสกัดกั้น (BLOCK 
CONTACT)
15.3 การสกัดกนั้ในแดนของทีมตรงข้าม 
(BLOCKING WITHIN THE OPPONENT’S 
SPACE) 
ในการสกัดกนั้ ผู้เล่นยนื่มือแขนลำ้าตาข่ายได้ 
ถ้าไม่กีดขวางการเล่นของทีมตรงข้าม การสกัด 
กั้นจะถูกลูกบอลในแดนของทีมตรงข้ามไม่ได้ 
จนกว่าทีมตรงข้ามจะถูกลูกเพื่อทำาการรุกแล้ว 
15.4 การสกัดกนั้และการถูกลูกบอลของทีม 
(BLOCK AND TEAM HITS) 
15.4.1 การถูกลูกบอลโดยการสกัดกนั้ ไม่นับ 
เป็นการถูกลูกบอลของทีม หลังจากถูกลูกบอล 
โดยการสกัดกั้นแล้ว ทีมนั้นยังถูกลูกบอลได้อีก 
3 ครั้ง เพื่อส่งลูกกลับไปยังทีมตรงข้าม 
15.4.2 หลังจากทำาการสกัดกั้น ผู้ถูกลูกแรกจะ 
เป็นผู้เล่นคนใดคนหนึ่งรวมทั้งผู้เล่นที่ถูกลูกบอล
15.6 การสกัดกนั้ทผีิ่ดกติกา (BLOCKING 
FAULT) 
15.6.1 ผู้สกัดกั้นถูกลูกบอลในแดนของทีมตรง 
ข้ามก่อนหรือพร้อมกับการถูกลูกเพื่อทำาการรุกข 
องทีมตรงข้าม 
15.6.2 ผู้เล่นแถวหลังหรือตัวรับอิสระ ทำาการ 
สกัดกั้นหรือรวมกลุ่มทำาการสกัดกั้นโดยสมบูรณ์ 
15.6.3 สกัดกั้นลูกเสิร์ฟของทีมตรงข้าม 
15.6.4 ลูกบอลถูกสกัดกั้นแล้วออกนอกเขต 
สนาม 
15.6.5 สกัดกั้นลูกบอลด้านนอกเสาอากาศใน 
แดนของทีมตรงข้าม 
15.6.6 ตัวรัยอิสระพยายามทำาการสกัดกั้นด้วย 
ตัวเองหรือรวมกับผู้เล่นอื่น
กกาารบบาาดเเจจ็บ็บจจาากกกาาร 
เเลล่่นกกีฬีฬาา 
1 สาเหตุภายใน (Intrinsic factor) ซึ่งเป็น 
สาเหตุจากตัวนักกีฬาเอง ได้แก่ 
1.1.1 ความไม่เหมาะสมของรูปร่างหรือโครงสร้าง 
ของร่างกายกับการเล่นกีฬา 
ประเภทนั้นๆ 
1.1.2 ความไมส่มบูรณ์ของร่างกาย 
1.1.3 การได้รับบาดเจ็บจากอดีตระหว่างการแข่งขัน 
1.1.4 สภาพจิตใจที่ไมพ่ร้อมหรือขาดสมาธิ 
1.1.5 มกีารอบอุ่นร่างกายหรือเตรียมร่างกายเช่น ยืด 
กล้ามเนื้อไมเ่พียงพอ 
1.1.6 ความเหนื่อยล้าของนักกีฬา 
1.1.7 เทคนิคและวิธีการเล่นของนักกีฬาแต่ละคน
1.2 สาเหตุภายนอก (Extrinsic factor) ซึ่ง 
ได้แก่ 
1.2.1 ความบกพร่องของสถานที่ที่ใช้ในการ 
แข่งขันและอุปกรณ์การเล่น 
1.2.2 อุณหภมูิ ความชื้น สภาพอากาศ 
1.2.3 เครื่องแต่งกายที่ไมเ่หมาะสมกับรูปร่าง 
1.2.4 การเล่นของคู่แข่งขัน 
1.2.5 การเร่งเร้าจากคนเชียร์ 
1.2.6 ผู้ตัดสนิตามเกมไมท่นั 
1.2.7 ลักษณะเฉพาะของกีฬาประเภทนั้นๆ ซงึ่รวม 
ถึงกติกาการแข่งขันด้วย 
ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ล้วนมสี่วนสำาคัญซึ่งนำาไปสู่การ 
ได้รับบาดเจ็บจากการเล่นกีฬาได้ทั้งสิ้นเมื่อนักกีฬา 
ได้รับบาดเจ็บจากการเล่นกฬีา การปฐมพยาบาล 
เบื้องต้นจึงมคีวามจำาเป็นและมคีวามสำาคัญอย่างยงิ่
กกาารบบาาดเเจจ็บ็บจจาากกกาารกกีฬีฬาา 
1 บาดเจ็บที่เกิดจากภยันตราย 
1.1 กระดูกแตกหรือหัก ( Fractures) กระดูกแตก 
หรือหักอาจเกิดจากแรงกระแทกโดยตรงกัน เช่น 
ถูกไม้ฮอกกี้ตีที่ขา หรือโดยทางอ้อมเช่น หกล้มเอา 
มือเท้าพื้นทำาให้กระดูกไหปลาร้าหัก มักพบในกีฬา 
ที่มีการปะทะกัน เช่น ฟุตบอล รักบี้ ฮอกกี้ 
บาสเกตบอล ยูโด มวย เป็นต้น บาดเจ็บจากการ 
กีฬาที่ทำาให้มีการหักหรือแตกของกระดูกถือเป็น 
เรื่องใหญ่เพราะความรุนแรงที่เกิดขึ้นจะทำาให้ 
เนื้อเยื่อโดยรอบได้รับภยันตรายอย่างมากด้วย เช่น 
เอ็น กล้ามเนื้อ หลอดเลือด เส้นประสาท และผิวหนัง 
โดยต้องให้การปฐมพยาบาลและการรักษาควบคู่กัน
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด
นายสาโรจน์ พะลาด

Contenu connexe

En vedette

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

En vedette (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

นายสาโรจน์ พะลาด

  • 2. ประวัติวอลเลย์บอลต่างประเทศ กีฬาวอลเลย์บอลเริ่มขึ้นเมื่อปี ๒๔๓๘ โดย นายวิลเลียม จี มอร์แกน (William G. Morgan) ผู้อำานวยการฝ่ายพลศึกษาของสมาคมY.M.C.A. (Young Men's Christian Association) เมืองฮอลโยค (Holyoke) มลรัฐแมสซาซูเซตส์ (Massachusetts) ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นผู้ คิดเกมการเล่นขึ้น เนื่องจากในฤดูหนาวหิมะ ตกลงมา ผู้คนทั่วไปไม่สามารถเล่นกีฬากลางแจ้ง ได้ เขาได้พยายาม คิดและดัดแปลง กิจกรรมต่าง ๆ เพื่อใช้เป็นกิจกรรมนันทนาการผ่อนคลาย ความตึงเครียดให้เหมาะสมกับฤดูกาล
  • 3. ขณะที่เขาดูการแข่งขันเทนนิส เขาได้เกิด แนวความคิดที่จะนำาลักษณะและวิธกีาร เล่น ของกีฬาเทนนิสมาดัดแปลงใช้เล่น จึงใช้ตาข่าย เทนนิสซึ่งระหว่างเสาโรงยิมเนเซียม สูงจากพื้น ประมาณ ๖ ฟุต ๖ นิ้ว และใช้ยางในของลูก บาสเกตบอลสูบลมให้แน่น แล้วใช้มือและแขน ตีโต้ ข้ามตาข่ายกันไปมา แต่เนื่องจากยางใน ของลูกบาสเกตบอลเบาเกินไปทำาให้ลูกบอล เคลื่อนที่ช้าและทิศทางที่เคลื่อนไปไม่แน่นอน จึงเปลี่ยนมาใช้ลูกบาสเกตบอล แต่ลูก บาสเกตบอลใหญ่ หนักและแข็งเกินไปทำาให้มือ ของผู้เล่นได้รับบาดเจ็บ ในที่สุดเขาจึงให้ บริษัท A.G. Spalding and Brother
  • 4. ปี พ.ศ ๒๔๓๙ มีการประชุมสัมมนาผนู้ำา ทางพลศึกษาที่วิทยาลัยสปริงฟิลด์ (Spring-field College) นายวิลเลียม จี มอร์แกน ได้ สาธิตวิธีการเล่นต่อหน้าที่ประชุมหลังจากที่ ประชุมได้ชมการสาธิต ศาสตราจารย์ อัลเฟรด ที เฮลสเตด ( Alfred T. Helstead) ได้เสนอแนะ ให้มอร์แกนเปลี่ยนจากมินโตเนต (Mintonette) เป็น "วอลเลย์บอล" (Volleyball) โดยให้ความ เห็นว่าเป็นวิธีการเล่นโต้ลูกบอลให้ลอยข้าม ตาข่ายไปมาในอากาศ โดยผเู้ล่นพยายามไม่ให้ ลูกบอล ตกพื้น ต่อมากีฬาวอลเลย์บอลได้ แพร่หลายและเป็นที่นิยมเล่นกันในหมู่ประชาชน ชาวอเมริกันเป็นอย่างมาก เพราะเป็นเกมที่เล่น
  • 5. ปี พ.ศ ๒๔๗๑ ดอกเตอร์ จอร์จ เจ ฟิเชอร์ ( Dr.George J.Fisher ) ได้ปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงกติกา การเล่น วอลเลย์บอล เพื่อใช้ในการแข่งขันกีฬา วอลเลย์บอล ในระดับชาติ ซึ่งบุคคลผู้นี้เป็นผู้มี บทบาทอย่างมาก ในการเผยแพร่กีฬาวอลเลย์บอล จนได้รับสมญานามว่า บิดาแห่งกีฬาวอลเลย์บอล
  • 6. ในปี พ.ศ. 2495 คณะกรรมการบริหารสมาคม วอลเลย์บอลแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา ได้เสนอให้ใช้ชื่อ เป็นคำาเดียวคือ Volleyball และนาย Morgan ได้แนะนำาวิธี การเล่นให้แก่ Dr.Frank Wook ซึ่งเป็นนักฟิสิกส์ และ John Lynoh หัวหน้าหน่วยดับเพลิง โดยได้ร่วมกันร่างกฎ เกณฑ์ในการเล่นขึ้น 10 ข้อ ดังนี้ 1.เกม (Game) เกมหนึ่งประกอบด้วย 9 อินนิ่ง (Innings) เมื่อ ครบ 9 อินนิ่ง ฝ่ายใดได้คะแนนมากว่าเป็นฝ่ายชนะ 2. อินนิ่ง หมายถึง ผู้เล่นของแต่ละชุดได้เสิร์ฟทุกคน 3. สนามเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 25 ฟุต ยาว 50 ฟุต 4. ตาข่ายกว้าง 2 ฟุต ยาว 27 ฟุต สูงจากพื้น 6 ฟุต 6 นิ้ว 5. ลูกบอลมียางในหุ้มด้วยหนังหรือผ้าใบ วัดโดยรอบไม่ น้อยกว่า 25 นิ้วและไม่เกิน 27 นิ้ว มีนำ้าหนักไม่น้อยกว่า 9 ปอนด์ และไม่เกิน 12 ปอนด์
  • 7. 6. ผู้เสิร์ฟและการเสิร์ฟ ผู้เสิร์ฟจะต้องยืนด้วยเท้าหนึ่งบน เส้นหลัง และตีลูกบอลด้วยมือข้างเดียว อนุญาตให้ ทำาการเสิร์ฟได้ 2 ครั้ง เพื่อที่จะส่งลูกบอลไปยังแดนคู่ ต่อสู้เช่นเดียวกับเทนนิส การเสิร์ฟจะต้องตีลูกบอลได้ อย่างน้อย 10 ฟุต และห้ามเลี้ยงลูกบอล อนุญาตให้ ถูกตาข่ายได้ แต่ถ้าลูกบอลถูกผู้เล่นคนอื่นๆ ก่อนถูกตา ข่ายและถ้าลูกข้ามตาข่ายไปยังแดนคู่ต่อสู้ถือว่าดี แต่ ถ้าลูกออกนอกสนาม จะหมดสิทธ์การเสิร์ฟ ครั้งที่ 2 7. การนับคะแนนลูกเสิร์ฟที่ดีฝ่ายรับจะไม่สามารถโต้ลูก กลับมาได้ให้นับ 1 คะแนนสำาหรับฝ่ายเสิร์ฟ ฝ่ายที่จะ สามารถทำาคะแนนได้คือฝ่ายเสิร์ฟเท่านั้น ถ้าฝ่ายเสิร์ฟ ทำาลูกบอลเสียในแดนของตนเอง ผู้เสิร์ฟจะหมดสิทธิ์ ในการเสิร์ฟ 8. ลูกบอลถูกตาข่าย (ลูกเสิร์ฟ) ถ้าเป็นการทำาเสียครั้งที่ 1 ให้ขานเป็นลูกตาย 9. ลูกบอลถูกเส้น ให้ถือเป็นลูกออก 10. การเล่นและผู้เล่น การถูกตาข่ายโดยผู้เล่นทำา ลูกบอลติดตาข่าย หรือ ลูกบอลถูกสิ่งกีดขวาง และ กระดอนเข้าสู่สนามถือเป็นลูกดี
  • 8. 1. นาย Elwood s. Brown ได้นำากีฬาวอลเลย์บอลไปสู่ ประเทศฟิลิปปินส์ 2. นาย J. Haward Crocher นำาไปเผยแพร่ที่ประเทศจีน 3. นาย Franklin H. Brown นำาไปเผยแพร่ที่ประเทศญี่ปุ่น 4. Dr. J.H. Cary นำาไปเผยแพร่ที่ประเทศพม่า และอินเดีย ปี พ.ศ. 2453 นาย Elwood S. Brown เดินทางไปฟิลิปปินส์ ได้ช่วยจัดตั้งสมาคม และริเริ่มการแข่งขันครั้งแรกที่กรุง มะนิลา ในปี พ.ศ. 2456 โดยเรียกการแข่งขันครั้งนี้ว่า Far Eastern Games
  • 9. ประวัติกีฬาวอลเลย์บอลในประเทศไทย ปี พ.ศ. ๒๔๗๗ กรมพลศึกษาได้จัดพิมพ์ กติกาวอลเลย์บอลขึ้น โดยอาจารย์นพคุณ พงษ์ สุวรรณ เป็นผแู้ปล และท่านเป็นผเู้ชยี่วชาญใน กีฬาวอลเลย์บอล ในปีเดียวกันกรมพลศึกษาได้จัด ให้มีการแข่งขันกีฬาประจำาปี และบรรจุกีฬา วอลเลย์บอลหญิงเข้าไว้ ในรายการแข่งขันเป็น ครั้งแรก โดยใช้กติกาการเล่นระบบ ๙ คน และ ตั้งแต่นั้นกีฬาวอลเลย์บอลก็พัฒนาขึ้นโดยตลอด ปี พ.ศ ๒๕๐๐ ประเทศไทยได้จัดตั้งสมาคม กีฬาวอลเลย์บอลขึ้น โดยมีพลเอกสุรจิตร จารุ เศรณี เป็นนายกสมาคมคนแรก เมื่อวันที่ ๑ พฤศจิกายน ๒๕๐๐ และได้รับชอื่เรียกอย่างเป็น ทางการว่า "สมาคมวอลเลย์บอลสมัครเล่นแห่ง
  • 10. ความมุ่งหมมาายของกกีีฬฬาาวอลเเลลยย์์บอล 1. เพื่อให้มีความรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของกีฬา วอลเลย์บอล 2. เพื่อให้มีความสามารถในการเล่นทักษะเบื้องต้นต่างๆ ของกีฬาวอลเลย์บอลอย่างถูกต้อง 3. เพื่อให้มีความสามารถในการเล่นทีมได้อย่างถูกต้องและ ฉลาด 4. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในกติกาเกี่ยวกับการเล่น กีฬาวอลเลย์บอล 5. เพื่อส่งเสริมในการพัฒนาร่างกาย จิตใจ สังคม และ อารมณ์ 6. เพื่อส่งเสริมให้มีนิสัยรู้จักการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 7. ส่งเสริมให้เป็นคนมีนำ้าใจนักกีฬา 8. เพื่อก่อให้เกิดความสนุกสนาน และเพลิดเพลินในการ เล่นกีฬาวอลเลย์บอล 9. เพื่อปลูกฝังนิสัยให้รู้จักการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ โดยการเล่นกีฬาวอลเลย์บอล
  • 11. มารยาทของผผู้เู้เลล่น่นกกีีฬฬาาวอลเเลลยย์บ์บอลทที่ดี่ดีี a. แต่งกายด้วยชุดที่เหมาะสมกับการเล่นวอลเลย์บอล ในการแข่งขันนั้นผู้เล่นต้องแต่งกายตามกติกา แต่ ในการเล่นทั่วไปเพื่อความสนุกสนานหรือเพื่อออก กำาลังกายควรจะแต่งกายให้เหมาะสม บางคน สวมรองเท้าแตะหรือแต่งชุดไปเที่ยวลงเล่นเป็นต้น ซึ่งอาจทำาให้เกิดการบาดเจ็บระหว่างการเล่นได้ b. ไม่แสดงกิริยาเสียดสีล้อเลียน หรือกล่าวถ้อยคำาที่ ไม่สุภาพต่อผู้เล่นฝ่ายเดียวกันหรือฝ่ายตรงข้าม หรือผู้ชม c. เล่นตามกติกาที่กำาหนดไว้ โดยปฏิบัติตามระเบียบ กติกาการเล่นอย่างเคร่งครัด d. มีความสุภาพเรียบร้อย แสดงความเป็นมิตรและให้ เกียรติแก่ผู้เล่นฝ่ายตรงข้ามก่อนและ หลังการ
  • 12. ๕. ไม่โต้เถียงหรือแสดงกิริยาอาการที่ไม่เหมาะ สมแก่ผู้ตัดสินในการตัดสิน ๖. มีใจคอหนักแน่น อดทน อดกลั้น และสามารถ ควบคุมอารมณ์ของตนเองได้ ถึงแม้ว่าผเู้ล่น ฝ่ายเดียวกันผิดพลาดก็ไม่ควรแสดงอาการไม่ พอใจ ๗. เชอื่ฟังคำาสั่งของหัวหน้าทีม และโค้ช ๘. มีความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ตนได้รับมอบ หมาย ๙. รู้จักระงับอารมณ์ เมื่อเกิดการยั่วยุจากฝ่าย ตรงข้าม
  • 13. ๑๐.เมื่อเล่นกีฬาแพ้หรือชนะไม่ควรดีใจหรือ เสียใจจนเกินไป ๑๑.การเล่นกีฬาต้องเล่นอย่างสุดความสามารถ ไม่ว่าตนเองจะเป็นฝ่ายแพ้หรือชนะ ๑๒.ต้องมีนำ้าใจนักกีฬารู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย ๑๓.มีความตั้งใจในการฝึกซ้อม และมีความ อดทน ๑๔.มีความอดกลั้นและไม่ใช้อารมณ์รุนแรง ๑๕.ไม่สร้างความเดือดร้อนให้กับผู้อื่นในขณะฝึก ซ้อมหรือแข่งขัน ๑๖. หลังจากการฝึกซ้อมหรือเล่นแล้วควรเก็บ อุปกรณ์ให้เรียบร้อย
  • 14. กตกิาการแข่งขันกฬีาวอลเลย์บอล ลักษณะการแข่งขัน (Game Characteristic) เป็นกีฬาที่เล่นโดยทีมสองทีม บนสนามที่แบ่งแดน ด้วยตาข่าย ลักษณะของการแข่งขันอาจแตกต่างกัน ตามสภาพที่จำาเป็น จุดมุ่งหมายของการแข่งขัน คือ การส่งลูกให้ข้าม ตาข่ายตกลงบนพื้นในแดนของทีมตรงข้าง และป้องกัน ไม่ให้ทีมตรงข้ามส่งลูกข้ามตาข่ายมาตกลงบนพื้นใน แดนของตนเอง แต่ละทีมจะถูกลูกได้ 3 ครั้ง
  • 15. ตอนททีี่่ 11 กกาารแแขข่่งขขันัน ((TThhee GGaammee)) กติกาข้อที่ 1พื้นทเี่ล่นลูก (Playing area) 1.1 ขนาดของสนาม (Dimension) สนามแข่งขันเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด 18 x 9 เมตร ล้อมรอบด้วยเขตรอบสนาม กว้างอย่างน้อยทสีุ่ด 3 เมตร ทุกด้านทวี่่างสำาหรับเล่นลูก คือ ทวี่่างเหนือ พนื้ทเี่ล่นลูก ซึ่งไมมี่ สงิ่ใดกีดขวาง สูงขึ้นไปอย่างน้อย ที่สุด 7 เมตร จากพนื้สนาม สำาหรับการแข่งขันระดับ โลกของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ (FIVB) และ การแข่งขันอย่างเป็นทางการ เขตรอบสนามต้องกว้าง อย่างน้อยที่สดุ 5 เมตร จากเส้นข้าง 8 เมตร จากเส้น หลังและที่ว่างสำาหรับเล่นลูกต้องสูงจากพื้นสนามขึ้นไป อย่างน้อยทสีุ่ด 12.50 เมตร
  • 16. 1.2 พนื้ผิวสนาม (PLAYING SURFACE) 1.2.1 พนื้ผิวสนามต้องเรียบ เป็นพื้นราบและ เหมือนกันตลอดทงั้สนาม ต้องไม่เป็นอันตราย จนเป็นเหตุให้ผู้เล่นบาดเจ็บ และไม่อนุญาตให้ แข่งขันบนพนื้สนามทขี่รุขระหรือลื่น สำาหรับ การแข่งขันระดับโลกของสหพันธ์วอลเลย์บอล นานาชาติและการแข่งขันอย่างเป็นทางการ อนุญาตให้ใช้ได้เฉพาะพื้นผิวสนามที่เป็นไม้ หรือพนื้ผิวสังเคราะห์เท่านนั้ พนื้ผิวสนามอื่นใด ต้องได้รับการรับรองจากสหพันธ์วอลเลย์บอล ก่อนทั้งสิ้น 1.2.2 สนามแข่งขันในร่ม พนื้ผิวสนามต้องเป็นสี สว่างสำาหรับการแข่งขันระดับโลกของสหพันธ์ วอลเลย์บอลนานาชาติและการแข่งขันอย่าง เป็นทางการ เส้นสนามต้องเป็นสีขาว ส่วนพนื้
  • 17. 1.3 เส้นบนพนื้สนาม (LINES ON THE COURT) 1.3.1 เส้นทุกเส้นกว้าง 5 เซนติเมตร เป็นสีสว่าง แตกต่างจากสีของพนื้ผิวสนามและเส้นอื่น ๆ 1.3.2 เส้นเขตสนาม เส้นข้าง 2 เส้น และเส้น หลัง 2 เส้น เป็นเส้นกำาหนดเขตสนามแข่งขัน เส้นทั้งหมดนี้ต้องอยู่ภายในเขตของสนาม แข่งขัน 1.3.3 เส้นแบ่งแดน กึ่งกลางเส้นแบ่งแดน จะ แบ่งสนามแข่งขันออกเป็น 2 ส่วนเท่า ๆ กัน ขนาด 9 x 9 เมตร เส้นนี้ลากจากเส้นข้างด้าน หนึ่งไปยังเส้นข้างอีกดานหนึ่งใต้ตาข่าย 1.3.4 เส้นรุก แต่ละแดนของสนามจะมีเส้นรุกซึ่ง ริมสุดด้านนอกของเส้นจะขีดห่างจากจุด กึ่งกลางของเส้นแบ่งแดน 3 เมตร เป็น เครื่องหมายของเขตรุก สำาหรับการแข่งขัน
  • 18. 1.4 เขตและพื้นที่ต่าง ๆ (Zone And Areas) 1.4.1 เขตรุก เขตรุกของแต่ละแดนจะถูกกำาหนดจา กึ่งกลางของเส้นแบ่งเขตแดน ไปจนถึงริมสุดด้านนอก ของเส้นรุกเขตรุก ถือเสมือนว่ามีความยาวจากเส้นทั้ง สองไปจนถึงริมสุดของเขตรอบสนาม 1.4.2 เขตเสิร์ฟ เขตเสิร์ฟมีพื้นที่กว้าง 9 เมตร อยู่เลย เส้นหลังแต่ละเส้นออกไปเส้นขนานสั้นๆ 2 เส้น ยาวเส้น ละ 15 เซนติเมตร เป็นเส้นกำาหนดเขตเสิร์ฟ เส้นทั้งสอง นี้จะตีห่างจากเส้นหลัง 20 เซนติเมตร เหมือนกับแนว ต่อจากเส้นข้าง และรวมอยู่ในความกว้างของเขตเสิร์ฟ ด้วยในแนวลึก เขตเสิร์ฟจะยาวออกไปจนถึงปลายสุด ของเขตรอบสนาม 1.4.3 เขตเปลี่ยนตัว คือ เขตที่อยู่ภายในแนวของเส้น รุกทั้งสองเส้นไปจนถึงโต๊ะผู้บันทึกการแข่งขัน 1.4.4 พื้นที่อบอุ่นร่างกาย สำาหรับการแข่งขันระดับโลก ของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติและการแข่งขัน อย่างเป็นทางการ พื้นที่อบอุ่นร่างกายขนาด 3 x 3 เมตร จะอยู่ที่นอกเขตรอบสนามตรงมุมสนามด้านเดียว
  • 19. 1.5 อุณหภูมิ (TEMPERATURE) อุณหภูมิตำ่าสุดต้องไม่ตำ่ากว่า 10 องศาเซลเซียส การแข่งขันระดับโลกของสหพันธ์วอลเลย์บอล นานาชาติและการแข่งขันอย่างเป็นทางการ แสงสว่างบนพนื้ทเี่ล่นลูกต้องมีความสว่าง 1,000 – 1,500 ลักซ์ โดยวัดที่ระดับความสูงจาก พนื้สนาม 1 เมตร
  • 20. แผนผังการจัดกกาารแแขข่ง่งขขันันวอลเเลลยย์์บอล a. ผู้ตัดสินที่ ๑ b. ผู้ตัดสินที่ ๒ c. โต๊ะผู้บันทึก ผู้จับเวลา ผู้ กดป้ายคะแนน d. โต๊ะที่นั่งสำาหรับผู้เล่น สำารอง ผู้ฝึกสอน ผู้ช่วยผู้ ฝึกสอน ฯลฯ e. ผู้กำากับเส้น f. ผู้เก็บบอล g. เขตอบอุ่นร่างกายของผู้ เล่นสำารอง
  • 21. กตติิกกาาขข้้อททีี่่ 22 ตตาาขข่า่ายแแลละะเเสสาาขขึงึงตตาาขข่า่าย ((NNeett aanndd PPoossttss)) 2.1 ความสูงของตาข่าย (HEIGHT OF THE NET) 2.1.1 ตาข่าย ขึงเป็นแนวตั้งเหนือเส้นเบ่งแดน สำาหรับ ทีมชาย ขอบบนสุดต้องสูงจากพื้นที่ 2.43 เมตร ทีมหญิง 2.24 เมตร 2.1.2 ความสูงของตาข่าย วัดที่กึ่งกลางของสนามความ สูงของตาข่าย (เหนือเส้นทั้งสอง) ต้องสูงเท่ากัน แต่จะ สูงเกินกว่าความสูงที่กำาหนด 2 เซนติเมตรไม่ได้ 2.2 โครงสร้าง (STRUCTURE) ตาข่ายมีความกว้าง 1 เมตร และยาว 9.50 ถึง 10.00 เมตร (โดยมีความยาวเหลืออยู่ 25 ถึง 50 เซนติเมตร จากแถบข้างแต่ละด้าน) ทำาด้วยวัสดุสีดำา เป็นตา สี่เหลี่ยมจตุรัสขนาด 10 เซนติเมตร ที่ขอบบนของ ตาข่ายมีแถบขนานกับพื้นพับ 2 ชั้น สีขาว กว้าง 7 เซนติเมตร เย็บติดตลอดความยาวของตาข่าย ที่ปลาย สุดแต่ละข้างเจาะรูไว้ข้างละ 1 รู เพื่อร้อยเชือกผูกกับ เสาขึง ตาข่ายดึงให้แถบบนสุดของตาข่ายตึง ภายใน
  • 22. 2.3 แถบข้าง (SIDE BANDS) แถบสีขาว 2 เส้น ผูกในแนวตั้งกับตาข่ายเหนือ ทงั้ 2 เส้น แถบข้างกว้าง 5 เซนติเมตร ยาว 1 เมตร และถือว่าเป็นส่วนหนงึ่ของตาข่าย 2.4 เสาอากาศ (ANTENNAE) เสาอากาศเป็นแท่งกลมยืดหยนุ่ได้ ยาว 1.80 เมตร เส้นผ่าศูนย์กลาง 10 มิลลิเมตร ทำาด้วยใย แก้วหรือวัสดุที่คล้ายคลึงกันเสาอากาศแต่ละต้น ถูกยึดติดอยทู่รีิ่มด้านนอกของแถบข้างทงั้สอง แต่อยคู่นละด้านของตาข่าย ส่วนบนสุดของเสา อากาศ ถือเป็นสีสลับกันเป็นช่วง ๆ ยาวช่องละ 10 เซนติเมตร ส่วนมากแล้วนิยมใช้สีแดงและ ขาว เสาอากาศถือเป็นส่วนหนงึ่ ของตาข่าย เป็นแนวขนานที่กำาหนดพื้นที่ข้ามตาข่าย
  • 23. 2.5 เสาขึงตาข่าย (POSTS) 2.5.1 เสาขึงตาข่ายยึดติดกับพนื้สนาม ห่างจาก เส้นข้าง 0.50 – 1.00 เมตร มีความสูง 2.55 เมตร สามารถปรับระดับได้ สำาหรับการแข่งขัน ระดับโลกของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ และการแข่งขันอย่างเป็นทางการ เสาขึงตาข่าย ยึดติดกับพนื้สนาม ห่างจากเส้นข้าง 1 เมตร เว้นแต่ว่า ได้รับการยินยอมจากสหพันธ์ วอลเลย์บอลนานาชาติ 2.5.2 เสาขึงตาข่ายมีลักษณะกลมและเรียบ ยึด ติดกับพื้นโดยไม่มีสายยึดเสาและต้องไม่เป็นสิ่ง ทกี่่อให้เกิดอันตรายและไม่เป็นสงิ่กีดขวางใด ๆ 2.6 อุปกรณ์อื่น ๆ (ADDITIONAL EQUIPMENT) อุปกรณ์อื่นใดให้ขึ้นอยู่กับข้อตกลงตามระเบียบ ของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติ
  • 24. กตติิกกาาขข้้อททีี่่ 33 ลลูกูกบอล ((BBaallllss)) 3.1 มาตรฐาน (STANDARD) ลูกบอลต้องกลม ทำาด้วยหนังฟอก หรือหนังสังเคราะห์ที่ยืดหยุ่นได้ ห่อหุ้มลูกบอลทรงกลมที่ทำาด้วย ยาง หรือวัสดุที่คล้ายคลึงกัน สีของลูกบอลอาจเป็นสีอ่อน ๆ เหมือนกนัทั้งลูก หรืออาจเป็นหลายสีผสมกันก็ได้ ลูกบอลซึ่งทำา ด้วยวัสดุที่เป็นหนังสังเคราะห์มีหลายสีผสมกันและจะใช้ในการ แข่งขันระดับนานาชาติอย่างเป็นทางการ ต้องมีมาตรฐานตามที่ สหพันธว์อลเลย์บอลนานาชาติกำาหนด ลูกบอลต้องมีแรงดันลม 0.30 – 0.325 กิโลกรัม/ตารางเซนติเมตร ลูกบอลต้องมีเส้น รอบวงกลม 65 – 67 เซนติเมตร และมีนำ้าหนัก 260 – 280 กรัม 3.2 รูปแบบของลูกบอล (UNIFORMITY OF BALLS) ลูกบอลที่ ใช้ในการแข่งขันต้องมีเส้นรอบวง นำ้าหนัก แรงอัด ชนิดและสี ตามาตรฐานเดียวกนั การแข่งขันระดับโลก ของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติและรวมทั้งระดับชาติ หรือ การแข่งขันลีก (League) ของแต่ละประเทศต้อง ใช้ลูกบอลที่ สหพันธว์อลเลย์บอลนานาชาติรับรองเท่านั้น เว้นแต่ได้รับการ
  • 25. กตติิกกาาขข้้อททีี่่ 44 ททีีม ((TTeeaammss)) 4.1 ส่วนประกอบของทีม (TEAM COMPOSITION) 4.1.1 ทีมประกอบด้วยผู้เล่นไม่เกิน 12 คน ผู้ ฝึกสอน 1 คน ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน 1 คน เทรนเนอร์ 1คน และแพทย์ 1 คน สำาหรับการแข่งขันระดับ โลกของสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติและการ แข่งขันอย่างเป็นทางการ แพทย์ต้องขึ้น ทะเบียนกับสหพันธ์วอลเลย์บอลนานาชาติก่อน การแข่งขัน 4.1.2 ผู้เล่นคนหนงึ่ของทีมทไี่ม่ใช่ตัวรับอิสระ (LIBERO PLAYER) ต้องเป็นหัวหน้าทีมและจะ ระบุไว้ในใบบันทึกการแข่งขัน 4.1.3 ผู้เล่นที่มีชื่ออยู่ในใบบันบันทึกการแข่งขัน
  • 26. 4.2 ตำำแหน่งทอี่ยู่ของทีม (LOCATION OF THE TEAM) 4.2.1 ผู้เล่นที่ไม่ได้ลงแข่งขันควรนั่งม้ำนั่งหรืออยู่ ในพนื้ทอี่บอุ่นร่ำงกำยของทีมตนเอง ผู้ฝึกสอน และผู้ร่วมทีมคนอื่นต้องนงั่บนม้ำนงั่ แต่อำจลุก จำกม้ำนงั่เป็นครั้งครำว ม้ำนงั่ของทีมตั้งอยขู่้ำง ๆ โต๊ะผู้บันทึก นอกเขตรอบสนำม 4.2.2 เฉพำะผู้ร่วมทีมเท่ำนั้นที่ได้รับอนุญำตให้ นั่งม้ำนั่งระหว่ำงกำรแข่งขันและร่วมกำรอบอุ่น ร่ำงกำยก่อนกำรแข่งขัน 4.2.3 ผู้เล่นที่ไม่ได้ลงแข่งขันสำมำรถอบอุ่น ร่ำงกำยโดยไม่ใช่ลุกบอลได้ดังนี้ 4.2.3.1 ระหว่ำงกำรแข่งขันในพื้นที่อบอุ่น ร่ำงกำย 4.2.3.2 ระหว่ำงขอเวลำนอกและเวลำเทคนิคใน
  • 27. 4.3 เครื่องแต่งกำย (EQUIPMENT) เครื่องแต่งกำยของผู้ เล่นประกอยด้วย เสื้อยืด กำงเกงขำสั้น ถุงเท้ำ (ชุด แข่งขัน) และรองเท้ำ 4.3.1 สีและแบบของเสื้อยืด กำงเกงขำสั้น และถุงเท้ำต้อง เหมือนกันทั้งทีม (ยกเว้นตัวรับอิสระ LIBERO PLAYER) และสะอำด 4.3.2 รองเท้ำต้องเบำและอ่อนนุ่ม พื้นเป็นยำงหรือหนัง ไม่มีส้น สำำหรับกำรแข่งขันระดับโลกของสหพันธ์ วอลเลย์บอลนำนำชำติและ กำรแข่งขันอย่ำงเป็น ทำงกำรในรุ่นที่ไม่กำำจัดอำยุสีรองเท้ำต้องเป็นสี เดียวกันทั้งทีม แต่เครื่องหมำยกำรค้ำอำจมีสีแตกต่ำง กันได้ เสื้อและกำงเกงต้องเป็นไปตำมมำตรฐำนของ สหพันธ์วอลเลย์บอลนำนำชำติ 4.3.3 เสื้อผู้เล่นต้องมีเครื่องหมำย 1 – 18 4.3.3.1 ต้องติดเครื่องที่กลำงอกและกลำงหลังสีของ เครื่องหมำยเลขต้องตัดกับสีเสื้ออย่ำงชัดเจน 4.3.3.2 หมำยเลขด้ำนหน้ำต้องสูงอย่ำงน้อยที่สุด 15
  • 28. 4.4 กำรเปลี่ยนเครื่องแต่งกำย (CHANGE OF EQUIPMENT) ผู้ตัดสินคนที่ 1 มีอำำนำจทจี่ะให้ผู้เล่น 1 คน หรือ มำกกว่ำ 4.4.1 ลงแข่งขันโดยไม่สวมรองเท้ำก็ได้ 4.4.2 เปลี่ยนชุดทเี่ปียกช่วงพักระหว่ำงเชต หรือ หลังจำกกำรเปลี่ยนตัวได้ โดยสี แบบ และ หมำยเลขของชุดใหม่ต้องเหมือนับชุดเดิม 4.4.3 สวมชุดวอร์มลงแข่งขันได้ ถ้ำอำกำศ หนำว ถ้ำสีและแบบของชุควอร์ม เหมือนกันทงั้ทีม และหมำยเลขต้องเป็นไปตำม ปกติ 4.5 สงิ่ทหี่้ำมสวมใส่ (FORBIDDEN OBJECTS) 4.5.1 ห้ำมสวมใส่สิ่งของซึ่งอำจเป็นสำเหตุให้ เกิดกำรบำดเจ็บหรือช่วยให้ผู้เล่นได้เปรียบผู้อื่น
  • 29. กตติกิกำำขข้อ้อททีี่่ 55 ผนู้นู้ำำำำของททีมีม ((TTeeaamm lleeaaddeerr)) 5.1 หัวหน้ำทีม (CAPTAIN) 5.1.1 ก่อนกำรแข่งขัน หัวหน้ำทีมเป็นผู้ลงชื่อในใบบันทึก กำรแข่งขันและเป็นผู้แทนของทีมในกำรเสี่ยง 5.1.2 ระหว่ำงกำรแข่งขันและขณะอยู่ในสนำมแข่งขัน หัวหน้ำทีม (TEAM CAPTAIN) ผู้นำำในกำรแข่งขัน เมื่อ หัวหน้ำทีมไม่ได้เล่นอยู่ในสนำม ผู้ฝึกสอนหรือหัวหน้ำทีม ต้องแต่งตั้งผู้เล่นคนหนึ่งที่อยู่ในสนำม แต่ต้องไม่ไช่ตัวรับ อิสระ ทำำหน้ำที่หัวหน้ำทีมในกำรแข่งขัน (GAME CAPTAIN) และต้องรับผิดชอบไปจนกว่ำหัวหน้ำทีม (TEAM CAPTAIN) จะเปลี่ยนตัวมำลงเล่นอีกหรือจนกว่ำ จะสิ้นสุดเซตนั้นเมื่อลูกตำย หัวหน้ำทีมในกำรแข่งขัน เท่ำนั้นที่มีสิทธิเป็นผู้แทนของผู้เล่นทั้งหมดพูดกับผู้ตัดสิน เพื่อ 5.1.2.1 ขอคำำอธิบำยในกำรตีควำมกติกำหรือนำำกติกำมำ ใช้และร้องขอหรือถำมคำำถำมของเพื่อร่วมทีม ถ้ำคำำ อธิบำยไม่เป็นที่พอใจ หัวหน้ำในกำรแข่งขันต้องประท้อง กำรตัดสินนั้นและสงวนสิทธิบันทึกกำรประท้องอย่ำงเป็น
  • 30. 5.1.2.3 ขอเวลำนอกและเปลี่ยนตัวผู้เล่น 5.1.3 เมื่อสิ้นสุดกำรแข่งขันหัวหน้ำทีมต้อง 5.1.3.1 แสดงควำมขอบคุณผู้ตัดสินและลงชื่อใน ใบบันทึกกำรแข่งขันกำรประท้องอย่ำงเป็น ทำงกำรต่อผู้ตัดสิน เกยี่วกับกำรนำำกติกำใช้ หรือตีควำมกติกำลงในใบบันทึกกำรแข่งขัน
  • 31. 5.2 ผู้ฝึกสอน (COACH) 5.2.1 ตลอดกำรแข่งขัน ผู้ฝึกสอนเป็นผู้ควบคุมกำรเล่นของ ทีมภำยในสนำมแข่งขัน เป็นผู้เลือกผู้เล่น 6 คนแรก เปลี่ยนตัวผู้เล่นและขอเวลำนอก ผู้ฝึกสอนทำำหน้ำที่ดัง กล่ำวได้โดยขอผ่ำนทำงผู้ตัดสินที่ 2 5.2.2 ก่อนกำรแข่งขัน ผู้ฝึกสอนต้องบันทึกหรือตรวจสอบ รำยชื่อและหมำยเลขของผู้เล่นในใบบันทึกกำรแข่งขัน 5.2.3 ระหว่ำงกำรแข่งขัน ผู้ฝึกสอนต้อง 5.2.3.1 ยืนใบส่งตำำแหน่งของผู้เล่นที่ลงชื่อแล้ว ให้ผู้ตัดสิน หรือผู้บันทึกก่อนกำรแข่งขันทุกเซต 5.2.3.2 นั่งม้ำนั่งของทีมซึ่งใกล้กับผู้บันทึกมำกที่สุดแต่อำจ ลูกจำกม้ำนั่งได้เป็นครั้งครำว 5.2.3.3 ขอเวลำนอกและเปลี่ยนตัวผู้เล่น 5.2.3.4 ผู้ฝึกสอนรวมทั้งผู้ร่วมทีมอื่น ๆ อำจให้คำำแนะนำำผู้ เล่นในสนำมได้ โดยผู้ฝึกสอนอำจให้คำำแนะนำำผู้เล่นใน สนำมได้โดยผู้ฝึกสอนอำจให้คำำแนะนำำขณะที่ยืนหรือ เดินภำยในเขตเล่นลูก (FREE ZONE) ด้ำนหน้ำของม้ำนั่ง
  • 32. 5.3 ผู้ช่วยผู้ฝึกสอน (ASSISTANT COACH) 5.3.1 ผู้ช่วยผู้ฝึกสอนนงั่บนม้ำนงั่ของทีม แต่ไม่มี สิทธิใด ๆ ทจี่ะหยุดกำรแข่งขัน 5.3.2 ถ้ำผู้ฝึกสอนไม่อยู่ ผู้ช่วยผู้ฝึกสอนอำจทำำ หน้ำทผีู่้ฝึกสอนแทนได้ โดยกำรขออนุญำตของ หัวหน้ำทีมในขณะแข่งขัน (GAME CAPTAIN) และได้รับกำรยินยอมจำกผู้ตัดสินที่ 1
  • 33. กตติิกกำำขข้้อททีี่่ 66 กกำำรไไดด้ค้คะะแแนนน กกำำรชนนะะใในน แแตต่ล่ละะเเซซตแแลละะกกำำรชนนะะใในนแแตต่่ลละะนนััด 6.1 กำรได้คะแนน (TO SCORE A POINT) 6.1.1 คะแนน ทีมได้คะแนนเมื่อ 6.1.1.1 ทำำให้ลูกบอลตกลงบนพื้นสนำมในแดนของทีมตรง ข้ำม 6.1.1.2 ทีมตรงข้ำมทำำผิดกติกำ 6.1.1.3 ทีมตรงข้ำมถูกลงโทษ 6.1.2 กำรทำำผิดกติกำ ทีมทำำผิดกติกำเมอื่ลักษณะของกำรเล่น ตรงข้ำมกับกติกำกำรแข่งขัน (หรือขัดแย้งกับกติกำโดยวิธีอื่นใด) ผู้ตัดสินจะตัดสินกำร กำรกระทำำผิดและตัดสินใจดำำเนินกำรตำมกติกำ ดังนี้ 6.1.2.1 ถ้ำมีกำรเล่นผิดกติกำสองอย่ำงหรือมำกกว่ำเกิดขึ้น ต่อเนอื่งกัน จะลงโทษเฉพำะกำรผิดกติกำที่เกิดขึ้นก่อน เท่ำนั้น 6.1.2.2 ถ้ำทั้งสองทีมเล่นผิดกติกำสองอย่ำงหรือมำกกว่ำ พร้อม ๆ กันทงั้สองทีม จะถือว่ำเป็นกำรกระทำำผิดทั้งคู่ และจะ เล่นลูกนั้นใหม่ 6.1.3 ผลที่ตำมมำเมอื่ชนะกำรเล่นลูก กำรเล่นลูกเป็นลักษณะ
  • 34. 6.2 กำรชนะในแต่ละเซต (TO WIN A SET)ทีมที่ ทำำได้ 25 คะแนนก่อน (ยกเว้นเซตตัดสิน) และมี คะแนนนำำทีมตรงข้ำมอย่ำงน้อยทสีุ่ก 2 คะแนน จะเป็นทีมชนะกำรแข่งขันเซตนนั้ ถ้ำทำำได้ 24 คะแนนเท่ำกัน จะแข่งขันกันต่อไปจนกว่ำทีมใด ทีมหนงึ่อย่ำงน้อยทสีุ่ด 2 คะแนน 6.3 กำรชนะกำรแข่งขันแต่ละนัด (TO WIN THE MATCH) 6.3.1 ทีมทที่ำำได้ 3 เซต เป็นทีมทชี่นะกำร แข่งขันนัดนั้น 6.3.2 ในกรณีทไี่ด้เซตเท่ำกัน 2 : 2 กำรแข่งขัน เซตตัดสิน (เซตที่ 5) จะแข่งขันกัน 15 คะแนน และต้องมีคะแนนนำำอีกทีมหนงึ่อย่ำงน้อย 2 คะแนน
  • 35. 6.4 ทีมที่ผิดระเบียบกำรแข่งขันและไม่พร้อมจะ แข่งขัน (DEFAULT AND INCOMPLETE TEAM) 6.4.1 ถ้ำทีมปฏิเสธทจี่ะแข่งขัน หลังจำกได้รับ แจ้งให้แข่งขันต่อ ทีมนั้นจะถูกแจ้งว่ำทำำผิด ระเบียบกำรแข่งขัน และปรับเป็นแพ้ในกำร แข่งขันนัดนนั้ ด้วยผลกำรแข่งขัน 0 – 3 เซต คะแนน 0 – 25 ในแต่ละเซต 6.4.2 ทีมทไี่ม่ปรำกฏตัว ณ สนำมแข่งขันตำม เวลำทกี่ำำหนดโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร ถือว่ำ ผิดระเบียบกำรแข่งขันและมีผลกำรแข่งขันเช่น เดียวกับกติกำข้อ 6.4.1 6.4.3 ทีมที่ถูกแจ้งว่ำไม่พร้อมในกำรแข่งขันนัด ใดนัดหนงึ่หรือกำรแข่งขันเซตใดเซตหนงึ่ จะ แพ้ในเซตนนั้หรือกำรแข่งขันนัดนั้น ทีมตรง ข้ำมจะได้คะแนนและเซตเพื่อเป็นทีมชนะใน
  • 36. กตติิกกำำขข้อ้อททีี่่ 77 โโคครงสรร้ำ้ำงกกำำรแแขข่ง่งขขันัน ((SSttrruuccttuurree ooff PPllaayy)) 7.1 กำรเสี่ยง (TOSS) ก่อนกำรแข่งขัน ผู้ตัดสินที่ 1 จะทำำกำรเสี่ยงเพื่อตัดสินว่ำทีมใดจะทำำกำร เสิร์ฟก่อนหรืออยแู่ดนใด ในเซตที่ 1 ถ้ำ ต้องกำรแข่งขันเซตตัดสินจะต้องทำำกำรเสี่ยง ใหม่อีกครั้งหนึ่ง 7.1.1 กำรเสี่ยงต้องทำำโดยมีหัวหน้ำทีมทั้งสอง ทีมร่วมอยู่ด้วย 7.1.2 ผู้ชนะกำรเสี่ยงจะสิทธิเลือกอย่ำงใดอย่ำง หนงึ่ ดังนี้ 7.1.2.1 เลือกเสิร์ฟหรือรับลูกเสิร์ฟ 7.1.2.2 เลือกแดนใดแดนหนึ่งของสนำมก็ได้ ผู้ แพ้กำรเสี่ยงจะได้รับส่วนที่เหลือ 7.1.3 ในกรณีที่ทำำกำรอบอุ่นร่ำงกำยมำพร้อม กัน ทีมทที่ำำกำเสิร์ฟก่อนจะทำำกำรอบอุ่น
  • 37. 7.2 กำรอบอุ่นร่ำงกำย (WARM-UP SESSION) 7.2.1 ก่อนกำรแข่งขัน ถ้ำทีมมีสนำมอบอุ่น ร่ำงกำยทจีั่ดไว้ให้แล้ว แต่ละทีมจะทำำกำรอบอุ่น ร่ำงกำยทตี่ำข่ำยได้ทีมละ 5 นำที 7.2.2 ถ้ำหัวหน้ำทีมทั้งสองตกลงทำำกำรอบอุ่น ร่ำงกำยทตี่ำข่ำยพร้อมกันจะอบอุ่นร่ำงกำยได้ 6 นำที หรือ 10 นำที
  • 38. 7.3 ตำำแหน่งกำรเริ่มต้นของทีม (TEAM STARTING LINE-UP) 7.3.1 ทีมต้อมีผู้เล่น 6 คนเสมอ ในกำรแข่งขันตำำแหน่ง เริ่มต้นของทีม แสดงถึงลำำดับกำรหมุนตำำแหน่งของผู้เล่น ในสนำมลำำดับนี้ตะคงอยู่ตลอดเวลำนั้น 7.3.2 ก่อนกำรเริ่มแข่งขันแต่ละเซตผู้ฝึกสอนต้องแจ้ง ตำำแหน่งเริ่มต้นเล่นทีมของตนเองในใบส่งตำำแหน่ง ซึ่ง เขียนหมำยเลขของผู้เล่นและลงชื่อกำำกับแล้ว ส่งให้ผู้ ตัดสินที่ 2 หรือผู้บันทึกกำรแข่งขัน 7.3.3 ผู้เล่นที่ไม่ได้อยู่ในตำำแหน่งเริ่มต้นเล่นของทีม จะ เป็นผู้เล่นสำำรองในเซตนั้น 7.3.4 เมื่อใบส่งตำำแหน่งเริ่มต้นเล่น ถูกนำำส่งให้ผู้ตัดสินที่ 2 หรือผู้บันทึกกำรแข่งขันแล้ว จะไม่อนุญำตให้มีกำร เปลี่ยนแปลงใบส่งตำำแหน่งอีก นอกจำกต้องกำรทำำกำร เปลี่ยนตัวผู้เล่นตำมปกติ 7.3.5 ถ้ำพบว่ำมีกำรผิดพลำดระหว่ำงใบส่งตำำแหน่งกับ ตำำแหน่งของผู้เล่นในสนำม ถ้ำพบว่ำมีกำรผิดพลำดก่อนเริ่มกำรแข่งขัน
  • 39. 7.4 ตำำแหน่ง (POSITIONS) ขณะทผีู่้เสิร์ฟทำำกำรเสิร์ฟลูกบอล แต่ละทีมต้อง อยู่ในแดนของตนเองตำมลำำดับกำรหมุมตำำแหน่ง 7.4.1 ตำำแหน่งของผู้เล่นจำำแนกได้ดังนี้ 7.4.1.1 ผู้เล่นแถวหน้ำ 3 คน ทอี่ยใู่กล้ตำข่ำยเป็น ผู้เล่นแถวหน้ำอยใู่นตำำแหน่งที่ 4 ตำำแหน่งที่ 3 และตำำแหน่งที่ 2 7.4.1.2 ส่วนอีก 3 คน เป็นผู้เล่นแถวหลังอยใู่น ตำำแหน่งที่ 5 ตำำแหน่งที่ 6 ตำำแหน่งที่ 1 ตำำแหน่งของผู้เล่นจะถือตำำแหน่งของเท้ำที่แตะ พนื้ เป็นเครื่องหมำยกำำหนด หมำยเลข ๑ ตำำแหน่ง หลังขวำ มีหน้ำทเี่สิร์ฟและรับลูกบอลป้อนไปยังแดนหน้ำ หมำยเลข ๒ ตำำแหน่ง หน้ำขวำ มีหน้ำที่สกัดกนั้ เล่นลูกบอลหน้ำตำข่ำย หมำยเลข ๓ ตำำแหน่ง หน้ำกลำง มีหน้ำที่สกัดกั้น เล่นลูกบอลหน้ำตำข่ำย หมำยเลข ๔ ตำำแหน่ง หน้ำซ้ำย มีหน้ำทสี่กัดกั้น เล่นลูกบอลหน้ำตำข่ำย หมำยเลข ๕ ตำำแหน่ง หลังซ้ำย มีหน้ำที่รับและป้อนลูกบอลไปยังแดนหน้ำ หมำยเลข ๖ ตำำแหน่ง กลำงหลัง มีหน้ำทรีั่บและป้อนลูกบอลไปยังแดนหน้ำ
  • 40. 7.4.2 ควำมเกี่ยวข้องของตำำแหน่งระหว่ำงผู้เล่น 7.4.2.1 ผู้เล่นแถวหลังแต่ละคนต้องมีตำำแหน่งอยู่ ด้ำนหลังทงั้คู่ของตนเองทเี่ป็นผู้เล่นแถวหน้ำ 7.4.2.2 ผู้เล่นแถวหน้ำและแถวหลังแต่ละคู่ต้องอยู่ ในตำำแหน่งข้ำงเดียวกันตำมลำำดับกำรหมุน ตำำแหน่งทรี่ะบุไว้ในกติกำข้อ 7.4.1 7.4.3 ตำำแหน่งของผู้เล่นจะพิจำรณำและควบคุม จำกตำำแหน่งของเท้ำทสีั่มผัสพนื้ ดังนี้ 7.4.3.1 ผู้เล่นแถวหน้ำแต่ละคนต้องมีส่วนหนึ่ง ส่วนใดของรองเท้ำอยู่ใกล้เส้นแบ่งแดนมำกกว่ำ เท้ำของผู้เล่นแดนตน 7.4.3.2 ผู้เล่นที่อยทู่ำงขวำ (หรือทำงซ้ำย) ต้องมี ส่วนใดส่วนหนงึ่ของเท้ำใกล้กับเส้นทำงขวำ (หรือซ้ำย) มำกกว่ำผู้เล่นที่อยู่ตำำแหน่งกลำงของ แถวเดียวกัน
  • 41. 7.5 กำรผิดตำำแหน่ง (POSITIONAL FAULT) 7.5.1 ทีมจะผิดตำำแหน่ง ถ้ำผู้เล่นคนใดคนหนงึ่ ไม่อยไู่ม่อยใู่นตำำแหน่งทถีู่กต้อง ขณะทผีู่้เสิร์ฟ ทำำกำรเสิร์ฟลูกบอล 7.5.2 ถ้ำผู้เสิร์ฟเสิร์ฟผิดกติกำขณะที่ทำำกำร เสิร์ฟ จะถือว่ำกำรเสิร์ฟผิดปกติเกิดขึ้นก่อนกำร ผิดตำำแหน่งของทีมตรงข้ำม 7.5.3 ถ้ำกำรเสิร์ฟผิดกติกำหลังจำกทำำกำรเสิร์ฟ ออกไปแล้ว จะถือว่ำกำรผิดตำำแหน่งเกิดขึ้นก่อน 7.5.4 กำรทำำผิดตำำแหน่งจะมีผลตำมมำดังนี้ 7.5.4.1 เป็นฝ่ำยแพ้ในกำรเล่นลูกครั้งนั้น 7.5.4.2 เปลี่ยนตำำแหน่งของผู้เล่นให้ถูกต้อง
  • 42. 7.6 กำรหมุนตำำแหน่ง (ROTATION) 7.6.1 ลำำดับกำรหมุนตำำแหน่งจะเป็นไปตำมใบ ส่งตำำแหน่งเริ่มต้นของทีมและควบคุมด้วย ลำำดับกำรเสิร์ฟและตำำแหน่งของผู้เล่นตลอดทั้ง เซต 7.6.2 เมื่อทีมที่รับลูกเสิร์ฟได้สิทธ์ในกำรทำำ เสิร์ฟ ผู้เล่นต้องหมุนต้องหมุนไปตำมเข็ม ผนู้เลำ่นฬตำำิกแำหไน่ปงท 1ี่ ๒ ตหำำมุนแไหปน่ง ตำำแหน่งที่ ๑ เพื่อทำำกำรเสิร์ฟ ผู้เล่นตำำแหน่งที่ ๑ หมุนไป ตำำแหน่งที่ ๖ ผู้เล่นตำำแหน่งที่ ๖ หมุนไป ตำำแหน่งที่ ๕ ผู้เล่นตำำแหน่งที่ ๕ หมุนไป ตำำแหน่งที่ ๔ ผู้เล่นตำำแหน่งที่ ๔ หมุนไป ตำำแหน่งที่ ๓
  • 43. 7.7 กำรหมุนตำำแหน่งผิด (ROTATIONAL FAULT) 7.7.1 กำรหมุนตำำแหน่งผิดเกิดขึ้นเมอื่ กำรเสิร์ฟ ไม่เป็นไปตำมตำำแหน่งกำรหมุนตำำแหน่ง และมีผล ตำมมำดังนี้ 7.7.1.1 เป็นฝ่ำยแพ้ในเล่นลูกครั้งนั้น 7.7.1.2 ต้องเปลี่ยนตำำแหน่งของผู้เล่นให้ถูก ต้อง 7.7.2 นอกจำกนนั้ ผู้บันทึกต้องตัดสินใจ หยุดกำรแข่งขันทันทีที่มีกำรผิด ตำำแหน่ง และยกเลิกคะแนนที่ได้ทำำทั้งหมดขณะที่ผิด ตำำแหน่ง ส่วนคะแนนของที่ทำำได้ทั้งหมด ขณะผิดตำำแหน่งส่วนคะแนนของ ทีมตรง ข้ำมให้คงไว้คงเดิมถ้ำคะแนนขณะผิดตำำแหน่งไม่ สำมำรถ ตรวจพบได้ให้ลงโทษเพียงเป็น ฝ่ำยแพ้ในกำรเล่นลูกครั้งนนั้เท่ำนั้น
  • 44. กติกำข้อที่ 8 กำรเปลี่ยนตัว 8.1 ข้อจำำกัดขอกกำรเปลี่ยนตัว (LIMIYION OF SUBSTITUTION) 8.1.1 ทีมหนงึ่จะเปลี่ยนตัวได้มำกทสีุ่ด 6 คนต่อเซต กำรเปลี่ยนตัวแต่ละครั้งจะเปลี่ยน เพียง 1 คน หรือมำกกว่ำก็ได้ 8.1.2 ผู้เล่นที่เริ่มต้นเล่นในเซตนั้นจะ เปลี่ยนตัวออกได้หนึ่งครั้งและกลับมำเข้ำไปเล่น ได้อีกหนึ่งครั้ง ในตำำแหน่งเดิม ตำมใบส่ง ตำำแหน่ง 8.1.3 ผู้เล่นสำำรองจะเปลี่ยนเข้ำแทนผู้เล่น ที่เริ่มต้นเล่นในเซตนั้นได้เพียงครั้งเดียวในแต่ละ เซต และผู้ทจี่ะเปลี่ยนตัวเข้ำมำแทนผู้เล่นสำำรอง ต้องเป็นผู้เล่นคนเดิมเท่ำนั้น
  • 45. 8.2 กำรเปลี่ยนตัวทไี่ด้รับกำรยกเว้น (EXCEPTIONAL SUBSTITUTION) ผู้เล่นทไี่ด้รับบำดเจ็บ (ยกเว้นผู้รับอิสระ) จน แข่งขันต่อไปไม่ได้ จะเปลี่ยนตัวตำมกติกำ ถ้ำ เปลี่ยนตัวตำมกติกำไม่ได้ ทีมนนั้จะได้รับกำร ยกเว้นให้เปลี่ยนได้ นอกเหนือจำกกติกำที่ กำำหนดไว้ใน กำรเปลี่ยนตัวทไี่ด้รับยกเว้นจะ 8.3 กำรเปลี่ยนตัวผู้เล่นที่ถูกทำำโทษออกจำก กำรแข่งขันหรือขำดขำดคุณสมบัติทจี่ะไม่แข่นัคุบณรสวมม บัติที่จะแข่งขันหรือ กับกำรเปลี่ยนตัวตำงมขัปน กติ (SUBSTITUTION ไม่ว่ำกรณีใด FOR EXPULSION OR DISQUALIFICATION)ผู้ เล่นที่ถูกทำำโทษให้ออกจำกกำรแข่งขันหรือขำด คุณสมบัติทจี่ะแข่งขัน ต้องทำำกำรเปลี่ยนตัวตำม กติกำ ถ้ำทำำกำรเปลี่ยนตัวตำมกติกำไม่ได้ จะ ถือว่ำทีมนั้นเป็นทีมที่ไม่พร้อมจะแข่งขัน
  • 46. 8.4 กำรเปลี่ยนตัวทผีิ่ดกติกำ (ILLEGAL SUBSTITUTION) 8.4.1 กำรเปลี่ยนตัวจะผิดกติกำ ถ้ำนอก เหนือจำกข้อจำำกัดทกี่ำำหนดไว้ในกติกำข้อ 8.1 8.4.2 เมอื่ทีมทำำกำรเปลี่ยนตัวผิดกติกำ และ กำรแข่งขันได้เล่นต่อไปแล้วจะต้องดำำเนินกำร ดังนี้(กติกำข้อ 9.1) 8.4.2.1 ทีมถูกลงโทษให้เป็นฝ่ำยแพ้ในกำร เล่นลูกครั้งนั้น 8.4.2.2 แก้ไขกำรเปลี่ยนตัวให้ถูกต้อง 8.4.2.3 คะแนนที่ทำำได้ตั้งแต่ทำำผิดกติกำ ของทีมนนั้จะถูกตัดออก ส่วนคะแนนของทีมตรง ข้ำมยังคงไว้ตำมเดิม
  • 47. กตติิกกำำขข้อ้อททีี่่ 99 รรูปูปแแบบบตต่่ำำงๆๆ ของกกำำร เเลล่น่น 9.1 ลูกบอลทอี่ยใู่นกำรเล่น (BALL IN PLAY) ลูกบอลจะอยู่ในกำรเล่นตั้งแต่ขณะที่ทำำกำร เสิร์ฟ โดยผู้ตัดสินที่ 1 เป็นผู้อนุญำต (กติกำข้อ 13.3) 9.2 ลูกบอลทไี่ม่ได้อยู่ในกำรเล่น หรือลูกตำย (BALL OUT OF PLAY) ลูกบอลทไี่ม่ได้อยู่ในกำรเล่น ตั้งแต่ขณะทมีี่กำร ทำำผิดกติกำซึ่งผู้ตัดสินคนใดคนหนึ่งจะเป็นผู้ให้ สัญญำณนกหวีด กำรทำำผิดกติกำสิ้นสุดลง พร้อมๆกับสัญญำณนกหวีด 9.3 ลูกบอลอยใู่นสนำม (BALL IN) ลูกบอลอยใู่นสนำม เมอื่ลูกบอลถูกพนื้สนำม แข่งขันรวมทงั้เส้นเขตสนำม (กติกำข้อ 1.1, 1.3.2)
  • 48. 9.4 ลูกบอลออกนอกสนำม (BALL OUT)ลูกบอล ออกนอกสนำมเมื่อ 9.4.1 บำงส่วนของลูกบอลตกลงบนพนื้ นอกเส้น เขตสนำมอย่ำงสมบูรณ์ 9.4.2 ลูกบอลถูกสงิ่ของทอี่ยู่ภำยนอกสนำม เพดำน หรือผู้ทไี่ม่ได้แข่งขันด้วย 9.4.3 ลูกบอลถูกเสำอำกำศ เชือก เสำ หรือ ตำข่ำยทอี่ยู่นอกแถบข้ำง (กติกำข้อ 2.3) 9.4.4 ลูกบอลข้ำมตำข่ำย นอกเขตแนวตั้งที่ กำำหนดให้ลูกบอลผ่ำนอย่ำงสมบูรณ์หรือเพียง บำงส่วน (ยกเว้นกรณีกติกำข้อ 11.1.2, 11.1.1) 9.4.5 ลูกบอลลอดใต้ตำข่ำยไปยังแดนของทีม ตรงข้ำมอย่ำงสมบูรณ์
  • 49. กตติกิกำำขข้อ้อททีี่่ 1100 กกำำรเเลล่น่นลลูกูกบอล 10.1 กำรถูกลูกบอลของทมี (TEAM HITS) ทมีถกู ลูกบอลได้มำกทสี่ดุ 3 ครั้ง (นอกจำกทำำกำรสกัดกั้น ตำมกติกำข้อ 15.4.1) เพื่อส่งลูกบอลกลับไปยังทมี ตรงข้ำม ถำ้ถูกลูกบอลมำกกว่ำนี้ ถือว่ำทมีทำำผิดกติกำ “ถูกลูก 4 ครั้ง” กำรถูกลูกบอลของทมี นับรวมทงั้ทผีู่้ เล่นตั้งใจถูกหรือไม่ตั้งใจถูกก็ตำม 10.1.1 กำรถูกลูกบอลอย่ำงต่อเนอื่ง (CONSECUTIVE CONTACTS) ผู้เล่นจะถูกลูกบอล 2 ครั้งติดต่อกันไมไ่ด้ (ยกเว้นกติกำข้อ 10.2.3, 15.2, 15.4.2) 10.1.2 กำรถกูลูกบอลพร้อมกัน (SIMULTENEOUS CONTACTS) ผู้เล่น 2 คนหรือ 3 คนอำจถูกลูกบอล พร้อมๆกันได้ในเวลำเดียวกัน 10.1.2.1 เมอื่ผู้เล่นทมีเดียวกัน 2 คน (3 คน) ถูกบอล
  • 50. 10.1.2.2 เมื่อทั้งสองทีมถูกลูกบอลพร้อมๆกันเหนือ ตำข่ำย และยังเล่นลูกบอลนนั้ต่อไปได้ ทีมรับที่รับลูก นั้นสำมำรถถกูลูกบอลได้อีก 3 ครั้ง ถ้ำลูกบอลออก นอกสนำม จะถือว่ำทีมที่อยฝูั่่งตรงข้ำมกับลูกบอลเป็น ฝ่ำยทำำลูกบอลออกนอกสนำม 10.1.2.3 ถ้ำกำรถูกลูกบอลพร้อม ๆ กันทงั้สองทมี เป็นกำรจับลูก (CATCH) จะถอืว่ำผิดกติกำทงั้สองทมี และต้องเล่นลูกนนั้ใหม่ 10.1.3 กำรเล่นลุกบอลโดยมกีำช่วยเหลือ (ASSISTED HIT) ภำยในบริเวณพนื้ทเี่ล่น ไมอ่นุญำต ให้ผู้เล่นอำศัยเพอื่นร่วมทมีหรือสิ่งใด ๆ ช่วยให้ไปถึง ลูกบอลได้ อย่ำงไรก็ตำม ผู้เล่นทกี่ำำลังจะทำำผิดกติกำ (โดยกำำลังจะถูกตำข่ำยหรือเส้นขั้นเขตแดน) อำจถูก ฉุดหรือดึงโดยเพื่อนร่วมทีมได้
  • 51. 10.2 การถูกลูกบอลในลักษณะต่าง ๆ (CHARACTERISTICS OF THE HIT) 10.2.1 ลูกบอลอาจถูกส่วนใดส่วนหนึ่งของ ร่างกายได้ 10.2.2 การถูกลูกบอลต้องเป็นการกระทบ ไม่ใช่จับหรือโยน ลูกบอลจะสะท้อนกลับใน ทิศทางใดก็ได้ 10.2.3 ลูกบอลอาจถูกหลายส่วนของร่างกายได้ ถ้าการถูกนนั้เกิดขึ้นพร้อม ๆ กัน 10.2.3.1 ในการสกกัดกนั้ ลูกบอลอาจถูกผู้สกัด กั้นคนเดียวหรือมากกว่าติดต่อกันได้ ถ้าการถูก ลูกบอลเป็นลักษณะการเล่นลูกบอลเพียงครั้ง เดียว 10.2.3.2 การถูกลูกบอลครั้งแรกของทีม ลูกบอล
  • 52. 10.3 การทำาผิดกติกาในการเล่นลูกบอล (FAULT IN PLATING THR BALL) 10.3.1 การถูกลูกบอล 4 ครั้ง ทีมถกูลูกบอล 4 ครั้ง ก่อนส่งลูกบอลไปยังทีมตรงข้าม 10.3.2 การถูกลูกบอลโดยมกีารช่วยเหลือ ผู้เล่น อาศัยเพื่อนร่วมทีมหรือสิ่งของใดๆ ช่วยใหเ้ข้าถึง ลูกบอลภายในบริเวณพื้นที่เล่นลูก 10.3.3 การจับลูกบอล ผู้เล่นไมไ่ด้กระทบลูกแต่จบั และ / หรือโยนลูกบอล 10.3.4 การถูกลูกบอลติดต่อกัน 2 ครั้ง ผู้เล่นถกู ลูกบอล 2 ครั้ง หรือถกูส่วนต่าง ๆ ของร่างกายในการ เล่นลูก 1ครั้ง
  • 53. กตติิกกาาขข้อ้อททีี่่ 1111 ลลููกบอลทที่บี่บรริเิเววณตตาาขข่า่าย 11.1 การข้ามตาข่ายของลูกบอล (BALL CROSSING THE NET) 11.1.1 ลูกบอลทสี่่งไปยังทีมตรงข้าม ต้องข้ามเหนือตาข่าย ภายในพื้นที่สำาหรับข้ามตาข่าย พื้นที่สำาหรับข้ามตาข่ายคือ พื้นที่ในแนวตั้งของตาข่ายที่ถูกกำาหนดด้วยสิ่งต่อไปนี้ 11.1.1.1 ส่วนตำ่าสุด โดยขอบบนของตาข่าย 11.1.1.2 ด้านข้าง โดยมีเสาอากาศและแนวสมมุติที่สูง ขึ้นไป 11.1.1.3 ส่วนบนสุด โดยเพดาน 11.1.2 ลูกบอลที่ข้ามแนวตาข่ายไปยังเขตรอบสนามของทีม ตรงข้ามโดยทุกส่วนของลูกบอล หรือเพียงบางส่วนของลูกบอล อยู่นอกแนวข้ามตาข่าย ลูกบอลอาจกลับมาเล่นต่อได้โดยเล่น ลูกไม่เกนิ 3 ครั้ง ถา้ 11.1.2.1 ผู้เล่นไม่ถูกแดนของทีมตรงข้าม 11.1.2.2 ลูกบอลที่เล่นกันมา ข้ามนอกเขตข้ามตาข่าย ลูกบอล ทางด้านเดียวกันของสนามทั้งลูกหรือเพียงบางส่วนของ
  • 54. 11.2 การถูกตาข่ายของลูกบอล (BALL TOUCHING THE NET) ลูกบอลอาจถูกตาข่ายได้ขณะที่กำาลังข้ามตาข่าย 11.3 ลูกบอลทชี่นตาข่าย (BALL IN THE NET) 11.3.1 ลูกบอลที่พุ่งชนตาข่ายยังเล่นต่อไปได้จน ครบ 3 ครั้ง ตามกำาหนดการเล่นลูก 11.3.2 ถ้าลูกบอลทำาให้ลูกบอลทำาให้ตาข่ายฉีก ขาด หรือทำาให้ตาข่ายหลุดให้ยกเลิกการเล่นลูก ครั้งนนั้และนำามาเล่นกันใหม่
  • 55. กตติิกกาาขข้อ้อททีี่่ 1122 ผผู้เู้เลล่่นทที่บี่บรริเิเววณตตาาขข่า่าย 12.1 การลำ้าเหนือตาข่าย (REACHING BEYOND THE NET) 12.1.1 ในการสกัดกั้น ผู้สกัดกั้นอาจลำ้าตาข่ายเข้าไป ถูกลูกบอลได้ถ้าไม่กีดขวางการเล่นลูกของทีมตรงกัน ข้าม คือไม่ถูกลูกก่อนหรือไม่ถูกลูกขณะที่ทีมตรงกัน ข้ามทำาการรุก 12.1.2 ภายหลังการตบลูกบอล มือของผู้เล่นอาจลำ้า ตาข่ายได้ ถ้าขณะถูกลูกเป็นการถูกลูกบอลในแดนของ ทีมของตนเอง 12.2 การลำ้าใต้ตาข่าย (PENETRATION UNDER THE NET) 12.2.1 อนุญาตให้ลำ้าเข้าไปในแดนของทีมตรงข้ามใต้ ตาข่ายได้ ถ้าไม่ขัดขวางการเล่นของทีมตรงข้าม 12.2.2 การลำ้าเส้นแบ่งแดนเข้าไปในแดนของทีมตรง ข้าม 12.2.2.1 อนุญาตให้เท้าหรือมือข้างเดียว (2 ข้าง) ถูก แดนของทีมตรงข้ามได้ ถ้าส่วนใดส่วนหนึ่งของเท้าหรือ
  • 56. 12.3 การถูกตาข่าย (CONTACT WITH THE NET) 12.3.1 การถกูตาข่ายหรือเสาอากาศไม่ผิดกติกา เว้นแต่เมื่อ อยู่ในลกัษณะเลน่ลูกหรือกีดขวางการเล่น การเล่นลูกบาง ลักษณะอาจรวมถึงลักษณะที่ผู้เล่นไม่ได้ถูกลูกบอลในขณะนั้น ด้วย 12.3.2 เมื่อผู้เล่นได้เลน่ลกูบอลไปแล้ว ผู้เล่นอาจถูกเสาเชือก หรือสิ่งใด ๆ ที่อยู่นอกระยะความยาวของตาข่ายได้ ถ้าไม่ กีดขวางการเล่น 12.3.3 ถ้าลูกบอลที่พุ่งชนตาข่ายทำาให้ตาข่ายไปถูกผู้เล่นทีม ตรงข้ามไม่ถือว่าผิดกติกา 12.4 การผิดกติกาของผู้เล่นที่ตาข่าย (PLAYERS’ FAULTS AT THE NET) 12.4.1 ผู้เลน่ถกูลูกบอลหรือถูกผู้เล่นทีมตรงข้าม ในแดน ของทีมตรงกันข้าม หรือระหว่างที่ทีมตรงกนัข้ามทำาการรุก 12.4.2 ผู้เล่นลำ้าเข้าไปในที่ว่างใต้ตาข่ายของทีมตรงข้าม และกีดขวางการเล่นของทีมตรงข้าม
  • 57. กตติกิกาาขข้อ้อททีี่่ 1133 กกาารเเสสิิรร์ฟ์ฟ 13.1 การเสิร์ฟครั้งแรกในแต่ละเซต (FIRST SERVICE IN A SET) 13.1.1 ทีมใดจะได้เสิร์ฟลูกแรกในเซตที่ 1 และ เซตตัดสิน (เซต 5) มีผลมาจากการตัดสินใจ ของทีมเมื่อทำาการเสี่ยง 13.1.2 ในเซตอื่น ๆทีมทไี่ม่ได้เสิร์ฟลูกแรกใน เซตที่ผ่านมาจะเป็นทีมที่ทำาการเสิร์ฟลูกแรก 13.2 ลำาดับการเสิร์ฟ (SERVICE ORDER) 13.2.1 ลำาดับการเสิร์ฟของผู้เล่นต้องเป็นไปตาม ที่บันทึกไว้ในใบส่งตำาแหน่ง 13.2.2 หลังจากากรเสิร์ฟครั้งแรกในแต่ละเซต ผู้เล่นที่เสิร์ฟครั้งต่อไปจะเป็นดังนี้ 13.2.2.1 เมอื่ฝ่ายเสิร์ฟชนะการเล่นลูกนนั้ ผู้ ทที่ำาการเสิร์ฟอยแู่ล้ว (หรือผู้เล่นสำารองเปลี่ยน
  • 58. 13.3 การอนุญาตให้เสิร์ฟ (AUTHORIZATION OF THE SERVICE) ผู้ตัดสินที่ 1 เป็นผอู้นุญาตให้เสิร์ฟ หลังจากการตรวจ ดูว่าทั้งสองทีมพร้อมแข่งขัน และผู้เสิร์ฟถือลูกบอลไว้ แล้ว 13.4 การปฏิบัติในการเสิร์ฟ (EXECUTION OF THE SERVICE) 13.4.1 หลังจากผู้เสิร์ฟโยนหรือปล่อยลูกบอลออกจาก มือแล้วจะเสิร์ฟด้วยมือหรือส่วนใดส่วนหนึ่งของแขน เพียงข้างเดียว 13.4.2 อนุญาตให้ทำาการโยนลูกบอลเพื่อทำาการเสิร์ฟ เพียงครงั้เดียว แต่อนุญาตให้เดาะหรือเคลอื่นไหว ลูกบอลในมือได้ 13.4.3 ขณะทำาการเสิร์ฟหรือกระโดดเสิร์ฟ ผู้เสิร์ฟ ต้องไม่ถูกพื้นที่เขตสนาม (รวมทงั้เส้นหลังด้วย) หรือ พนื้ทนี่อกเขตเสิร์ฟหลังจากทำาการเสิร์ฟแล้ว ผู้เสิร์ฟ จึงสามารถเหยียบหรือถูกพื้นนอกเขตเสิร์ฟและพื้นใน
  • 59. 13.5 การกำาบัง (SCREENING) 13.5.1 ผู้เล่นของทีมที่กำาลังจะทำาการเสิร์ฟ คนเดียวหรือหลาย คนก็ตามไม่บังทีมตรงข้ามเพื่อมิให้มองเห็นผู้เสิร์ฟเคลื่อนไหวแขน กระโดด หรือเคลื่อนที่ไปข้าง ๆ ขณะที่กำาลังทำาการเสิร์ฟ เพอื่บัง ทิศทางที่ลูกบอลพุ่งไป จะถือว่าเป็นการกำาบัง 13.6 การกระทำาผิดระหว่างทำาการเสิรฟ์ (FAULTS MADE DURING THE SEERVIC) 13.6.1 การเสิร์ฟที่ผิดกติกา การผิดกติกาต่อไปนี้จะต้องเปลี่ยน เสิร์ฟ ถึงแม้ว่าทีมตรงข้ามจะผิดตำาแหน่ง 13.6.1.1 ทำาการเสิร์ฟผิดลำาดับการเสิร์ฟ 13.6.1.1 ทำาการเสิร์ฟไม่ถูกต้อง 13.6.2 การผิดกติกาหลังจากการเสิร์ฟลูกบอลออกไปอย่างถูก ต้องแล้ว การเสิร์ฟนั้นอาจผิดกติกาได้ 13.62.1 ถ้าลูกบอลถูกผู้เล่นของทีมที่ทำาการเสิร์ฟหรือไม่ผ่าน พื้นที่ว่างเหนือตาข่ายอย่างสมบูรณ์ 13.6.2.2 ลูก “ออก” กติกาข้อ 9.4 13.6.2.3 ลูกบอลผ่านเหนือการกำาบัง
  • 60. กตติกิกาาขข้อ้อททีี่่ 1144 กกาารรรุกุก 14.1 การรุก (ATTACK HIT) 14.1.1 การกระทำาใด ๆ ที่ส่งลูกบอลไปยังทีมตรงข้ามยกเว้น การเสิร์ฟและการสกัดกั้น ถือว่าเป็นการรุก 14.1.2 ขณะทำาการรุก อนุญาตให้ใช้ปลายนิ้วเล่นลูกได้ถ้า การถูกลูกเป็นไปอย่างชัดเจน และไม่ได้ใช้ฝ่ามือจับหรือ โยนลูกบอลออกไป 14.1.2 การรุกจะสมบูรณ์เมื่อลูกได้ข้ามแนวดิ่งของตาข่ายไป แล้วทั้งลูกหรือเมื่อทีมตรงข้ามถูกลูก 14.2 ข้อกำาจัดของการรุก (RESTRICTIONS OF THE ATTACK HIT) 14.2.1 ผู้เล่นแถวหน้าสามารถทำาการรุกที่ระดับความสูง เท่าใดก็ได้ ถ้าการถูกลูกบอลอยู่ภายในแดนของผู้เล่นเอง 14.2.2 ผู้เล่นแถวหลังสามารถทำาการรุกที่ระดับความสูง เท่าใดก็ได้ จากหลังเขตรุก 14.2.2.1 ขณะกระโดด เท้าข้างหนึ่ง (ทั้งสองข้าง) ต้องไม่ แตะหรือข้ามเส้นรุก 14.2.2.2 หลังจากตบลูกแล้ว จึงจะลงยืนในเขตรุกได้
  • 61. 14.3 การรุกทผีิ่ดกติกา (FAULTS OF THE ATTACK HIT) 14.3.1 ถูกลูกบอลในแดนของทีมตรงข้าม 14.3.2 ตบลูกออกนอกเขตสนาม 14.3.3 ผู้เล่นแถวหลังทำาการรุกในเขตรุก ขณะ ที่ลูกบอลอยู่เหนือขอบบนสุดของตาข่ายทั้งลูก 14.3.4 ตบลูกบอลททีี่มตรงข้ามเสิร์ฟมา ขณะที่ ลูกบอลอยู่ในเขตรุกและอยู่เหนือขอบบนสุดของ ตาข่ายทั้งลูก 14.3.5 ตัวรับอิสระทำาการรุก โดยขณะถูก ลูกบอล ลูกบอลทงั้ลูกอยเู่หนือขอบบนสุดของ ตาข่าย 14.3.6 ผู้เล่นทำาการรุกขณะลูกบอลอยู่เหนือ ขอบบนสุดของตาข่าย โดยตัวรับอิสระทอี่ยใู่น แดนหน้าเป็นผู้ใช้นิ้วส่งลูกบอลมาให้ด้วยการ
  • 62. กตติกิกาาขข้อ้อททีี่่ 1155 กกาารสกกััดกกั้นั้น 15.1 การสกัดกั้น (BLOCK) 15.1.1 การสกัดกั้นคือ การเล่นของผู้เล่นที่อยู่ชิด ตาข่ายเพื่อป้องกันลูกบอลที่จะมาจากทีมตรงข้าม โดย เอื้อมมือสูงกว่าระดับสูงสุดของตาข่าย ผู้เล่นแถวหน้าเท่านั้นที่ได้รับอนุญาตให้ทำาการสกัดกั้น ได้ 15.1.2 ความพยายามที่จะสกัดกั้น คือลักษณะของการ ทำาการสกัดกั้นแต่ไม่ถูกลูกบอล 15.1.3 การสกัดกั้นที่สมบูรณ์ คือการสกัดกั้นที่สมบูรณ์ คือการสกัดกั้นที่ผู้สกัดกั้นถูกลูกบอล 15.1.4 การสกัดกั้นเป็นกลุ่ม คือการสกัดกั้นโดยผู้เล่น สองหรือสามคนที่อยู่ใกล้ ๆ กัน การสกัดกั้นจะสมบูรณ์ เมื่อผู้เล่นคนใดคนหนึ่งถูกลูกบอล 15.2 การถูกลูกบอลขณะทำาการสกัดกั้น (BLOCK CONTACT)
  • 63. 15.3 การสกัดกนั้ในแดนของทีมตรงข้าม (BLOCKING WITHIN THE OPPONENT’S SPACE) ในการสกัดกนั้ ผู้เล่นยนื่มือแขนลำ้าตาข่ายได้ ถ้าไม่กีดขวางการเล่นของทีมตรงข้าม การสกัด กั้นจะถูกลูกบอลในแดนของทีมตรงข้ามไม่ได้ จนกว่าทีมตรงข้ามจะถูกลูกเพื่อทำาการรุกแล้ว 15.4 การสกัดกนั้และการถูกลูกบอลของทีม (BLOCK AND TEAM HITS) 15.4.1 การถูกลูกบอลโดยการสกัดกนั้ ไม่นับ เป็นการถูกลูกบอลของทีม หลังจากถูกลูกบอล โดยการสกัดกั้นแล้ว ทีมนั้นยังถูกลูกบอลได้อีก 3 ครั้ง เพื่อส่งลูกกลับไปยังทีมตรงข้าม 15.4.2 หลังจากทำาการสกัดกั้น ผู้ถูกลูกแรกจะ เป็นผู้เล่นคนใดคนหนึ่งรวมทั้งผู้เล่นที่ถูกลูกบอล
  • 64. 15.6 การสกัดกนั้ทผีิ่ดกติกา (BLOCKING FAULT) 15.6.1 ผู้สกัดกั้นถูกลูกบอลในแดนของทีมตรง ข้ามก่อนหรือพร้อมกับการถูกลูกเพื่อทำาการรุกข องทีมตรงข้าม 15.6.2 ผู้เล่นแถวหลังหรือตัวรับอิสระ ทำาการ สกัดกั้นหรือรวมกลุ่มทำาการสกัดกั้นโดยสมบูรณ์ 15.6.3 สกัดกั้นลูกเสิร์ฟของทีมตรงข้าม 15.6.4 ลูกบอลถูกสกัดกั้นแล้วออกนอกเขต สนาม 15.6.5 สกัดกั้นลูกบอลด้านนอกเสาอากาศใน แดนของทีมตรงข้าม 15.6.6 ตัวรัยอิสระพยายามทำาการสกัดกั้นด้วย ตัวเองหรือรวมกับผู้เล่นอื่น
  • 65. กกาารบบาาดเเจจ็บ็บจจาากกกาาร เเลล่่นกกีฬีฬาา 1 สาเหตุภายใน (Intrinsic factor) ซึ่งเป็น สาเหตุจากตัวนักกีฬาเอง ได้แก่ 1.1.1 ความไม่เหมาะสมของรูปร่างหรือโครงสร้าง ของร่างกายกับการเล่นกีฬา ประเภทนั้นๆ 1.1.2 ความไมส่มบูรณ์ของร่างกาย 1.1.3 การได้รับบาดเจ็บจากอดีตระหว่างการแข่งขัน 1.1.4 สภาพจิตใจที่ไมพ่ร้อมหรือขาดสมาธิ 1.1.5 มกีารอบอุ่นร่างกายหรือเตรียมร่างกายเช่น ยืด กล้ามเนื้อไมเ่พียงพอ 1.1.6 ความเหนื่อยล้าของนักกีฬา 1.1.7 เทคนิคและวิธีการเล่นของนักกีฬาแต่ละคน
  • 66. 1.2 สาเหตุภายนอก (Extrinsic factor) ซึ่ง ได้แก่ 1.2.1 ความบกพร่องของสถานที่ที่ใช้ในการ แข่งขันและอุปกรณ์การเล่น 1.2.2 อุณหภมูิ ความชื้น สภาพอากาศ 1.2.3 เครื่องแต่งกายที่ไมเ่หมาะสมกับรูปร่าง 1.2.4 การเล่นของคู่แข่งขัน 1.2.5 การเร่งเร้าจากคนเชียร์ 1.2.6 ผู้ตัดสนิตามเกมไมท่นั 1.2.7 ลักษณะเฉพาะของกีฬาประเภทนั้นๆ ซงึ่รวม ถึงกติกาการแข่งขันด้วย ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้ล้วนมสี่วนสำาคัญซึ่งนำาไปสู่การ ได้รับบาดเจ็บจากการเล่นกีฬาได้ทั้งสิ้นเมื่อนักกีฬา ได้รับบาดเจ็บจากการเล่นกฬีา การปฐมพยาบาล เบื้องต้นจึงมคีวามจำาเป็นและมคีวามสำาคัญอย่างยงิ่
  • 67. กกาารบบาาดเเจจ็บ็บจจาากกกาารกกีฬีฬาา 1 บาดเจ็บที่เกิดจากภยันตราย 1.1 กระดูกแตกหรือหัก ( Fractures) กระดูกแตก หรือหักอาจเกิดจากแรงกระแทกโดยตรงกัน เช่น ถูกไม้ฮอกกี้ตีที่ขา หรือโดยทางอ้อมเช่น หกล้มเอา มือเท้าพื้นทำาให้กระดูกไหปลาร้าหัก มักพบในกีฬา ที่มีการปะทะกัน เช่น ฟุตบอล รักบี้ ฮอกกี้ บาสเกตบอล ยูโด มวย เป็นต้น บาดเจ็บจากการ กีฬาที่ทำาให้มีการหักหรือแตกของกระดูกถือเป็น เรื่องใหญ่เพราะความรุนแรงที่เกิดขึ้นจะทำาให้ เนื้อเยื่อโดยรอบได้รับภยันตรายอย่างมากด้วย เช่น เอ็น กล้ามเนื้อ หลอดเลือด เส้นประสาท และผิวหนัง โดยต้องให้การปฐมพยาบาลและการรักษาควบคู่กัน