SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  18
การเสด็จประพาสต่างประเทศของรัชกาลที่  5
เรื่อง ... การเสด็จประพาสต่างประเทศของรัชกาลที่  5 นำเสนอ อาจารย์วรรณา  ไชยศรี สมาชิก 1. นายธริศ  กลิ่นตะโก เลขที่  4 2. นายสาทิศ ใจถาวรนาถ เลขที่  10 3. น . ส . จารุภา จันเกษม เลขที่  32 4. น . ส . ปรีชญา สัตย์จริง เลขที่  34 5. น . ส . วรรณกร บุญมา เลขที่  35 6. น . ส . ศันสนีย์ สวัสดี เลขที่  38 7. น . ส . กรองทอง นุ่มประทุม เลขที่  43
คำนำ การนำเสนอผลงาน Powerpoint นี้ทำขึ้นเพื่อการเรียนรู้ถึงเรื่องการเสด็จประพาสต่างประเทศของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวในทวีปเอเชียและทวีปยุโรป
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเสด็จประพาสยุโรปเป็นครั้งแรกในปี พ . ศ .  2440   โดยประเทศที่ได้เสด็จประพาส คือ ประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส เดนมาร์ก สวีเดน เบลเยี่ยม อิตาลี ออสเตรเลีย ฮังการี สเปน เนเธอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ อียิปต์และเยอรมัน ทั้งนี้มีเหตุผลอยู่หลายประการในการเสด็จประพาสครั้งนี้ คือ เพื่อเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศมหาอำนาจ และร่วมปรึกษาหารือในการแก้ไขปัญหาบ้านเมือง ซึ่งในขณะนั้นมีปัญหาการสู้รบกันอยู่ การเสด็จประพาสของพระองค์ในครั้งนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้รับการต้อนรับอย่างยิ่งใหญ่และสมพระเกียรติของพระมหากษัตริย์ไทย
การเสด็จประพาสยุโรปและหัวเมืองของรัชกาลที่  5             พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จประพาสยุโรป  2   ครั้ง    ได้แก่    ใน พ . ศ .  2440   และ พ . ศ .  2540   เพื่อการเจรจาทางการเมืองกับมหาอำนาจตะวันตก    เพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างกัน    เพื่อศึกษาความเจริญก้าวหน้าด้านต่าง ๆ ของตะวันตก    เพื่อให้ชาวต่างชาติได้รู้จักไทยดีขึ้นและเพื่อแสวงหามิตรประเทศ
 
   การเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่  1   ใน พ . ศ .  2440   นับเป็นครั้งแรกของพระมหากษัตริย์ในภูมิภาคนี้ที่เสด็จประพาสยุโรป    โดยมีจุดประสงค์สำคัญ    คือ    เพื่อทำความเข้าใจกับชาติที่คุกคามไทย    เพื่อเจรจาโดยตรงกับผู้นำของฝรั่งเศสเพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้งในกรณีที่สืบเนื่องจากวิกฤติการณ์ ร . ศ .  112  ( พ . ศ .  2436 )    รวมทั้งเพื่อแสวงหาชาติพันธมิตรมาช่วยส่งเสริมสร้างความมั่นคงของประเทศ    การเสด็จประพาสยุโรปครั้งนี้ประสบความสำเร็จอย่างยิ่งในการสร้างสัมพันธไมตรีกับรัสเซียในรัชสมัยซาร์นิโคลัสที่  2   แห่งราชวงศ์โรมานอฟ
ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ส่งสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ    เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถไปศึกษาที่ประเทศรัสเซียด้วย    และในการเสด็จประพาสยุโรปครั้งนี้ได้ทรงเจรจาและปรับความเข้าใจกับฝรั่งเศส    ซึ่งคุกคามไทยอย่างหนัก    รวมทั้งมีจุดประสงค์ที่สำคัญอีกประการหนึ่ง    คือ    เพื่อทอดพระเนตรความเจริญของยุโรป    จะได้นำมาเป็นแบบอย่างในการปรับปรุงบ้านเมือง
   การเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่  2   ใน พ . ศ .  2450   ทรงมีจุดประสงค์สำคัญ    คือ    เพื่อรักษาพระอาการประชวรเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจและพระวักกะ  ( ไต )    และเพื่อเจรจาราชการบ้านเมืองกับชาติตะวันตกต่าง ๆ ทั้งเรื่องสิทธิสภาพนอกอาณาเขต    ปัญหาเรื่องคนในบังคับฝรั่งเศส    อำนาจการปกครองเหนือดินแดนเมืองหลวงพระบางบนฝั่งขวาแม่น้ำโขงและเขตปลอดทหาร   ( ไทย )  
ระยะ  25   กิโลเมตรบนฝั่งขวาของแม่น้ำโขงตลอดแนวชายแดนระหว่างราชอาณาจักรสยามกับอาณานิคมอินโดจีนของฝรั่งเศส    ปัญหาภาษีร้อยชัก  3   เป็นร้อยชัก  10   และโครงการสร้างทางรถไพสายใต้    ทรงให้สัตยาบันในสนธิสัญญาสยามกับฝรั่งเศส    พ . ศ .  2449   การเจรจากับปลัดกระทรวงการต่างประเทศอังกฤษซึ่งส่งผลให้เกิดสนธิสัญญาแลกเปลี่ยน  4   รัฐมลายูในเวลาต่อมา    และการเสด็จพระราชดำเนินทรงรับปริญญาด็อกเตอร์ออฟลอว์    ( Doctor of Law )    ณ    บ้านของอธิการบดีมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์
การเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 2
   นอกจากนี้ทรงมีลายพระราชหัตถเลขาพระราชทานแก่สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ    เจ้าฟ้านิภานภดล    วิมลประภาวดีเล่าเรื่องต่าง ๆ ตั้งแต่สภาพดินฟ้าอากาศ    สภาพบ้านเมือง    การรักษาพระองค์    สังคมและวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายของคนในประเทศที่เสด็จพระราชดำเนินเยือน    พระราชภารกิจ    พระราชดำริ    และพระราชวินิจฉัยส่วนพระองค์ที่ทรงมีต่อเหตุการณ์ต่าง ๆ ลายพระราชหัตถเลขานี้ต่อมาพิมพ์เป็นหนังสือ    " ไกลบ้าน "
ในการเสด็จประพาสหัวเมือง    รัชกาลที่  5   โปรดประพาสตามมณฑลหัวเมืองเพื่อดูสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎร    มีทั้งที่เสด็จไปตรวจราชการอย่างเป็นทางการและเสด็จประพาสเป็นการส่วนพระองค์    หรือ    " เสด็จประพาสต้น "    ทั้งเสด็จทางเรือ    เสด็จทางรถไฟอย่างสามัญชน    ทรงแต่งพระองค์อย่างคนธรรมดา    เช่น    เป็นคหบดี    ทำให้ได้พบปะพูดคุยกับชาวบ้านโดยที่ชาวบ้านบางคนไม่รู้ว่าพระองค์เป็นพระเจ้าแผ่นดิน    บางครั้งทรงได้รับเลี้ยงอาหารจากชาวบ้าน    ซึ่งการคบหาสมาคมกับราษฎรอย่างใกล้ชิด    ทำให้พระองค์ทราบทุกข์สุขและความเป็นไปของราษฎรตลอดจนทางปฏิบัติงานของข้าราชการในส่วนท้องถิ่น
ในปี พ . ศ .  2413   ทรงเสด็จพระราชดำเนินไปเยือนประเทศเพื่อนบ้านเป็นครั้งแรก ทรงเลือกที่จะเสด็จพระราชดำเนินไปในประเทศเพื่อบ้านใกล้เคียง คือ ประเทศสิงคโปร์ และประเทศชวา ด้วยทรงต้องการที่จะเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศเพื่อนบ้านในแถบอินโดจีนด้วย และเพื่อเรียนรู้การปกครองเนื่องด้วยประเทศทั้งสองนี้ต่างก็เป็นเมืองขึ้นของประเทศอังกฤษ
การเสด็จประพาสประเทศเพื่อนบ้าน
ต่อมาในปี พ . ศ .  2415   ทรงได้เสด็จเยือนประเทศเพื่อนบ้านอีก  2   ประเทศ คือประเทศอินเดีย และประเทศพม่า และเมื่อที่เสด็จไปประเทศอินเดียนั้น ทรงได้รับการถวายพระบรมสารีริกธาตุและพันธุ์พระศรีมหาโพธิ์จากพุทธคยาอินเดีย เพื่อนำกลับมาปลูกในประเทศไทย ทั้งนี้เป็นการทำนุบำรุงพระศาสนาให้เกิดความศรัทธาเลื่อมใสมากขึ้น
การเสด็จเยือนประเทศพม่า
อ้างอิงจาก www . trueplookpanya . com / true / knowledge_detail . php ? ... www . thaigoodview . com / node / 30453   www . kbeautifullife . com / prapaston /   www . abhakara . com / webboard / index . php?topic = 3414.0

Contenu connexe

Plus de วรรณา ไชยศรี

ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์วรรณา ไชยศรี
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1วรรณา ไชยศรี
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วรรณา ไชยศรี
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1วรรณา ไชยศรี
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1วรรณา ไชยศรี
 
การอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติ
การอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติการอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติ
การอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติวรรณา ไชยศรี
 

Plus de วรรณา ไชยศรี (14)

El nino
El ninoEl nino
El nino
 
Melting of glaciers
Melting of glaciersMelting of glaciers
Melting of glaciers
 
Remote sensing
Remote sensingRemote sensing
Remote sensing
 
Gis
GisGis
Gis
 
Map
MapMap
Map
 
ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1.1
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
 
Getting started
Getting startedGetting started
Getting started
 
ยุคหิน
ยุคหินยุคหิน
ยุคหิน
 
Earth2
Earth2Earth2
Earth2
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
 
การอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติ
การอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติการอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติ
การอนุรักษ์ทรพยากรธรรมชาติ
 

การเสด็จประพาศต้น

  • 2. เรื่อง ... การเสด็จประพาสต่างประเทศของรัชกาลที่ 5 นำเสนอ อาจารย์วรรณา ไชยศรี สมาชิก 1. นายธริศ กลิ่นตะโก เลขที่ 4 2. นายสาทิศ ใจถาวรนาถ เลขที่ 10 3. น . ส . จารุภา จันเกษม เลขที่ 32 4. น . ส . ปรีชญา สัตย์จริง เลขที่ 34 5. น . ส . วรรณกร บุญมา เลขที่ 35 6. น . ส . ศันสนีย์ สวัสดี เลขที่ 38 7. น . ส . กรองทอง นุ่มประทุม เลขที่ 43
  • 3. คำนำ การนำเสนอผลงาน Powerpoint นี้ทำขึ้นเพื่อการเรียนรู้ถึงเรื่องการเสด็จประพาสต่างประเทศของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวในทวีปเอเชียและทวีปยุโรป
  • 4. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเสด็จประพาสยุโรปเป็นครั้งแรกในปี พ . ศ . 2440 โดยประเทศที่ได้เสด็จประพาส คือ ประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส เดนมาร์ก สวีเดน เบลเยี่ยม อิตาลี ออสเตรเลีย ฮังการี สเปน เนเธอร์แลนด์ สวิตเซอร์แลนด์ อียิปต์และเยอรมัน ทั้งนี้มีเหตุผลอยู่หลายประการในการเสด็จประพาสครั้งนี้ คือ เพื่อเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศมหาอำนาจ และร่วมปรึกษาหารือในการแก้ไขปัญหาบ้านเมือง ซึ่งในขณะนั้นมีปัญหาการสู้รบกันอยู่ การเสด็จประพาสของพระองค์ในครั้งนี้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้รับการต้อนรับอย่างยิ่งใหญ่และสมพระเกียรติของพระมหากษัตริย์ไทย
  • 5. การเสด็จประพาสยุโรปและหัวเมืองของรัชกาลที่ 5            พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้เสด็จประพาสยุโรป 2 ครั้ง   ได้แก่   ใน พ . ศ . 2440  และ พ . ศ . 2540  เพื่อการเจรจาทางการเมืองกับมหาอำนาจตะวันตก   เพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างกัน   เพื่อศึกษาความเจริญก้าวหน้าด้านต่าง ๆ ของตะวันตก   เพื่อให้ชาวต่างชาติได้รู้จักไทยดีขึ้นและเพื่อแสวงหามิตรประเทศ
  • 6.  
  • 7.   การเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 1 ใน พ . ศ . 2440  นับเป็นครั้งแรกของพระมหากษัตริย์ในภูมิภาคนี้ที่เสด็จประพาสยุโรป   โดยมีจุดประสงค์สำคัญ   คือ   เพื่อทำความเข้าใจกับชาติที่คุกคามไทย   เพื่อเจรจาโดยตรงกับผู้นำของฝรั่งเศสเพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้งในกรณีที่สืบเนื่องจากวิกฤติการณ์ ร . ศ . 112 ( พ . ศ . 2436 )   รวมทั้งเพื่อแสวงหาชาติพันธมิตรมาช่วยส่งเสริมสร้างความมั่นคงของประเทศ   การเสด็จประพาสยุโรปครั้งนี้ประสบความสำเร็จอย่างยิ่งในการสร้างสัมพันธไมตรีกับรัสเซียในรัชสมัยซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่งราชวงศ์โรมานอฟ
  • 8. ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ส่งสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ   เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถไปศึกษาที่ประเทศรัสเซียด้วย   และในการเสด็จประพาสยุโรปครั้งนี้ได้ทรงเจรจาและปรับความเข้าใจกับฝรั่งเศส   ซึ่งคุกคามไทยอย่างหนัก   รวมทั้งมีจุดประสงค์ที่สำคัญอีกประการหนึ่ง   คือ   เพื่อทอดพระเนตรความเจริญของยุโรป   จะได้นำมาเป็นแบบอย่างในการปรับปรุงบ้านเมือง
  • 9.   การเสด็จประพาสยุโรปครั้งที่ 2 ใน พ . ศ . 2450  ทรงมีจุดประสงค์สำคัญ   คือ   เพื่อรักษาพระอาการประชวรเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจและพระวักกะ ( ไต )   และเพื่อเจรจาราชการบ้านเมืองกับชาติตะวันตกต่าง ๆ ทั้งเรื่องสิทธิสภาพนอกอาณาเขต   ปัญหาเรื่องคนในบังคับฝรั่งเศส   อำนาจการปกครองเหนือดินแดนเมืองหลวงพระบางบนฝั่งขวาแม่น้ำโขงและเขตปลอดทหาร   ( ไทย )  
  • 10. ระยะ 25 กิโลเมตรบนฝั่งขวาของแม่น้ำโขงตลอดแนวชายแดนระหว่างราชอาณาจักรสยามกับอาณานิคมอินโดจีนของฝรั่งเศส   ปัญหาภาษีร้อยชัก 3  เป็นร้อยชัก 10  และโครงการสร้างทางรถไพสายใต้   ทรงให้สัตยาบันในสนธิสัญญาสยามกับฝรั่งเศส    พ . ศ . 2449  การเจรจากับปลัดกระทรวงการต่างประเทศอังกฤษซึ่งส่งผลให้เกิดสนธิสัญญาแลกเปลี่ยน 4 รัฐมลายูในเวลาต่อมา   และการเสด็จพระราชดำเนินทรงรับปริญญาด็อกเตอร์ออฟลอว์   ( Doctor of Law )   ณ   บ้านของอธิการบดีมหาวิทยาลัยเคมบริดจ์
  • 12.   นอกจากนี้ทรงมีลายพระราชหัตถเลขาพระราชทานแก่สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ   เจ้าฟ้านิภานภดล   วิมลประภาวดีเล่าเรื่องต่าง ๆ ตั้งแต่สภาพดินฟ้าอากาศ   สภาพบ้านเมือง   การรักษาพระองค์   สังคมและวัฒนธรรมที่มีความหลากหลายของคนในประเทศที่เสด็จพระราชดำเนินเยือน   พระราชภารกิจ   พระราชดำริ   และพระราชวินิจฉัยส่วนพระองค์ที่ทรงมีต่อเหตุการณ์ต่าง ๆ ลายพระราชหัตถเลขานี้ต่อมาพิมพ์เป็นหนังสือ   " ไกลบ้าน "
  • 13. ในการเสด็จประพาสหัวเมือง   รัชกาลที่ 5  โปรดประพาสตามมณฑลหัวเมืองเพื่อดูสภาพชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎร   มีทั้งที่เสด็จไปตรวจราชการอย่างเป็นทางการและเสด็จประพาสเป็นการส่วนพระองค์   หรือ   " เสด็จประพาสต้น "   ทั้งเสด็จทางเรือ   เสด็จทางรถไฟอย่างสามัญชน   ทรงแต่งพระองค์อย่างคนธรรมดา   เช่น   เป็นคหบดี   ทำให้ได้พบปะพูดคุยกับชาวบ้านโดยที่ชาวบ้านบางคนไม่รู้ว่าพระองค์เป็นพระเจ้าแผ่นดิน   บางครั้งทรงได้รับเลี้ยงอาหารจากชาวบ้าน   ซึ่งการคบหาสมาคมกับราษฎรอย่างใกล้ชิด   ทำให้พระองค์ทราบทุกข์สุขและความเป็นไปของราษฎรตลอดจนทางปฏิบัติงานของข้าราชการในส่วนท้องถิ่น
  • 14. ในปี พ . ศ . 2413 ทรงเสด็จพระราชดำเนินไปเยือนประเทศเพื่อนบ้านเป็นครั้งแรก ทรงเลือกที่จะเสด็จพระราชดำเนินไปในประเทศเพื่อบ้านใกล้เคียง คือ ประเทศสิงคโปร์ และประเทศชวา ด้วยทรงต้องการที่จะเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศเพื่อนบ้านในแถบอินโดจีนด้วย และเพื่อเรียนรู้การปกครองเนื่องด้วยประเทศทั้งสองนี้ต่างก็เป็นเมืองขึ้นของประเทศอังกฤษ
  • 16. ต่อมาในปี พ . ศ . 2415 ทรงได้เสด็จเยือนประเทศเพื่อนบ้านอีก 2 ประเทศ คือประเทศอินเดีย และประเทศพม่า และเมื่อที่เสด็จไปประเทศอินเดียนั้น ทรงได้รับการถวายพระบรมสารีริกธาตุและพันธุ์พระศรีมหาโพธิ์จากพุทธคยาอินเดีย เพื่อนำกลับมาปลูกในประเทศไทย ทั้งนี้เป็นการทำนุบำรุงพระศาสนาให้เกิดความศรัทธาเลื่อมใสมากขึ้น
  • 18. อ้างอิงจาก www . trueplookpanya . com / true / knowledge_detail . php ? ... www . thaigoodview . com / node / 30453 www . kbeautifullife . com / prapaston / www . abhakara . com / webboard / index . php?topic = 3414.0