SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  11
Télécharger pour lire hors ligne
นักธรรมชั้นโท
วิชา อนุพุทธประวัติ
เจาะลึกขอสอบธรรมสนามหลวง
๑. อนุพุทธะ คือทานพวกไหน หมายความวาอยางไร ?
ตอบ อนุพุทธะ คือพระสาวกของพระศาสดา หมายความวา ผูตรัสรูตามพระศาสดา
นับแตโสดาบันขึ้นไป ฯ
๒. อนุพุทธะ เปนบรรพชิตหรือมิใชบรรพชิต เปนบุรุษหรือสตรี ?
ตอบ เปนบรรพชิตก็มี มิใชบรรพชิตก็มี เปนบุรุษก็มี เปนสตรีก็มี ฯ
๓. การศึกษาอนุพุทธประวัติ ชวนใหเกิดความรูสึกเชนไร ?
ตอบ ชวนใหเกิดความเลื่อมใสในพระสาวกนั้น ๆ และใครจะดําเนินตามปฏิปทาของทาน ฯ
๔. พระสังฆรัตนะ อุบัติขึ้นในโลกเมื่อไร ?
ตอบ อุบัติขึ้นในโลก เมื่อสมเด็จพระบรมศาสดาทรงแสดงธรรมจักรใหเปนไป ฯ
๕. พระบรมศาสดายังความเปนพระสัมมาสัมพุทธะใหบริบูรณไดอยางไร ?
ตอบ ดวยทรงเทศนาโปรดผูอื่นใหรูตามเปนอนุพุทธบุคคลพยานในการตรัสรูของพระองค
และรับพระธรรมไวเปนหลักปฏิบัติ ฯ
๖. เมื่อจะระลึกถึงคุณของพระอนุพุทธะ ควรเปลงวาจาวาอยางไร ?
ตอบ ควรเปลงวาจาวา “ สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ สงฺฆํ นมามิ ” เปนตน
๗. อนุพุทธะ จําแนกออกเปนบุคคลไดแกใครบาง ?
ตอบ ไดแกพระอริยบุคคล ๘ คือ
พระผูตั้งอยูในโสดาปตติมรรค และ โสดาปตติผล คูที่ ๑
พระผูตั้งอยูในสกทาคามิมรรค และ สกทคามิผล คูที่ ๒
พระผูตั้งอยูในอนาคามิมรรค และ อนาคามิผล คูที่ ๓
พระผูตั้งอยูในอรหัตตมรรค และ อรหัตตผล คูที่ ๔ ฯ
๘. อนุพุทธะรูปแรกคือใคร ?
ตอบ พระอัญญาโกณฑัญญะ
๙. ทานไดรับเอตทัคคะในทางใด ?
ตอบ ทางรัตตัญู คือผูรูราตรีนาน ฯ
๑๐. บุคคลเชนไร ไดชื่อวา “ รัตตัญู ” ผูรูราตรีนาน ?
ตอบ ไดแกบุคคลผูที่รูโลกมากอน มีประสบการณไดยินไดเห็นมามาก เปนผูรูเห็นมากอนใคร
๑๑. พระอัญญาโกณฑัญญะ ไดดวงตาเห็นธรรมวาอยางไร ?
ตอบ ไดดวงตาเห็นธรรมวาสิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเปนธรรมดาสิ่งนั้นทั้งมวล ลวนมี
ความดับเปนธรรมดา ฯ
๑๒. ทานเปนอุปชฌายของใคร ?
ตอบ ของปุณณกมาณพ ผูเปนหลาน ฯ
๑๓. พระสาวกที่มีธรรมภาษิตหรือธรรมบรรยายมาก คือใคร ?
ตอบ พระสารีบุตร ฯ
๑๔. จงบอกธรรมบรรยายของทานมาสัก ๒ สูตร ?
ตอบ ธรรมบรรยายของทาน คือ สังคีติสูตร , ทสุตตสูตร , สัมมาทิฏฐิสูตร เปนตน ฯ
๑๕. นอกจากตําแหนงอัครสาวกเบื้องขวาแลว ทานไดรับตําแหนงใดอีก ?
ตอบ ตําแหนงธรรมเสนาบดี ฯ
๑๖. พระพุทธองคทรงโปรดใหใครเปนนวกัมมาธิฏฐายีแหงบุพพาราม ?
ตอบ พระมหาโมคคัลลานะ ฯ
๑๗. วิธีบริหารหมูคณะ พระอัครสาวกทั้งคูมีอุปมาวาอยางไร ?
ตอบ มีอุปมาวา พระสารีบุตร เปรียบเหมือนมารดาผูใหกําเนิด พระมหาโมคคัลลานะ
เปรียบเหมือนนางนม ผูเลี้ยงดูทารกที่เกิดแลว ฯ
๑๘. พระสารีบุตรไดสําเร็จพระอรหันต เพราะฟงธรรมเทศนาที่พระศาสดาทรงแสดงแกใคร ?
ที่ไหน ?
ตอบ เพราะฟงธรรมเทศนาที่พระศาสดาทรงแสดงแก ทีฆนขอัคคิเวสนโคตร ที่ถ้ําสุกรขาตา ภูเขาคิชฌกูฏ
แขวงเมืองราชคฤห ฯ
๑๙. พระธรรมเทศนานั้น ชื่ออะไร ?
ตอบ เวทนาปริคคหสูตร ฯ
๒๐. พระอัครสาวก ปรินิพพานที่ไหน ?
ตอบ พระสารีบุตรปรินิพพานที่หมูบานนาลันทา บานเกิดของตน พระมหาโมคคัลลานะปรินิพพานที่
ตําบลกาฬศิลา แขวงมคธ ฯ
๒๑. พระอัครสาวกทั้ง ๒ หลังอุปสมบทแลวกี่วัน จึงไดบรรลุพระอรหัตตผล ?
ตอบ พระมหาโมคคัลลานะบวชได ๗ วัน, พระสารีบุตรบวชได ๑๕ วัน ฯ
๒๒. พระสาวกและพระสาวิการูปไหน ไมไดอุปสมบทดวยอุปสัมปทา ๓ ?
ตอบ พระสาวก คือ พระมหากัสสปะ, พระสาวิกา คือ พระนางประชาบดีโคตมี ฯ
๒๓. ทานทั้งสอง อุปสมบทดวยวิธีใด ?
ตอบ พระมหากัสสปะ อุปสมบทดวยการรับโอวาท ๓ ขอ, พระนางประชาบดีโคตมี
อุปสมบทดวยการรับครุธรรม ๘ ประการ ฯ
๒๔. โอวาท ๓ ขอ ที่พระพุทธเจาประทานอุปสมบทแกพระมหากัสสปะนั้นวาอยางไร ?
ตอบ โอวาท ๓ ขอ ความวา กัสสปะ เธอพึงศึกษาวา
๑. เราจักเขาไปตั้งความละอายและความยําเกรงไวในภิกษุทั้งที่เปนผูเฒา ทั้งที่เปน
ผูใหญ ทั้งที่เปนผูปานกลางอยางแรงกลา
๒. เราจักฟงธรรมอันใดอันหนึ่ง ซึ่งประกอบดวยกุศล เราจะเงี่ยหูฟงธรรมนั้น
พิจารณาเนื้อความ
๓. เราจักไมละสติไปในกาย คือพิจารณารางกายเปนอารมณ ฯ
๒๕. ทานไดรับเอตทัคคะในดานใด ?
ตอบ ทางถือธุดงคเปนวัตร ฯ
๒๖. ทานถือธุดงคอะไรบาง ?
ตอบ ทานถือธุดงค ๓ คือ ๑. อยูปาเปนวัตร ๒. เที่ยวบิณฑบาตเปนวัตร
๓. ทรงผาบังสกุลเปนวัตร ฯ
๒๗. ปฏิบัติเชนไรจึงเรียกวา “ ภทฺเทกรตฺโต ” ผูมีราตรีเดียวเจริญ ?
ตอบ ผูมีความเพียรไมเกียจครานทั้งกลางวันและกลางคืนอยูดวยความไมประมาท ชื่อวา ภทฺ
เทกรตฺโต ฯ
๒๘. พระเถระรูปใด ไดรับเอตทัคคะทาง ภทฺเทกรตฺโต ?
ตอบ พระมหากัจจายนะ ฯ
๒๙. พระมหากัจจายนะไดทําหนาที่แทนพระศาสดาอยางไร ?
ตอบ ประกาศศาสนาในกรุงอุชเชนี ยังพระเจาจัณฑปชโชต และชาวเมืองอุชเชนีใหนับถือใน
พุทธศาสนา ฯ
๓๐. กษัตริย พราหมณ เศรษฐี ขาราชการ นักบวชศาสนาอื่น ที่ยอมตัวบวชเปนสาวกของ
พระพุทธเจามีใครเปนตัวอยาง ?
ตอบ กษัตริย ไดแก พระภัททิยะ, พราหมณ ไดแก พระราธะ, เศรษฐี ไดแก พระยสะ
๓๑. นามพระสาวกที่ขึ้นตนดวย “ โส ” มีใครบาง ?
ตอบ มีพระโสณกุฏิกัณณะ, พระโสณโกฬิวิสะ, พระโสภิตะ ฯ
๓๒. แตละองคเลิศในทางไหน ?
ตอบ พระโสณกุฏิกัณณะ เลิศในทางแสดงธรรมดวยถอยคําอันไพเราะ
พระโสณโกฬิวิสะ เลิศในทางปรารถความเพียร
พระโสภิตะ เลิศในทางระลึกชาติได ฯ
๓๓. อาทิตตปริยายสูตร แปลวาอยางไร ? พระสูตรนี้ทรงแสดงแกใคร ?
ตอบ แปลวา พระสูตรที่แสดงถึงสภาวธรรมวาเปนของรอน ทรงแสดงแกชลิฎภิกษุ ๓ พี่นอง
๓๔. ใครเปนผูรับเอตทัคคะทางมีบริวารมาก ?
ตอบ พระอุรุเวลกัสสปะ ฯ
๓๕. เพราะเหตุไร ทานจึงทูลขอบวชในพุทธศาสนา ?
ตอบ เพราะทานมีปญญาหยั่งเห็นวา ลัทธิของตนนั้นหาสาระแกนสารมิได มิใชทางหลุดพน
และทูลขออุปสมบทกับพระพุทธเจา ดวยเห็นวาคําสอนของพระองคเปนหนทางแหงความหลุด
พน ฯ
๓๖. พระอานนทไดบรรลุโสดาบัน เพราะฟงธรรมจากใคร ?
ตอบ พระปุณณมันตานีบุตร ฯ
๓๗. พระอนุรุทธะกับพระอานนท องคไหนบวชกอน ? รูไดอยางไร ?
ตอบ พระอนุรุทธะบวชกอน รูไดดวยในปรินิพพานสมัย พระอานนทพูดกับพระอนุรุทธะ
ใชคําวา ภันเต ฯ
๓๘. พระปุณณมันตานีบุตรไดรับยกยองในทางไหน ?
ตอบ ในทางเปนยอดธรรมกถึก ฯ
๓๙. ประพฤติพรหมจรรยเพื่ออะไร อาศัยตัวอยางอะไร จึงตอบเชนนั้น ?
ตอบ ประพฤติพรหมจรรยเพื่อความดับไปไมมีเชื้อ อาศัยตัวอยางที่พระปุณณมันตานีบุตรตอบ
แกพระสารีบุตร ฯ
๔๐. พิณสามสายเปรียบกับความเพียร พระพุทธองคทรงแสดงแกใคร ?
ตอบ ทรงแสดงแกพระโสณโกฬิวิสะ ฯ
๔๑. ใครเปนผูแสดงธรรมุเทศแกพระเจาโกรัพยะ ?
ตอบ พระรัฐบาล ฯ
๔๒. สหชาติของพระพุทธเจา คืออะไรบาง ?
ตอบ พระนางพิมพา, พระอานนท, พระกาฬุทายี, มากัณฐกะ, หมอแหงขุมทรัพย,
ตนศรีมหาโพธิ์ ฯ
๔๓. อนุตตริยะ ๓ ประการ ที่พระเจาพิมพิสารไดสําเร็จคือ ?
ตอบ คือ ทัสสนานุตตริยะ, สวนานุตตริยะ, และลาภานุตตริยะ ฯ
๔๔. วนปรัสถะ แปลวาอะไร เปนคําเรียกคนเชนไร ?
ตอบ แปลวาผูอยูปา เปนคําเรียกผูที่ไดรับความสุขในทางคฤหัสถเพียงพอแลว ปลีกตัวเขาปา
บําเพ็ญพรต ฯ
๔๕. มาณพ ๑๖ คน เปนศิษยของใคร ?
ตอบ พราหมณพาวรี ฯ
๔๖. มาณพ ๑๖ คน ใครที่ไดรับเอตทัคคะ ?
ตอบ พระโมฆราช ฯ
๔๗. ทานไดรับเอตทัคคะในทางไหน ?
ตอบ เอตทัคคะทางทรงจีวรเศราหมอง ฯ
๔๘. ในพุทธกาล มีพระเจาแผนดินสละราชสมบัติออกบวชกี่องค คือใครบาง ?
ตอบ ๒ องค คือ พระภัททิยะ และพระมหากัปปนะ ฯ
๔๙. ในพุทธกาล ผูที่ถูกแผนดินสูบมีกี่คน เพราะโทษอะไร ?
ตอบ มี ๕ คน คือ
๑. พระเจาสุปปพุทธโกลิยราชา เพราะโทษที่ปดทางโคจรของพระพุทธเจา
๒. พระเทวทัต เพราะโทษคือทําสังฆเภท
๓. นางจิญจมาณวิกา เพราะโทษคือใสความพระพุทธเจาดวยอสัทธรรมอันไมจริง
๔ .นันทมาณพ เพราะโทษคือประทุษรายพระอุบลวัณณาเถรี
๕. นันทยักษ เพราะโทษคือประหารพระสารีบุตร ฯ
๕๐. พระเถรีรูปใด ที่มีตําแหนงเปนอัครสาวิกาซาย – ขวา ?
ตอบ พระอุบลวัณณาเถรี อัครสาวิกาเบื้องซาย
พระเขมาเถรี อัครสาวิกาเบื้องขวา ฯ
๕๑. พระสาวกรูปใด มีความสัมพันธกับขอความตอไปนี้
๑. ผูวิสัชนาแกไขเรื่องวิสุทธิ ๗ เปรียบดวยรถ ๗ ผลัด
๒. ทานคลอดในขณะที่มารดายังบวชเปนภิกษุณีอยู ?
ตอบ ๑. พระปุณณมันตานีบุตร ๒. พระกุมารกัสสปะ ฯ
๕๒. พระองคุลิมาล มีชื่อเดิมวาอะไร ? ทานเปนใคร ? มาจากไหน ?
ตอบ เดิมชื่อวา อหิงสกะ เปนบุตรของพราหมณปุโรหิตของพระเจาปเสนทิโกศลกับ นางมัน
ตานีพราหมณี เปนชาวเมืองสาวัตถี ฯ
๕๓. ผูที่ออกบวชเพราะเพื่อนชักชวน มีใครบาง ?
ตอบ พระภัททิยะ, พระภัคคุ, พระกิมพิละ ฯ
๕๔. ผูที่ออกบวชเพราะเบื่อหนายคือ.............?
ตอบ พระมหากัสสปะ และพระยสะ ฯ
๕๕. ผูออกบวชเพราะอยากไดเวทมนต คือใคร ? เลิศในทางไหน ?
ตอบ พระวังคีสะ เลิศในทางฉลาดในการผูกคําเปนบทคาถา ฯ
๕๖. พระเถระผูบรรลุอรหัตตผล และปรินิพพานแปลกกวาผูอื่นคือใคร ?
ตอบ พระอานนท ฯ
๕๗. พระอานนท เกี่ยวของกับพระพุทธเจาอยางไรบาง ?
ตอบ พระอานนทเปนโอรสของพระเจาสุกโกทนะ ผูเปนพระเจาอาวของพระพุทธเจา เมื่อ
อุปสมบทแลวไดรับตําแหนงเปนพุทธะอุปฏฐากของพระพุทธเจา ฯ
๕๘. ใครเปนผูตรึกมหาปุริสวิตก ๗ ประการ ทานเลิศในทางไหน ?
ตอบ พระอนุรุทธะ เลิศในทางมีทิพยจักษุ ฯ
๕๙. วิตกขอที่ ๘ ที่พระพุทธเจาใหพระอนุรุทธะตรึก มีความวาอยางไร ?
ตอบ มีความวา ธรรมนี้เปนของผูยินดีในธรรมเปนเครื่องเนิ่นชา ไมใชของผูยินดีในธรรมที่
เนิ่นชา ฯ
๖๐. สามเณรรูปแรกคือใคร ? พระเถระรูปใดเปนอุปชฌาย ?
ตอบ ราหุลกุมาร , พระสารีบุตรเปนอุปชฌาย
๖๑. ราหุลสามเณรอุปสมบทดวยวิธีใด ? เลิศในทางใด ?
ตอบ ดวยวิธีรับไตรสรณคมน , เลิศในทางการศึกษา ฯ
๖๒. พระเถระที่ปรารถความเพียรเกินไป เดินจงกรมจนเทาแตก คือใคร ?
ตอบ พระโสณโกฬิวิสะ ฯ
๖๓. พระพุทธเจาตรัสสอนทานอยางไร ?
ตอบ สอนใหปรารถความเพียรแตพอปานกลาง ไมยิ่งนักไมหยอนนักโดยยกพิณ ๓ สายขึ้น
เปนอุปมา ฯ
๖๔. ทานไดรับยกยองในดานใด ?
ตอบ ดานปรารถความเพียร ฯ
๖๕. กอนบวชพระอุบาลีมีหนาที่อะไร ?
ตอบ มีหนาที่เปนชางกลบก ( ภูษามาลา ) ของศากยสกุล ฯ
๖๖. ทานไดทําหนาที่สําคัญแกพระพุทธศาสนาอยางไร ?
ตอบ ไดรับเลือกใหเปนผูวิสัชนาในสวนพระวินัยปฏก ในคราวสังคายนาครั้งที่ ๑ ฯ
๖๗. พระอุบาลีไดรับเอตทัคคะดานใด ?
ตอบ ดานทรงไวซึ่งวินัย ฯ
๖๘. ใครเปนผูอัญเชิญใหพระพุทธเจาเสด็จสูเมืองกบิลพัสด
ตอบ พระกาฬุทายี ฯ
๖๙. ทานไดรับเอตทัคคะในดานใด ?
ตอบ ดานผูยังตระกูลใหเลื่อมใส ฯ
๗๐. พระปุณณมันตานีบุตร ตั้งอยูในคุณธรรมอะไรบาง ?
ตอบ ทานตั้งอยูในคุณธรรม ๑๐ ประการ คือมักนอย สันโดษ ชอบสงัด ไมคลุกคลีดวยหมูคณะ
ปรารภความเพียร บริบูรณดวยศีล ปญญา วิมุตติ ความรูเห็นในวิมุตติฯ
ศาสนพิธี
๑. กุศลพิธีกับบุญพิธี ในศาสนพิธีเลม ๑ มีความมุงหมายอยางไร ?
ตอบ มีความมุงหมายทางพิธีกรรมของคฤหัสถผูครองเรือนจะพึงกระทําใหถูกตองตามระเบียบ
แบบแผน เชน การแสดงตนเปนพุทธมามกะ พิธีเวียนเทียนในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา
หรือการทําบุญขึ้นบานใหม การทําบุญอุทิศ เปนตน ฯ
๒. กุศลพิธีกับบุญพิธี ในศาสนพิธีเลม ๒ มีความมุงหมายอยางไร ?
ตอบ มีความมุงหมายเนนหนักไปในพิธีกรรมของบรรพชิต คือพระสงฆที่ตองปฏิบัติให
ถูกตองตามวินัยและธรรมเนียมปฏิบัติ เชน พิธีเจริญพระพุทธมนต พิธีเขาพรรษา ออกพรรษา
เปนตน ฯ
๓. วันธรรมสวนะ คือวันอะไร ? ปฏิบัติสืบเนื่องมาแตครั้งไหน ?
ตอบ คือวันกําหนดประชุมฟงธรรม ที่เรียกวา วันพระ, พุทธบริษัทปฏิบัติสืบเนื่องมาแต
ครั้งพุทธกาล ฯ
๔. การจัดใหมีการแสดงพระธรรมเทศนานั้น เพราะมีความเชื่ออยางไร ?
ตอบ เพราะเชื่อวา พระพุทธศาสนาจะตั้งอยูยั่งยืนได ก็ดวยมีการประกาศเผยแผพระพุทธ
ธรรมคําสั่งสอนของพระพุทธเจา จึงจัดใหมีการแสดงพระธรรมเทศนาในโอกาสที่เหมาะสม คือ
วันธรรมสวนะนี้เอง ฯ
๕. เทศนตามกาลนิยม คือการเทศนเชนไร ?
ตอบ คือการเทศนในวันธรรมสวนะ และวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา เชน วันวิสาขบูชา
วันมาฆบูชา วันอาสาฬหบูชา เปนตน ฯ
๖. เทศนพิเศษหมายถึงการเทศนเชนไร ?
ตอบ หมายถึง การเทศนที่จัดใหมีเปนพิเศษ นอกจากงานทําบุญที่มีตามกาลนิยม เชน
เทศนสอนประชาชน เทศนอบรมคนเปนหมูคณะโดยเฉพาะ และเทศนไตรมาส ที่มีผูนิยมจัด
ตามวัด ตามบาน เปนตน ฯ
๗. การทําบุญอัฐิ นิยมทํากันในโอกาสใดบาง ?
ตอบ การบุญอัฐินั้น นิยมทําอยู ๓ ลักษณะคือ
๑. ทําบุญฉลองธาตุ ทําตอจากวันฌาปนกิจศพแลว
๒. ทําบุญ ๗ วัน หลังจากฌาปนกิจศพแลว
๓. ทําบุญอุทิศใหผูตายในรอบป
๘. การบังสกุลเปนหมายถึงอะไร ?
ตอบ หมายถึง บุญกริยาที่เจาภาพประสงคจะบริจาควัตถุ ที่เนื่องดวยกายของตนโดยเฉพาะ
อุทิศแกสงฆใหเปนบังสกุล ปกตินิยมทําเมื่อปวยหนัก เปนการกําหนดมรณานุสสติอีกวิธีหนึ่ง ฯ
๙. สามีจิกรรมมีกี่แบบ อะไรบาง ?
ตอบ มี ๒ แบบ คือแบบขอขมา และแบบถวายสักการะ ฯ
๑๐. พิธีทําสังฆอุโบสถ มีความหมายและกําหนดกาลไวอยางไร ?
ตอบ หมายถึง พิธีที่สงฆประชุมพรอมเพรียงกันในสีมา ประกอบพิธีทําอุโบสถสวดพระ
ปาติโมกข กําหนดในวันอุโบสถทุกกึ่งเดือน หรือในวันสามัคคี ฯ
๑๑. การทําวัตร หมายถึงอะไร ?
ตอบ หมายถึง การทํากิจวัตรของพระภิกษุ-สามเณร และอุบาสกอุบาสิกา เปนการทํากิจที่
ตองทําประจําจนเปนวัตรปฏิบัติเรียกสั้นๆวา ทําวัตร ฯ
๑๒. ในการทําวัตรนั้น มีกิจที่ตองทําอยางไรบาง ?
ตอบ กิจที่ตองทําในการทําวัตร คือ สวดบูชาพระรัตนตรัยสวดพิจารณาปจจัยที่บริโภคทุกวัน
ตามหนาที่ สวดเจริญกรรมฐานตามสมควร และสวดอนุโมทนาของทายก กับสวดแผกุศล ฯ
๑๓. แบบทําวัตรเชา-เย็น ที่ใชในปจจุบันนี้ มีมาแตครั้งไหน?
ตอบ มีมาแตสมัยรัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา ฯ รัชกาลที่ ๔ ทรงนิพนธขึ้นใช
เมื่อครั้งยังทรงผนวช ฯ
๑๔. วันที่กําหนดใหเปนวันธรรมสวนะ คือวันใดบาง ?
ตอบ คือวัน ๘ ค่ํา ๑๔ ค่ํา และ ๑๕ ค่ํา ของปกษทั้งขางขึ้นและขางแรมของทุกเดือน ฯ
๑๕. วันเทโวโรหณะ คือวันอะไร ?
ตอบ วันที่พระพุทธเจาเสด็จลงจากเทวโลก หลังจากเสด็จขึ้นไปจําพรรษาอยูบนสวรรคชั้น
ดาวดึงส เพื่อแสดงพระอภิธรรมเทศสนาโปรดพุทธมารดาในเทวโลก ๓ เดือน เมื่อออกพรรษา
แลวก็เสด็จลงมายังมนุษยโลก วันที่พระพุทธเจาเสด็จลงจากเทวโลกนี้เอง เรียกวา “ วันเทโว
โรหณะ ”
๑๖. สังฆอุโบสถคืออะไร ?
ตอบ คืออุโบสถกรรมที่พระภิกษุรวมกันทําตั้งแต ๔ รูปขึ้นไปชวยกันทํากิจสงฆ แลวตอง
สวดพระปาติโมกขในทามกลางสงฆเปนหลักของการกระทํา ฯ
๑๘. เทศนแจง หมายถึงอะไร ?
ตอบ หมายถึง การแสดงธรรมแจกแจงวัตถุ และหัวขอในพระไตรปฏกออกใหที่ประชุม
รับทราบ ฯ
๑๘. การสวดพระพุทธมนต กับการเจริญพระพุทธมนตตางกันอยางไร ?
ตอบ ตางกัน คือ การสวดพระพุทธมนต หมายถึง การที่พระสงฆสวดสาธยายมนต ใน
งานอวมงคล หรือปรารถเหตุอันเปนอวมงคล ฯ
การเจริญพระพุทธมนต หมายถึง การที่พระสงฆสวดสาธยายมนตในงานมงคล หรือปรารถ
เหตุอันเปนมงคล ฯ
๑๙. เทศนมหาชาติ คืออะไร ?
ตอบ เทศนมหาชาติ คือเทศนาเวสสันดรชาดก เปนบุญพิธีที่นิยมจัดใหมีกันมาแตโบราณกาล
ฯ
๒๐. ผาวัสสิกสาฎก, ผาบังสุกุลจีวร ไดแกผาเชนไร ?
ตอบ ผาวัสสิกสาฎก ไดแก ผาอาบน้ําฝน ผาบังสุกุลจีวร ไดแกผาเปอนฝุนที่ไมมีเจาของ
หวงแหนทิ้งอยูตามปา ถนนหนทาง ตามปาชา ที่สุดแมผาที่เขาอุทิศวางไวแทบเทา รวม
เรียกวา ผาบังสุกุลจีวร ฯ
๒๑. สวดมาติกา และสดับปกรณนั้น มีความหมายตางกันอยางไร ?
ตอบ ตางกันโดยโวหาร ทางราชการงานหลวงใชวา สดับปกรณ แตทางงานราษฎรสามัญ
ทั่วไปเรียกวา สวดมาติกาบังสุกุล ฯ
๒๒. สตัปปกรณาภิธรรม หมายถืงอะไร ?
ตอบ หมายถึง การสวดบทมาติกาของพระอภิธรรม ๗ คัมภีรเปนประเพณีนิยมจัดให
พระสงฆสวดในงานทําบุญศพ หรืออัฐิ ฯ
๒๓. ผาอัจเจกจีวร, วิเสสอนุโมทนา คืออะไร ?
ตอบ ผาอัจเจกจีวร คือ ผาจํานําพรรษาที่ทายกรีบดวนถวายกอนกําหนดกาล วิเสสอนุ
โมทนา คือ การอนุโมทนาดวยบทสวดสําหรับอนุโมทนาเปนพิเศษเฉพาะทาน เฉพาะกาล
และเฉพาะเรื่อง ฯ
๒๔. ภิกษุผูชักผาปา ควรปฏิบัติอยางไร ?
ตอบ พึงยืนสงบตรงหนาผา เอื้อมมือขชวาจับผา โดยหงายมือ แลวกลาววาจา หรือบริกรรม
ในใจวา “ อิมํ ปสุกูลจีวรํ อสฺสามิกํ มยฺหํ ปาปุณาติ ” ผาบังสุกุลผืนนี้ไมมีเจาของหวง
แหน ยอมถึงแกขาพเจาดังนี้ จบแลวชักผานั้นมา เปนอันเสร็จพิธี ฯ
๒๕. พิธีเขาพรรษา มีความหมายและกําหนดกาลอยางไร ?
ตอบ พิธีเขาพรรษา หมายถึง พิธีที่พระสงฆประชุมพรอมกันประกอบอธิษฐานเขาอยูจํา
พรรษา ตลอด ๓ เดือน ปกติกําหนดวันแรม ๑ ค่ํา เดือน ๘ ฯ
๒๖. พิธีออกพรรษา หมายถึงอะไร มีกําหนดกาลอยางไร ?
ตอบ หมายถึง พิธีที่สงฆประชุมพรอมกันในสีมา ประกอบพิธีทําปวารณาตามวินัยนิยม
กําหนดวันเพ็ญเดือน ๑ ฯ
๒๗. การสวดพระอภิธรรมหนาไฟ ตางจากการสวดมาติกาอยางไร ?
ตอบ การสวดพระอภิธรรมหนาไฟ นิยมพระ ๔ รูป และนิยมสวดในขณะทําฌาปนกิจศพ
การจัดสถานที่ก็จัดภายในบริเวณฌาปนสถานเทานั้น สวนการสวดมาติกา ไมจํากัดภิกษุจะสวด
กี่รูปก็ได สวนสถานที่จะจัดในที่ใดก็ได และไมสวดในขณะทําการฌาปนกิจ ฯ
๒๘. คําถวายสังฆทานวา “ สงฺฆสฺส นิยฺยาเทมิ ” ใชอยางไร ?
ตอบ ใชกลาวคําถวายของที่ใหญ ยกถวายดวยมือไมได อาจใชสายสิญจนโยงถวาย หรือ
ถวายน้ําแทน ฯ
๒๙. คําถวายสังฆทานวา “ สงฺฆสฺส โอโณชยาม ” ใชอยางไร ?
ตอบ ใชกลาวคําถวายสิ่งของเล็กนอย ซึ่งยกถวายดวยมือได ฯ
๓๐. จงเขียนคําถวายสังฆทานสามัญเฉพาะบาลีมาดู ?
ตอบ อิมานิ มยํ ภนฺเต ภตฺตานิ สปริวารานิ ภิกฺขุสงฺฆสฺส โอโณชยาม สาธุ โน ภนฺเต
ภิกฺขุสงฺโฆ อิมานิ ภตฺตานิ สปริวารานิ ปฏิคฺคณฺหาตุ อมฺหากํ ทีฆรตฺตํ หิตาย สุขาย ฯ
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึก

Contenu connexe

Tendances

กาพย์เห่เรือ ชมไม้
กาพย์เห่เรือ ชมไม้กาพย์เห่เรือ ชมไม้
กาพย์เห่เรือ ชมไม้Smile Petsuk
 
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทยniralai
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธprimpatcha
 
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยคู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยSarod Paichayonrittha
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลphornphan1111
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์Padvee Academy
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2niralai
 
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวมประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวมthinnakornsripho
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 

Tendances (20)

สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdfสรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
 
กาพย์เห่เรือ ชมไม้
กาพย์เห่เรือ ชมไม้กาพย์เห่เรือ ชมไม้
กาพย์เห่เรือ ชมไม้
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
 
ปกโครงร่างวิทยานิพนธ์
ปกโครงร่างวิทยานิพนธ์ปกโครงร่างวิทยานิพนธ์
ปกโครงร่างวิทยานิพนธ์
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
 
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทยคู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
คู่มือทำวัตรเช้า เย็น แปลไทย
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูลคู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
คู่มือครู เล่มที่ ๑ เรื่อง คำมูล
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
พระอภิธรรมปิฎก บทที่ ๑
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย2
 
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวมประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
ประโยคสามัญ ประโยคซ้อน ประโยครวม
 
1. กัณฑ์ที่ 1 ทศพร 19 พระคาถา
1. กัณฑ์ที่ 1 ทศพร 19 พระคาถา1. กัณฑ์ที่ 1 ทศพร 19 พระคาถา
1. กัณฑ์ที่ 1 ทศพร 19 พระคาถา
 
วิชา สัมพันธ์ไทย ๑
วิชา สัมพันธ์ไทย ๑วิชา สัมพันธ์ไทย ๑
วิชา สัมพันธ์ไทย ๑
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
ประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
ประมวลปัญหาและเฉลย  นักธรรมชั้นตรี  พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdfประมวลปัญหาและเฉลย  นักธรรมชั้นตรี  พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
ประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
 

Similaire à อนุพุทธประวัติ เจาะลึก

จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555Carzanova
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayatippaya6563
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาutumporn charoensuk
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrareciteTongsamut vorasan
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddhaTongsamut vorasan
 
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโตประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโตspk-2551
 

Similaire à อนุพุทธประวัติ เจาะลึก (20)

จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
Buddha
BuddhaBuddha
Buddha
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชน
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
ส 43101 ม.6
ส 43101 ม.6ส 43101 ม.6
ส 43101 ม.6
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
 
แนวข้อสอบอภิธรรมปิฎก (เวิร์ด)
แนวข้อสอบอภิธรรมปิฎก (เวิร์ด)แนวข้อสอบอภิธรรมปิฎก (เวิร์ด)
แนวข้อสอบอภิธรรมปิฎก (เวิร์ด)
 
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโตประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
 

Plus de Wataustin Austin

ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 english
ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 englishใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 english
ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 englishWataustin Austin
 
Morning evening chanting(david)
Morning evening chanting(david)Morning evening chanting(david)
Morning evening chanting(david)Wataustin Austin
 
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
สุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชนสุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชนWataustin Austin
 
เนตติปกรณ์
เนตติปกรณ์เนตติปกรณ์
เนตติปกรณ์Wataustin Austin
 
วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2Wataustin Austin
 
อภิธรรมเป็นพุทธพจน์
อภิธรรมเป็นพุทธพจน์อภิธรรมเป็นพุทธพจน์
อภิธรรมเป็นพุทธพจน์Wataustin Austin
 
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึกอนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ เจาะลึกWataustin Austin
 
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนา
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนาสารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนา
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนาWataustin Austin
 
สัจจสังเขป
สัจจสังเขปสัจจสังเขป
สัจจสังเขปWataustin Austin
 
สคิปัฏฐานทาง (1)
สคิปัฏฐานทาง (1)สคิปัฏฐานทาง (1)
สคิปัฏฐานทาง (1)Wataustin Austin
 
สคิปัฏฐานทาง (1) (1)
สคิปัฏฐานทาง (1) (1)สคิปัฏฐานทาง (1) (1)
สคิปัฏฐานทาง (1) (1)Wataustin Austin
 
วุตโตทยมัญชรี
วุตโตทยมัญชรีวุตโตทยมัญชรี
วุตโตทยมัญชรีWataustin Austin
 
วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2Wataustin Austin
 
วิปัสสนานัย เล่ม1
วิปัสสนานัย เล่ม1วิปัสสนานัย เล่ม1
วิปัสสนานัย เล่ม1Wataustin Austin
 
วฤตตรัตนากร Varutarattana
วฤตตรัตนากร Varutarattanaวฤตตรัตนากร Varutarattana
วฤตตรัตนากร VarutarattanaWataustin Austin
 
ลักษณะของจิต
ลักษณะของจิตลักษณะของจิต
ลักษณะของจิตWataustin Austin
 

Plus de Wataustin Austin (20)

ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 english
ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 englishใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 english
ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 english
 
Pali chant
Pali chantPali chant
Pali chant
 
Morning evening chanting(david)
Morning evening chanting(david)Morning evening chanting(david)
Morning evening chanting(david)
 
Bookchant
BookchantBookchant
Bookchant
 
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
สุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชนสุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
 
เนตติปกรณ์
เนตติปกรณ์เนตติปกรณ์
เนตติปกรณ์
 
วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2
 
อภิธรรมเป็นพุทธพจน์
อภิธรรมเป็นพุทธพจน์อภิธรรมเป็นพุทธพจน์
อภิธรรมเป็นพุทธพจน์
 
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึกอนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
 
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนา
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนาสารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนา
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนา
 
สัจจสังเขป
สัจจสังเขปสัจจสังเขป
สัจจสังเขป
 
สคิปัฏฐานทาง (1)
สคิปัฏฐานทาง (1)สคิปัฏฐานทาง (1)
สคิปัฏฐานทาง (1)
 
สรภัญญะ1
สรภัญญะ1สรภัญญะ1
สรภัญญะ1
 
สคิปัฏฐานทาง (1) (1)
สคิปัฏฐานทาง (1) (1)สคิปัฏฐานทาง (1) (1)
สคิปัฏฐานทาง (1) (1)
 
วุตโตทยมัญชรี
วุตโตทยมัญชรีวุตโตทยมัญชรี
วุตโตทยมัญชรี
 
วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2
 
วิปัสสนานัย เล่ม1
วิปัสสนานัย เล่ม1วิปัสสนานัย เล่ม1
วิปัสสนานัย เล่ม1
 
วฤตตรัตนากร Varutarattana
วฤตตรัตนากร Varutarattanaวฤตตรัตนากร Varutarattana
วฤตตรัตนากร Varutarattana
 
ลัทธิเชน
ลัทธิเชนลัทธิเชน
ลัทธิเชน
 
ลักษณะของจิต
ลักษณะของจิตลักษณะของจิต
ลักษณะของจิต
 

อนุพุทธประวัติ เจาะลึก

  • 1. นักธรรมชั้นโท วิชา อนุพุทธประวัติ เจาะลึกขอสอบธรรมสนามหลวง ๑. อนุพุทธะ คือทานพวกไหน หมายความวาอยางไร ? ตอบ อนุพุทธะ คือพระสาวกของพระศาสดา หมายความวา ผูตรัสรูตามพระศาสดา นับแตโสดาบันขึ้นไป ฯ ๒. อนุพุทธะ เปนบรรพชิตหรือมิใชบรรพชิต เปนบุรุษหรือสตรี ? ตอบ เปนบรรพชิตก็มี มิใชบรรพชิตก็มี เปนบุรุษก็มี เปนสตรีก็มี ฯ ๓. การศึกษาอนุพุทธประวัติ ชวนใหเกิดความรูสึกเชนไร ? ตอบ ชวนใหเกิดความเลื่อมใสในพระสาวกนั้น ๆ และใครจะดําเนินตามปฏิปทาของทาน ฯ ๔. พระสังฆรัตนะ อุบัติขึ้นในโลกเมื่อไร ? ตอบ อุบัติขึ้นในโลก เมื่อสมเด็จพระบรมศาสดาทรงแสดงธรรมจักรใหเปนไป ฯ ๕. พระบรมศาสดายังความเปนพระสัมมาสัมพุทธะใหบริบูรณไดอยางไร ? ตอบ ดวยทรงเทศนาโปรดผูอื่นใหรูตามเปนอนุพุทธบุคคลพยานในการตรัสรูของพระองค และรับพระธรรมไวเปนหลักปฏิบัติ ฯ ๖. เมื่อจะระลึกถึงคุณของพระอนุพุทธะ ควรเปลงวาจาวาอยางไร ? ตอบ ควรเปลงวาจาวา “ สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ สงฺฆํ นมามิ ” เปนตน ๗. อนุพุทธะ จําแนกออกเปนบุคคลไดแกใครบาง ? ตอบ ไดแกพระอริยบุคคล ๘ คือ พระผูตั้งอยูในโสดาปตติมรรค และ โสดาปตติผล คูที่ ๑ พระผูตั้งอยูในสกทาคามิมรรค และ สกทคามิผล คูที่ ๒ พระผูตั้งอยูในอนาคามิมรรค และ อนาคามิผล คูที่ ๓ พระผูตั้งอยูในอรหัตตมรรค และ อรหัตตผล คูที่ ๔ ฯ ๘. อนุพุทธะรูปแรกคือใคร ? ตอบ พระอัญญาโกณฑัญญะ ๙. ทานไดรับเอตทัคคะในทางใด ? ตอบ ทางรัตตัญู คือผูรูราตรีนาน ฯ ๑๐. บุคคลเชนไร ไดชื่อวา “ รัตตัญู ” ผูรูราตรีนาน ? ตอบ ไดแกบุคคลผูที่รูโลกมากอน มีประสบการณไดยินไดเห็นมามาก เปนผูรูเห็นมากอนใคร ๑๑. พระอัญญาโกณฑัญญะ ไดดวงตาเห็นธรรมวาอยางไร ?
  • 2. ตอบ ไดดวงตาเห็นธรรมวาสิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเปนธรรมดาสิ่งนั้นทั้งมวล ลวนมี ความดับเปนธรรมดา ฯ ๑๒. ทานเปนอุปชฌายของใคร ? ตอบ ของปุณณกมาณพ ผูเปนหลาน ฯ ๑๓. พระสาวกที่มีธรรมภาษิตหรือธรรมบรรยายมาก คือใคร ? ตอบ พระสารีบุตร ฯ ๑๔. จงบอกธรรมบรรยายของทานมาสัก ๒ สูตร ? ตอบ ธรรมบรรยายของทาน คือ สังคีติสูตร , ทสุตตสูตร , สัมมาทิฏฐิสูตร เปนตน ฯ ๑๕. นอกจากตําแหนงอัครสาวกเบื้องขวาแลว ทานไดรับตําแหนงใดอีก ? ตอบ ตําแหนงธรรมเสนาบดี ฯ ๑๖. พระพุทธองคทรงโปรดใหใครเปนนวกัมมาธิฏฐายีแหงบุพพาราม ? ตอบ พระมหาโมคคัลลานะ ฯ ๑๗. วิธีบริหารหมูคณะ พระอัครสาวกทั้งคูมีอุปมาวาอยางไร ? ตอบ มีอุปมาวา พระสารีบุตร เปรียบเหมือนมารดาผูใหกําเนิด พระมหาโมคคัลลานะ เปรียบเหมือนนางนม ผูเลี้ยงดูทารกที่เกิดแลว ฯ ๑๘. พระสารีบุตรไดสําเร็จพระอรหันต เพราะฟงธรรมเทศนาที่พระศาสดาทรงแสดงแกใคร ? ที่ไหน ? ตอบ เพราะฟงธรรมเทศนาที่พระศาสดาทรงแสดงแก ทีฆนขอัคคิเวสนโคตร ที่ถ้ําสุกรขาตา ภูเขาคิชฌกูฏ แขวงเมืองราชคฤห ฯ ๑๙. พระธรรมเทศนานั้น ชื่ออะไร ? ตอบ เวทนาปริคคหสูตร ฯ ๒๐. พระอัครสาวก ปรินิพพานที่ไหน ? ตอบ พระสารีบุตรปรินิพพานที่หมูบานนาลันทา บานเกิดของตน พระมหาโมคคัลลานะปรินิพพานที่ ตําบลกาฬศิลา แขวงมคธ ฯ ๒๑. พระอัครสาวกทั้ง ๒ หลังอุปสมบทแลวกี่วัน จึงไดบรรลุพระอรหัตตผล ? ตอบ พระมหาโมคคัลลานะบวชได ๗ วัน, พระสารีบุตรบวชได ๑๕ วัน ฯ
  • 3. ๒๒. พระสาวกและพระสาวิการูปไหน ไมไดอุปสมบทดวยอุปสัมปทา ๓ ? ตอบ พระสาวก คือ พระมหากัสสปะ, พระสาวิกา คือ พระนางประชาบดีโคตมี ฯ ๒๓. ทานทั้งสอง อุปสมบทดวยวิธีใด ? ตอบ พระมหากัสสปะ อุปสมบทดวยการรับโอวาท ๓ ขอ, พระนางประชาบดีโคตมี อุปสมบทดวยการรับครุธรรม ๘ ประการ ฯ ๒๔. โอวาท ๓ ขอ ที่พระพุทธเจาประทานอุปสมบทแกพระมหากัสสปะนั้นวาอยางไร ? ตอบ โอวาท ๓ ขอ ความวา กัสสปะ เธอพึงศึกษาวา ๑. เราจักเขาไปตั้งความละอายและความยําเกรงไวในภิกษุทั้งที่เปนผูเฒา ทั้งที่เปน ผูใหญ ทั้งที่เปนผูปานกลางอยางแรงกลา ๒. เราจักฟงธรรมอันใดอันหนึ่ง ซึ่งประกอบดวยกุศล เราจะเงี่ยหูฟงธรรมนั้น พิจารณาเนื้อความ ๓. เราจักไมละสติไปในกาย คือพิจารณารางกายเปนอารมณ ฯ ๒๕. ทานไดรับเอตทัคคะในดานใด ? ตอบ ทางถือธุดงคเปนวัตร ฯ ๒๖. ทานถือธุดงคอะไรบาง ? ตอบ ทานถือธุดงค ๓ คือ ๑. อยูปาเปนวัตร ๒. เที่ยวบิณฑบาตเปนวัตร ๓. ทรงผาบังสกุลเปนวัตร ฯ ๒๗. ปฏิบัติเชนไรจึงเรียกวา “ ภทฺเทกรตฺโต ” ผูมีราตรีเดียวเจริญ ? ตอบ ผูมีความเพียรไมเกียจครานทั้งกลางวันและกลางคืนอยูดวยความไมประมาท ชื่อวา ภทฺ เทกรตฺโต ฯ ๒๘. พระเถระรูปใด ไดรับเอตทัคคะทาง ภทฺเทกรตฺโต ? ตอบ พระมหากัจจายนะ ฯ ๒๙. พระมหากัจจายนะไดทําหนาที่แทนพระศาสดาอยางไร ? ตอบ ประกาศศาสนาในกรุงอุชเชนี ยังพระเจาจัณฑปชโชต และชาวเมืองอุชเชนีใหนับถือใน พุทธศาสนา ฯ ๓๐. กษัตริย พราหมณ เศรษฐี ขาราชการ นักบวชศาสนาอื่น ที่ยอมตัวบวชเปนสาวกของ พระพุทธเจามีใครเปนตัวอยาง ? ตอบ กษัตริย ไดแก พระภัททิยะ, พราหมณ ไดแก พระราธะ, เศรษฐี ไดแก พระยสะ ๓๑. นามพระสาวกที่ขึ้นตนดวย “ โส ” มีใครบาง ? ตอบ มีพระโสณกุฏิกัณณะ, พระโสณโกฬิวิสะ, พระโสภิตะ ฯ
  • 4. ๓๒. แตละองคเลิศในทางไหน ? ตอบ พระโสณกุฏิกัณณะ เลิศในทางแสดงธรรมดวยถอยคําอันไพเราะ พระโสณโกฬิวิสะ เลิศในทางปรารถความเพียร พระโสภิตะ เลิศในทางระลึกชาติได ฯ ๓๓. อาทิตตปริยายสูตร แปลวาอยางไร ? พระสูตรนี้ทรงแสดงแกใคร ? ตอบ แปลวา พระสูตรที่แสดงถึงสภาวธรรมวาเปนของรอน ทรงแสดงแกชลิฎภิกษุ ๓ พี่นอง ๓๔. ใครเปนผูรับเอตทัคคะทางมีบริวารมาก ? ตอบ พระอุรุเวลกัสสปะ ฯ ๓๕. เพราะเหตุไร ทานจึงทูลขอบวชในพุทธศาสนา ? ตอบ เพราะทานมีปญญาหยั่งเห็นวา ลัทธิของตนนั้นหาสาระแกนสารมิได มิใชทางหลุดพน และทูลขออุปสมบทกับพระพุทธเจา ดวยเห็นวาคําสอนของพระองคเปนหนทางแหงความหลุด พน ฯ ๓๖. พระอานนทไดบรรลุโสดาบัน เพราะฟงธรรมจากใคร ? ตอบ พระปุณณมันตานีบุตร ฯ ๓๗. พระอนุรุทธะกับพระอานนท องคไหนบวชกอน ? รูไดอยางไร ? ตอบ พระอนุรุทธะบวชกอน รูไดดวยในปรินิพพานสมัย พระอานนทพูดกับพระอนุรุทธะ ใชคําวา ภันเต ฯ ๓๘. พระปุณณมันตานีบุตรไดรับยกยองในทางไหน ? ตอบ ในทางเปนยอดธรรมกถึก ฯ ๓๙. ประพฤติพรหมจรรยเพื่ออะไร อาศัยตัวอยางอะไร จึงตอบเชนนั้น ? ตอบ ประพฤติพรหมจรรยเพื่อความดับไปไมมีเชื้อ อาศัยตัวอยางที่พระปุณณมันตานีบุตรตอบ แกพระสารีบุตร ฯ ๔๐. พิณสามสายเปรียบกับความเพียร พระพุทธองคทรงแสดงแกใคร ? ตอบ ทรงแสดงแกพระโสณโกฬิวิสะ ฯ ๔๑. ใครเปนผูแสดงธรรมุเทศแกพระเจาโกรัพยะ ? ตอบ พระรัฐบาล ฯ ๔๒. สหชาติของพระพุทธเจา คืออะไรบาง ? ตอบ พระนางพิมพา, พระอานนท, พระกาฬุทายี, มากัณฐกะ, หมอแหงขุมทรัพย, ตนศรีมหาโพธิ์ ฯ ๔๓. อนุตตริยะ ๓ ประการ ที่พระเจาพิมพิสารไดสําเร็จคือ ?
  • 5. ตอบ คือ ทัสสนานุตตริยะ, สวนานุตตริยะ, และลาภานุตตริยะ ฯ ๔๔. วนปรัสถะ แปลวาอะไร เปนคําเรียกคนเชนไร ? ตอบ แปลวาผูอยูปา เปนคําเรียกผูที่ไดรับความสุขในทางคฤหัสถเพียงพอแลว ปลีกตัวเขาปา บําเพ็ญพรต ฯ ๔๕. มาณพ ๑๖ คน เปนศิษยของใคร ? ตอบ พราหมณพาวรี ฯ ๔๖. มาณพ ๑๖ คน ใครที่ไดรับเอตทัคคะ ? ตอบ พระโมฆราช ฯ ๔๗. ทานไดรับเอตทัคคะในทางไหน ? ตอบ เอตทัคคะทางทรงจีวรเศราหมอง ฯ ๔๘. ในพุทธกาล มีพระเจาแผนดินสละราชสมบัติออกบวชกี่องค คือใครบาง ? ตอบ ๒ องค คือ พระภัททิยะ และพระมหากัปปนะ ฯ ๔๙. ในพุทธกาล ผูที่ถูกแผนดินสูบมีกี่คน เพราะโทษอะไร ? ตอบ มี ๕ คน คือ ๑. พระเจาสุปปพุทธโกลิยราชา เพราะโทษที่ปดทางโคจรของพระพุทธเจา ๒. พระเทวทัต เพราะโทษคือทําสังฆเภท ๓. นางจิญจมาณวิกา เพราะโทษคือใสความพระพุทธเจาดวยอสัทธรรมอันไมจริง ๔ .นันทมาณพ เพราะโทษคือประทุษรายพระอุบลวัณณาเถรี ๕. นันทยักษ เพราะโทษคือประหารพระสารีบุตร ฯ ๕๐. พระเถรีรูปใด ที่มีตําแหนงเปนอัครสาวิกาซาย – ขวา ? ตอบ พระอุบลวัณณาเถรี อัครสาวิกาเบื้องซาย พระเขมาเถรี อัครสาวิกาเบื้องขวา ฯ ๕๑. พระสาวกรูปใด มีความสัมพันธกับขอความตอไปนี้ ๑. ผูวิสัชนาแกไขเรื่องวิสุทธิ ๗ เปรียบดวยรถ ๗ ผลัด ๒. ทานคลอดในขณะที่มารดายังบวชเปนภิกษุณีอยู ? ตอบ ๑. พระปุณณมันตานีบุตร ๒. พระกุมารกัสสปะ ฯ ๕๒. พระองคุลิมาล มีชื่อเดิมวาอะไร ? ทานเปนใคร ? มาจากไหน ? ตอบ เดิมชื่อวา อหิงสกะ เปนบุตรของพราหมณปุโรหิตของพระเจาปเสนทิโกศลกับ นางมัน ตานีพราหมณี เปนชาวเมืองสาวัตถี ฯ ๕๓. ผูที่ออกบวชเพราะเพื่อนชักชวน มีใครบาง ?
  • 6. ตอบ พระภัททิยะ, พระภัคคุ, พระกิมพิละ ฯ ๕๔. ผูที่ออกบวชเพราะเบื่อหนายคือ.............? ตอบ พระมหากัสสปะ และพระยสะ ฯ ๕๕. ผูออกบวชเพราะอยากไดเวทมนต คือใคร ? เลิศในทางไหน ? ตอบ พระวังคีสะ เลิศในทางฉลาดในการผูกคําเปนบทคาถา ฯ ๕๖. พระเถระผูบรรลุอรหัตตผล และปรินิพพานแปลกกวาผูอื่นคือใคร ? ตอบ พระอานนท ฯ ๕๗. พระอานนท เกี่ยวของกับพระพุทธเจาอยางไรบาง ? ตอบ พระอานนทเปนโอรสของพระเจาสุกโกทนะ ผูเปนพระเจาอาวของพระพุทธเจา เมื่อ อุปสมบทแลวไดรับตําแหนงเปนพุทธะอุปฏฐากของพระพุทธเจา ฯ ๕๘. ใครเปนผูตรึกมหาปุริสวิตก ๗ ประการ ทานเลิศในทางไหน ? ตอบ พระอนุรุทธะ เลิศในทางมีทิพยจักษุ ฯ ๕๙. วิตกขอที่ ๘ ที่พระพุทธเจาใหพระอนุรุทธะตรึก มีความวาอยางไร ? ตอบ มีความวา ธรรมนี้เปนของผูยินดีในธรรมเปนเครื่องเนิ่นชา ไมใชของผูยินดีในธรรมที่ เนิ่นชา ฯ ๖๐. สามเณรรูปแรกคือใคร ? พระเถระรูปใดเปนอุปชฌาย ? ตอบ ราหุลกุมาร , พระสารีบุตรเปนอุปชฌาย ๖๑. ราหุลสามเณรอุปสมบทดวยวิธีใด ? เลิศในทางใด ? ตอบ ดวยวิธีรับไตรสรณคมน , เลิศในทางการศึกษา ฯ ๖๒. พระเถระที่ปรารถความเพียรเกินไป เดินจงกรมจนเทาแตก คือใคร ? ตอบ พระโสณโกฬิวิสะ ฯ ๖๓. พระพุทธเจาตรัสสอนทานอยางไร ? ตอบ สอนใหปรารถความเพียรแตพอปานกลาง ไมยิ่งนักไมหยอนนักโดยยกพิณ ๓ สายขึ้น เปนอุปมา ฯ ๖๔. ทานไดรับยกยองในดานใด ? ตอบ ดานปรารถความเพียร ฯ ๖๕. กอนบวชพระอุบาลีมีหนาที่อะไร ? ตอบ มีหนาที่เปนชางกลบก ( ภูษามาลา ) ของศากยสกุล ฯ ๖๖. ทานไดทําหนาที่สําคัญแกพระพุทธศาสนาอยางไร ? ตอบ ไดรับเลือกใหเปนผูวิสัชนาในสวนพระวินัยปฏก ในคราวสังคายนาครั้งที่ ๑ ฯ
  • 7. ๖๗. พระอุบาลีไดรับเอตทัคคะดานใด ? ตอบ ดานทรงไวซึ่งวินัย ฯ ๖๘. ใครเปนผูอัญเชิญใหพระพุทธเจาเสด็จสูเมืองกบิลพัสด ตอบ พระกาฬุทายี ฯ ๖๙. ทานไดรับเอตทัคคะในดานใด ? ตอบ ดานผูยังตระกูลใหเลื่อมใส ฯ ๗๐. พระปุณณมันตานีบุตร ตั้งอยูในคุณธรรมอะไรบาง ? ตอบ ทานตั้งอยูในคุณธรรม ๑๐ ประการ คือมักนอย สันโดษ ชอบสงัด ไมคลุกคลีดวยหมูคณะ ปรารภความเพียร บริบูรณดวยศีล ปญญา วิมุตติ ความรูเห็นในวิมุตติฯ ศาสนพิธี ๑. กุศลพิธีกับบุญพิธี ในศาสนพิธีเลม ๑ มีความมุงหมายอยางไร ? ตอบ มีความมุงหมายทางพิธีกรรมของคฤหัสถผูครองเรือนจะพึงกระทําใหถูกตองตามระเบียบ แบบแผน เชน การแสดงตนเปนพุทธมามกะ พิธีเวียนเทียนในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา หรือการทําบุญขึ้นบานใหม การทําบุญอุทิศ เปนตน ฯ ๒. กุศลพิธีกับบุญพิธี ในศาสนพิธีเลม ๒ มีความมุงหมายอยางไร ? ตอบ มีความมุงหมายเนนหนักไปในพิธีกรรมของบรรพชิต คือพระสงฆที่ตองปฏิบัติให ถูกตองตามวินัยและธรรมเนียมปฏิบัติ เชน พิธีเจริญพระพุทธมนต พิธีเขาพรรษา ออกพรรษา เปนตน ฯ ๓. วันธรรมสวนะ คือวันอะไร ? ปฏิบัติสืบเนื่องมาแตครั้งไหน ? ตอบ คือวันกําหนดประชุมฟงธรรม ที่เรียกวา วันพระ, พุทธบริษัทปฏิบัติสืบเนื่องมาแต ครั้งพุทธกาล ฯ ๔. การจัดใหมีการแสดงพระธรรมเทศนานั้น เพราะมีความเชื่ออยางไร ? ตอบ เพราะเชื่อวา พระพุทธศาสนาจะตั้งอยูยั่งยืนได ก็ดวยมีการประกาศเผยแผพระพุทธ ธรรมคําสั่งสอนของพระพุทธเจา จึงจัดใหมีการแสดงพระธรรมเทศนาในโอกาสที่เหมาะสม คือ วันธรรมสวนะนี้เอง ฯ ๕. เทศนตามกาลนิยม คือการเทศนเชนไร ? ตอบ คือการเทศนในวันธรรมสวนะ และวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา เชน วันวิสาขบูชา วันมาฆบูชา วันอาสาฬหบูชา เปนตน ฯ ๖. เทศนพิเศษหมายถึงการเทศนเชนไร ?
  • 8. ตอบ หมายถึง การเทศนที่จัดใหมีเปนพิเศษ นอกจากงานทําบุญที่มีตามกาลนิยม เชน เทศนสอนประชาชน เทศนอบรมคนเปนหมูคณะโดยเฉพาะ และเทศนไตรมาส ที่มีผูนิยมจัด ตามวัด ตามบาน เปนตน ฯ ๗. การทําบุญอัฐิ นิยมทํากันในโอกาสใดบาง ? ตอบ การบุญอัฐินั้น นิยมทําอยู ๓ ลักษณะคือ ๑. ทําบุญฉลองธาตุ ทําตอจากวันฌาปนกิจศพแลว ๒. ทําบุญ ๗ วัน หลังจากฌาปนกิจศพแลว ๓. ทําบุญอุทิศใหผูตายในรอบป ๘. การบังสกุลเปนหมายถึงอะไร ? ตอบ หมายถึง บุญกริยาที่เจาภาพประสงคจะบริจาควัตถุ ที่เนื่องดวยกายของตนโดยเฉพาะ อุทิศแกสงฆใหเปนบังสกุล ปกตินิยมทําเมื่อปวยหนัก เปนการกําหนดมรณานุสสติอีกวิธีหนึ่ง ฯ ๙. สามีจิกรรมมีกี่แบบ อะไรบาง ? ตอบ มี ๒ แบบ คือแบบขอขมา และแบบถวายสักการะ ฯ ๑๐. พิธีทําสังฆอุโบสถ มีความหมายและกําหนดกาลไวอยางไร ? ตอบ หมายถึง พิธีที่สงฆประชุมพรอมเพรียงกันในสีมา ประกอบพิธีทําอุโบสถสวดพระ ปาติโมกข กําหนดในวันอุโบสถทุกกึ่งเดือน หรือในวันสามัคคี ฯ ๑๑. การทําวัตร หมายถึงอะไร ? ตอบ หมายถึง การทํากิจวัตรของพระภิกษุ-สามเณร และอุบาสกอุบาสิกา เปนการทํากิจที่ ตองทําประจําจนเปนวัตรปฏิบัติเรียกสั้นๆวา ทําวัตร ฯ ๑๒. ในการทําวัตรนั้น มีกิจที่ตองทําอยางไรบาง ? ตอบ กิจที่ตองทําในการทําวัตร คือ สวดบูชาพระรัตนตรัยสวดพิจารณาปจจัยที่บริโภคทุกวัน ตามหนาที่ สวดเจริญกรรมฐานตามสมควร และสวดอนุโมทนาของทายก กับสวดแผกุศล ฯ ๑๓. แบบทําวัตรเชา-เย็น ที่ใชในปจจุบันนี้ มีมาแตครั้งไหน? ตอบ มีมาแตสมัยรัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา ฯ รัชกาลที่ ๔ ทรงนิพนธขึ้นใช เมื่อครั้งยังทรงผนวช ฯ ๑๔. วันที่กําหนดใหเปนวันธรรมสวนะ คือวันใดบาง ? ตอบ คือวัน ๘ ค่ํา ๑๔ ค่ํา และ ๑๕ ค่ํา ของปกษทั้งขางขึ้นและขางแรมของทุกเดือน ฯ ๑๕. วันเทโวโรหณะ คือวันอะไร ? ตอบ วันที่พระพุทธเจาเสด็จลงจากเทวโลก หลังจากเสด็จขึ้นไปจําพรรษาอยูบนสวรรคชั้น ดาวดึงส เพื่อแสดงพระอภิธรรมเทศสนาโปรดพุทธมารดาในเทวโลก ๓ เดือน เมื่อออกพรรษา
  • 9. แลวก็เสด็จลงมายังมนุษยโลก วันที่พระพุทธเจาเสด็จลงจากเทวโลกนี้เอง เรียกวา “ วันเทโว โรหณะ ” ๑๖. สังฆอุโบสถคืออะไร ? ตอบ คืออุโบสถกรรมที่พระภิกษุรวมกันทําตั้งแต ๔ รูปขึ้นไปชวยกันทํากิจสงฆ แลวตอง สวดพระปาติโมกขในทามกลางสงฆเปนหลักของการกระทํา ฯ ๑๘. เทศนแจง หมายถึงอะไร ? ตอบ หมายถึง การแสดงธรรมแจกแจงวัตถุ และหัวขอในพระไตรปฏกออกใหที่ประชุม รับทราบ ฯ ๑๘. การสวดพระพุทธมนต กับการเจริญพระพุทธมนตตางกันอยางไร ? ตอบ ตางกัน คือ การสวดพระพุทธมนต หมายถึง การที่พระสงฆสวดสาธยายมนต ใน งานอวมงคล หรือปรารถเหตุอันเปนอวมงคล ฯ การเจริญพระพุทธมนต หมายถึง การที่พระสงฆสวดสาธยายมนตในงานมงคล หรือปรารถ เหตุอันเปนมงคล ฯ ๑๙. เทศนมหาชาติ คืออะไร ? ตอบ เทศนมหาชาติ คือเทศนาเวสสันดรชาดก เปนบุญพิธีที่นิยมจัดใหมีกันมาแตโบราณกาล ฯ ๒๐. ผาวัสสิกสาฎก, ผาบังสุกุลจีวร ไดแกผาเชนไร ? ตอบ ผาวัสสิกสาฎก ไดแก ผาอาบน้ําฝน ผาบังสุกุลจีวร ไดแกผาเปอนฝุนที่ไมมีเจาของ หวงแหนทิ้งอยูตามปา ถนนหนทาง ตามปาชา ที่สุดแมผาที่เขาอุทิศวางไวแทบเทา รวม เรียกวา ผาบังสุกุลจีวร ฯ ๒๑. สวดมาติกา และสดับปกรณนั้น มีความหมายตางกันอยางไร ? ตอบ ตางกันโดยโวหาร ทางราชการงานหลวงใชวา สดับปกรณ แตทางงานราษฎรสามัญ ทั่วไปเรียกวา สวดมาติกาบังสุกุล ฯ ๒๒. สตัปปกรณาภิธรรม หมายถืงอะไร ? ตอบ หมายถึง การสวดบทมาติกาของพระอภิธรรม ๗ คัมภีรเปนประเพณีนิยมจัดให พระสงฆสวดในงานทําบุญศพ หรืออัฐิ ฯ ๒๓. ผาอัจเจกจีวร, วิเสสอนุโมทนา คืออะไร ? ตอบ ผาอัจเจกจีวร คือ ผาจํานําพรรษาที่ทายกรีบดวนถวายกอนกําหนดกาล วิเสสอนุ โมทนา คือ การอนุโมทนาดวยบทสวดสําหรับอนุโมทนาเปนพิเศษเฉพาะทาน เฉพาะกาล และเฉพาะเรื่อง ฯ
  • 10. ๒๔. ภิกษุผูชักผาปา ควรปฏิบัติอยางไร ? ตอบ พึงยืนสงบตรงหนาผา เอื้อมมือขชวาจับผา โดยหงายมือ แลวกลาววาจา หรือบริกรรม ในใจวา “ อิมํ ปสุกูลจีวรํ อสฺสามิกํ มยฺหํ ปาปุณาติ ” ผาบังสุกุลผืนนี้ไมมีเจาของหวง แหน ยอมถึงแกขาพเจาดังนี้ จบแลวชักผานั้นมา เปนอันเสร็จพิธี ฯ ๒๕. พิธีเขาพรรษา มีความหมายและกําหนดกาลอยางไร ? ตอบ พิธีเขาพรรษา หมายถึง พิธีที่พระสงฆประชุมพรอมกันประกอบอธิษฐานเขาอยูจํา พรรษา ตลอด ๓ เดือน ปกติกําหนดวันแรม ๑ ค่ํา เดือน ๘ ฯ ๒๖. พิธีออกพรรษา หมายถึงอะไร มีกําหนดกาลอยางไร ? ตอบ หมายถึง พิธีที่สงฆประชุมพรอมกันในสีมา ประกอบพิธีทําปวารณาตามวินัยนิยม กําหนดวันเพ็ญเดือน ๑ ฯ ๒๗. การสวดพระอภิธรรมหนาไฟ ตางจากการสวดมาติกาอยางไร ? ตอบ การสวดพระอภิธรรมหนาไฟ นิยมพระ ๔ รูป และนิยมสวดในขณะทําฌาปนกิจศพ การจัดสถานที่ก็จัดภายในบริเวณฌาปนสถานเทานั้น สวนการสวดมาติกา ไมจํากัดภิกษุจะสวด กี่รูปก็ได สวนสถานที่จะจัดในที่ใดก็ได และไมสวดในขณะทําการฌาปนกิจ ฯ ๒๘. คําถวายสังฆทานวา “ สงฺฆสฺส นิยฺยาเทมิ ” ใชอยางไร ? ตอบ ใชกลาวคําถวายของที่ใหญ ยกถวายดวยมือไมได อาจใชสายสิญจนโยงถวาย หรือ ถวายน้ําแทน ฯ ๒๙. คําถวายสังฆทานวา “ สงฺฆสฺส โอโณชยาม ” ใชอยางไร ? ตอบ ใชกลาวคําถวายสิ่งของเล็กนอย ซึ่งยกถวายดวยมือได ฯ ๓๐. จงเขียนคําถวายสังฆทานสามัญเฉพาะบาลีมาดู ? ตอบ อิมานิ มยํ ภนฺเต ภตฺตานิ สปริวารานิ ภิกฺขุสงฺฆสฺส โอโณชยาม สาธุ โน ภนฺเต ภิกฺขุสงฺโฆ อิมานิ ภตฺตานิ สปริวารานิ ปฏิคฺคณฺหาตุ อมฺหากํ ทีฆรตฺตํ หิตาย สุขาย ฯ