SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  12
Télécharger pour lire hors ligne
- 1 -
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของเชน
....................................................................
แนวคิดเรื่องกรรม
ศาสนาเชนถือวา อํานาจของกรรมหรือการกระทําของมนุษยยอมมีอํานาจเหนือสิ่งอื่น
และจะปฏิเสธอํานาจเบื้องบนทุกอยาง ทั้งไมเห็นดวยกับความเชื่อเรื่องพระเจา พลีกรรม หรือการ
กระทําทุกอยางที่เขาลักษณะเปนการออนวอนขอความกรุณาหรือความโปรดปรานจากพระเจา
โดยเฉพาะเรื่องพระเจาผูสรางโลกนั้น ศาสดามหาวีระเองก็มีแนวความคิดที่ปฏิเสธ คือไมทรงเชื่อ
วาโลกนี้มีผูสราง และคําสอนของมหาวีระก็เนนหนักถึงอํานาจแหงกรรม อํานาจของกรรม
สามารถที่จะบันดาลใหบุคคลมีความเปนไปตาง ๆ นานา
และศาสนาเชนถือวา กรรมมีสภาพเปน “อาสรวะ” คือมีลักษณะที่ไหลเขาสูชีวะได มีสิ่ง
ผูกพันชนิดหนึ่งที่เรียกไดวากิเลสที่ติดอยูกับชีวะ สิ่งที่ผูกพันกันนี้เรียกวา “กษายะ” ผลของกรรม
ที่บุคคลกระทําลงไป จะมีสภาพเปนอนุภาค แลวถูกกษายะดึงดูดใหไหลซึมเขาสูชีวะ ซึ่งจะปดกั้น
ชีวะและทําใหชีวะเปลี่ยนสภาพไปจากเดิม๑
ศาสนาเชนไดแบงกรรมเปน ๒ ประเภทใหญ ๆ เคือ
๑. ทรัพยพันธะ ไดแกกรรมทางกาย
๒. ภาวพันธะ ไดแกกรรมทางจิต ๒
การที่ศาสนาเชนแบงกรรมออกเปนสองประเภทเพราะถือวา กรรมมีสวนเกี่ยวของโดยตรงกับชีวะ
ศาสนาเชนไดแบงธรรมชาติของกรรมไว ๘ ชนิดคือ
๑.ขญานาวรณียกรรม คือกรรมที่เปนอุปสรรคตอความรูจริง
๒.ทรรศนาวรณียกรรม คือกรรมที่เปนเครื่องปดกั้นความเชื่อศรัทธา
๓.เวทนียกรรม คือกรรมที่ทําใหบุคคลเปนสุขหรือทุกข
๔.โมหนียกรรม คือกรรมที่กอใหเกิดความหลงผิด
๕.อายุสกรรม คือกรรมที่มีผลทําใหชีวิตสั้นหรือยาว
๖.นามกรรม คือกรรมที่มีผลเกี่ยวกับชื่อบุคคล
๗.โคตรกรรม คือกรรมที่มีผลทําใหชีวะไปเกิดในโคตรใดโคตรหนึ่ง
๘.อันตรายกรรม คือกรรมที่คอยขัดขวางไมใหชีวะกาวไปสูความสิ้นกิเลส ๓
____________________
๑
ฟน ดอกบัว. ปวงปรัชญาอินเดีย (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพสยาม. ๒๕๔๕). น. ๒๔๘.
๒
เรื่องเดียวกัน.
๓
ไพฑูลย พัฒนใหญยิ่ง. ความคิดสําคัญในปรัชญาอินเดีย (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพโอเดียนสโตร.
๒๕๓๐). น. ๗๓.
- 2 -
ธรรมชาติของกรรม ๘ ประการตามที่กลาวมาขางตน แสดงใหเห็นอยางชัดวา บุคคลใน
โลกนี้ไมมีวาจะเปนไปลักษณะใดก็ตาม ลวนแตอยูภายใตอํานาจของกรรมทั้งนั้น กรรมเปนตัว
บังคับมนุษยในทุกทาง กรรมกับชีวะในทัศนะของศาสนาเชนเปนเรื่องที่มีความสําคัญมาก
ดังไดกลาวมาแลววา ศาสนาเชนถือกรรมเปนเรื่องสําคัญ มีอํานาจตอชีวิตมากกวา
อํานาจอื่น ๆ กรรมตาง ๆ เหลานั้นแยกออกไดคือ
ประการแรก เรื่องกรรมที่ติดมากับชีวะ คําสอนตอนนี้ มีความคลายคลึงกันกับเรื่อง
เกี่ยวกับความเชื่อในเรื่องการเกิดใหม
ประการที่ ๒ การมีกรรมคือความทุกข มีคําสอนระบุวา “เพราะหมดกรรมเกาดวยตบะ
(การทรมานรางกาย) เพราะไมทํากรรมใหม ความไมถูกบังคับตอไปจึงมี เพราะไมถูกบังคับตอไป
ความสิ้นกรรมจึงมี เพราะสิ้นกรรม ความสิ้นทุกขจึงมีเพราะสิ้นทุกข ความสิ้นเวทนาจึงมี เพราะ
สิ้นเวทนา จัดเปนอันพวกทาน สลัดทุกขไดทั้งหมด ๔
คําสอนของนิครนถ นาฏบุตร ที่กลาวขางตน ระบุชัดวากรรมเปนตัวบังคับบุคคลหรือชีวะ
ชีวะใดที่สิ้นกรรม ชีวะนั้นจะเปนอิสระ หมดความทุกข หมดอารมณที่หวั่นไหวตามสิ่งที่มา
กระทบ เมื่อมีอารมณมั่นคง ความทุกขตางๆ จะไมสามารถครองชีวะไดการขจัดกรรมคือการขจัด
ความทุกข
ประการที่ ๓ ทางแหงการกระทํากรรม ซึ่งศาสนาเชน ไดแบงกรรมออกเปนประเภทใหญ
ๆ ได ๒ ชนิด คือกรรมทางกายและกรรมทางจิต แตในที่นี้ศาสนาเชนมีการยืนยันวาการกระทํา
ทางกายสําคัญกวาการกระทําทางอื่นๆ กอนที่จะกลาวถึงการกระทําทางกายวามีโทษกวาทางอื่น
นั้น จะกลาวถึงชื่อเรียกการกระทําความชั่วทางกายกอน ศาสนาเชนระบุวา การกระทําความชั่วทุก
อยาง ศาสนาเชนไมเรียกวา “กรรม” แตเรียกวา “ทัณฑะ” ๕
ทางที่จะกระทําความชั่วที่เรียกวา
“ทัณฑะ”นั้นมีอยู ๓ ทางคือ
๑.กายทัณฑะ การกระทําชั่วทางกาย
๒.วจีทัณฑะ การกระทําชั่วทางวาจา
๓. มโนทัณฑะ การกระทําชั่วทางใจ ๖
ในบรรดาทัณฑะ ๓ อยางนั้น กายทัณฑะมีโทษหนักที่สุด คําสอนนี้ นิครนถ นาฏบุตร
เปนผูยืนยันวา “กายทัณฑะจะมีโทษมากกวาในการกระทําบาปกรรม ในการเปนไปแหงหรรม วจี
ทัณฑะ มโนทัณฑะ หามีโทษมากเหมือนกายทัณฑะไม” ๗
________________
๔
ม. มู. ๑๒/๒๑๙/๑๔๑
๕
เรื่องเดียวกัน.
๖
ม. ม. ๑๓/๖๓/๑๑๒.
๗
เรื่องเดียวกัน.
- 3 -
ประการที่ ๔ การเชื่อกฎแหงกรรม ชีวะใดที่ยังมีการเวียนวายตายเกิด ชีวะนั้นยังมีกรรม
เพราะเหตุนี้ การขจัดกรรมคือหลักปฏิบัติที่สําคัญที่สุด ซึ่งนักบวชเชนจะตองปฏิบัติ ๘
ประการที่ ๕ ความเปนกิริยาวาทะในเรื่องกรรม มีคําสอนของนิครนถ นาฎบุตร ตอน
หนึ่งวา “ก็ทานเปนกิริยาวาท จักเขาไปเฝาพระสมณโคดมผูเปนอกิริยวาททําไมเพราะสมณโคดม
เปนอกิริยวาท จึงแสดงธรรมเพื่ออกิริยวาทและแนะนําพวกสาวกดวยอกิริยวาทนั้น” ๙
คําสอน
ตอนนี้ นิครนถ นาฏบุตร กลาวกับสาวกสําคัญคนหนึ่งแสดงวา ศาสนาเชนแบงลักษณะแหงคํา
สอนของตนทั้งหมดวาเปน “กิริยวาท” คือยอมรับและยืนยันวากรรมทุกอยางตองมีผล นิครนถ
นาฏบุตร เปนผูยืนยันวา ศาสนาเชนมีความยึดมั่นเชนนี้ทั้งศาสดาและสาวก
กรรมกับชีวะ
การกลาวถึงคําสอนเรื่องชีวะและกรรมของศาสนาเชน แสดงใหเห็นรายละเอียดเรื่องกรรม
และชีวะที่เกี่ยวพันกัน จึงขอกลาวสรุปเรื่องกรรมและชีวะของศาสนาเชนดังนี้
๑ ชีวะมีทั้งกรรมเกาและกรรมใหม
๒ กรรมที่เปนตัวควบคุมหรือบังคับชีวะใหเปนตางๆ
๓ ชีวะทุกชีวะที่ยังเวียนวายตายเกิดตางก็มีกรรมทั้งนั้น
๔ ชีวะใดยังมีกรรม ชีวะนั้นยังมีความทุกข
๕ หนาที่ของนักบวชเชนคือการพยายามขจัดกรรมเกาใหหมด และไมกระทํากรรมใหม
๖ ในศาสนาเชนจะไมมีอโหสิกรรมที่ทําไปแลว
หลักคําสอนเรื่องเจตนาในการกระทําความดีและชั่ว
ทั้งศาสนาเชนและพุทธศาสนาถือวา กรรมมีความสําคัญตอชีวิตมนุษยมาก ในอุปาลิวาท
สูตร ไดกลาวถึงเรื่องกรรมของทั้งสองศาสนาวามีความแตกตางกัน ในเรื่องของเจตนา และชื่อ
เรียกจนกลายเปนเรื่องที่ขัดแยงกัน ในตอนแรก เปนความแตกตางกันของชื่อเรียกการ
กระทําความชั่ว ทางศาสนาเชนไมเรียกการกระทําความชั่ววากรรม แตเรียกวา “ทัณฑะ”
เรื่องนี้มีหลักฐานจากการที่สาวของนิครนถ นาฏบุตรคนหนึ่งชื่อ ทีฆตปสสี ไดเขาเฝา
พระพุทธเจาเพื่อสนทนากัน ตอนเริ่มสนทนาก็เปนการสนทนากันเรื่องสุขทุกข แสดงใหเห็นวา
ความสัมพันธสวนตัวระหวางพระพุทธเจากับพวกนิครนถนั้น เปนไปในทางที่ดี ถึงแมวาในดาน
คําสอนจะแตกตางกันออกไปก็ตาม หลังจากสนทนากันในเรื่องอื่น พระพุทธเจาทรงถามฑีฆตปส
สีในเรื่องคําสอนเกี่ยวกับกรรมของนิครนถนาฏบุตรผูเปนศาสดาวา นิครนถนาฏบุตรไดบัญญัติ
กรรมในการกระทําบาป และในการเปนไปแหงบาปไวมากเพียงใด ๑๐
________________
๘
ม. มู. ๑๒/๒๑๙/๑๔๗-๑๔๘.
๙
อง. อฏฐก. ๑๒/๑๐๒/๑๕๙.
๑๐
ม. ม. ๑๓/๖๓/๕๒.
- 4 -
ฑีฆตปสสีนิครนถกราบทูลตอบวา นิครนถนาฏบุตรมิไดเรียกการกระทําบาปวากรรม
แตเรียกวา “ทัณฑะ” และทานไดแบงทัณฑะไว ๓ ประการ คือ
๑. กายทัณฑะ การกระทําความชั่วทางกาย
๒. วจีทัณฑะ การกระทําความชั่วทางวาจา
๓. มโนทัณฑะ การกระทําความชั่วทางใจ ๑๑
แตทางพุทธศาสนาไมไดเรียกการกระทําความชั่ววาทัณฑะ เมื่อทีฆตปสสีทูลถามเรื่องนี้
พระพุทธเจาทรงตอบวา พระองคทรงรับผลการกระทําความชั่วหรือดีวากรรม และกรรมนั้นมีอยู
๓ ทางเหมือนกันคือ
๑. กายกรรม การกระทําทางกาย
๒. วจีกรรม การกระทําทางวาจา
๓. มโนกรรม การกระทําทางใจ ๑๒
ที่กลาวมานี้ เปนความแตกตางเรื่องชื่อเรียกการกระทํา โดยเฉพาะการกระทําความชั่ว
นับวายังไมเกิดความขัดแยงกัน แตเรื่องที่ขัดแยงกันมากคือโทษที่เกิดจากการกระทํา
ทางศาสนาเชนถือวา ในบรรดาทัณฑะ ๓ อยางนั้น กายทัณฑะมีโทษหนักที่สุด
ทางพุทธศาสนาถือวา มโนทัณฑะ มีโทษหนักที่สุด ผูยืนยันความคิดของศาสนา
เชนเกี่ยวกับเรื่องนี้คือ ทีฆตปสสีนิครนถ และทางพระพุทธศาสนานั้น พระพุทธเจาเปนผูยืนยัน
การสนทนาระหวางพระพุทธเจากับทีฆตปสสีนิครนถ คงเปนเพียงการยืนยันหลักคําสอน
เกี่ยวกับกรรมและทัณฑะพรอมดวยโทษที่จะไดรับ ทีฆตปสสีนิครนถมิไดอยูสนทนาตอ แตไดลา
พระพุทธเจากลับไปหานิครนถนาฏบุตร ผูเปนศาสดาของตน และไดเลาเรื่องการสนทนากับ
พระพุทธเจาใหนิครนถ นาฏบุตรฟง ไดรับคําชมและการยืนยันจากนิครนถ นาฏบุตรวา
ดูกรทีฆตปสสี ดีละ ๆ ขอที่ทีฆตปสสีนิครนถพยากรณแกสมณโคดมตรงตามที่สาวก
ผูฟง ผูรูทั่วถึงคําสอนของศาสดาโดยชอบ มโนทัณฑะอันต่ําทรามจะงามอะไรเลา เมื่อ
เทียบกับกายทัณฑะอันยิ่งใหญนี้ โดยที่แท กายทัณฑะเทานั้นมีโทษมากกวา ในการ
กระทําบาปกรรม ในการเปนไปแหงกรรม วจีทัณฑะ มโนทัณฑะ หามีโทษมาก
เหมือนกายทัณฑะไม ๑๓
เปนอันวาการที่ทีฆตปสสีนิครนถไดพูดถึงเรื่องการที่กายทัณฑะ มีโทษมากกวาทัณฑะ
อยางอื่นนั้น เปนการถูกตองตามหลักศาสนาเชน
____________________
๑๑
เรื่องเดียวกัน. น. ๓.
๑๒
เรื่องเดียวกัน.
๑๓
เรื่องเดียวกัน.
- 5 -
อยางไรก็ตาม ทางพระพุทธศาสนาไมเห็นดวยกับเรื่องนี้ เพราะถือวาความชั่วจะเกิดทาง
กาย หรือวาจาก็ได จะตองมีใจเปนผูบงการ ความผิดทางใจจะตองมีโทษหนักกวาความผิดทางอื่น
หากไรจิตใจเปนตัวบงการ การกระทําความผิดทางอื่นยอมเกิดขึ้นไดยาก พุทธศาสนาใชคําวา
ทัณฑะของศาสนาเชนมาโตแยงและเปรียบเทียบไววา
ในคําเหลานี้คือ กายทัณฑะ วจีทัณฑะ มโนทัณฑะ พวกผูรูทั้งหลาย
บัญญัติทัณฑะสองประการเบื้องตนวาไมมีจิตแมหนอยเดียว พวกเขา
ยอมบัญญัติทัณฑะสองประการนี้วา เปนที่ทราบกันมาวา เมื่อลมพัด
กิ่งไมยอมสั่นไหว น้ํายอมกระเพื่อม แตสั่นไหวของกิ่งไมและการ
กระเพื่อมของน้ํา ไมมีจิตฉันใด กายทัณฑะก็ไมมีจิตฉันนั้น และเมื่อ
ลมพัด รุกขชาติทั้งหลายมีใบตาลเปนตนยอมสงเสียง น้ํายอมสงเสียง
แตในการสงเสียงของธรรมชาติสองอยางนั้น ไมมีจิตฉันใด ถึงวจีทัณฑะ
ก็ไมมีจิตฉันนั้น ๑๔
เรื่องการกระทําความชั่วทางใดมีโทษมากกวายังไมมีการยุติในตอนนี้ เพราะในขณะที่
ทีฆตปสสีนิครนถกําลังนั่งคุยกับ นิครนถ นาฏบุตร ผูเปนศาสดาเกี่ยวกับเรื่องนี้อยูนั้น มีสาวกของ
นิครนถ นาฏบุตร ที่เปนคฤหัสถอีกคนหนึ่งชื่ออุบาลี ไดนั่งฟงอยูดวย อุบาลีคนนี้เปนสาวกที่
สําคัญมากคนหนึ่งของนิครนถ นาฏบุตร เพราะมีฐานะร่ํารวยไดชื่อวาเปนคฤหบดี เปนผูสงเสริม
ศาสนาเชนอยางจริงจัง นอกจากนั้นเขายังเปนผูเชี่ยวชาญในคําสอนของนิครนถ นาฏบุตรมาก
เมื่อเขาไดฟงทีฆตปสสีนิครนถเลาถึงเรื่องการสนทนากับพระพุทธเจา เขาก็รับอาสาที่จะ
ไปสนทนาในเรื่องที่กําลังขัดแยงและที่ทีฆตปสสีนิครนถสนทนาคางอยูกับพระพุทธเจาเขามีความ
มั่นใจวาสามารถที่จะเอาชนะในการโตเถียงเรื่องทัณฑะและโทษของทัณฑะได เขาประกาศวาหาก
พระพุทธเจายืนยันวามโนทัณฑะมีโทษหนักกวาทัณฑะอยางอื่น เขาจะหาเหตุผลมาหักลางคําสอน
ของพระพุทธเจา จนกระทั่งใหไดรับความพายแพ นิครนถ นาฏบุตรผูเปนศาสดา
สงเสริมใหเขาไปพบพระพุทธเจาอยางเต็มที่ เพราะจะมีความเชื่อวาอุบาลีสามารถจะหักลางแนวคิด
และคําสอนของพระพุทธเจาได แตทีฆตปสสีนิครนถ ผูไดสนทนากับพระพุทธเจามาแลว ได
คัดคานอยางเต็มที่ เหตุผลที่เขาอางคือพระพุทธเจาเปนคนหลอกลวง รูจักวิธีการพูดที่จะใหศาสนิก
อื่นกลับใจมานับถือพุทธศาสนา แตนิครนถ นาฏบุตรไมยอมรับฟง ยังมีความมั่นใจวา
“ดูกรทีฆตปสสี ขอที่อุบาลีคฤหบดีจะเขาถึงความเปนสาวกของพระสมณโคดม มิใชฐานะ มิใช
โอกาส แตขอที่พระสมณโคดมจะพึงถึงความเปนสาวกของอุบาลีคฤหบดี เปนฐานะที่จะมีได” ๑๕
_____________________
๑๔
ม. ม. อ. น. ๔๙.
๑๕
ม. ม. ๑๓/๖๗/๕๖.
- 6 -
เมื่ออุบาลีคฤหบดีไดพบพระพุทธเจา ก็ไดเริ่มสนทนากันถึงเรื่องกรรมหรือทัณฑะและผล
หรือโทษที่จะไดรับ
เพื่อความชัดเจนในเรื่องโทษที่จะไดรับจากการกระทําความชั่วหรือทัณฑะ พระพุทธเจา
ทรงเอาการกระทําความดีตามทัศนะของศาสนาเชนมาซักถามเปรียบเทียบกอนวา “ดูกรคฤหบดี
ทานจะสําคัญขอนี้เปนไฉน นิครนถในโลกนี้เปนอาพาธ มีไขหนัก หามน้ําเย็น ดื่มแตน้ํารอน เมื่อ
เขาไมไดน้ําเย็นจะตองตาย ดูกรคฤหบดี ก็นิครนถ นาฏบุตรบัญญัติความเกิดของนิครนถผูนี้ในที่
ไหนเลา” ๑๖
อุบาลีคฤหบดีไดอธิบายขอนี้วา “ขาแตพระองคผูเจริญ เทวดาชื่อมโนสัตวอยูนิครนถนั้น
ยอมเกิดในเทวดาจําพวกนั้น เปนผูมีใจเกาะเกี่ยวกระทํากาละ” ๑๗
พิจารณาตามคําอธิบายของอุบาลีคฤหบดี จะเห็นไดวาในการกระทําความดีนั้น ศาสนาเชน
ถือจิตใจเปนเรื่องสําคัญ พวกนิครนถที่เครงครัดในการทรมานตนจนตองเสียชีวิตไป ยอมจะไดไป
เกิดเปนเทวดาในสวรรค ทางพุทธศาสนาไดอธิบายความหมายของศาสนาเชนเพิ่มเติมในคําวา
เทวดาชื่อมโนสัตวไววา “เทวดาพวกที่ชื่อมโนสัตวนั้น ไดแกพวกเทวดาผูติดของ คือถูกทําใหผูก
คลองไวในใจ คือเพราะพวกนิครนถเหลานั้นผูกพันไวในใจแลวตาย เพราะฉะนั้น พวกเขายอม
เกิดในพวกเทวดาที่ชื่อมโนสัตว” ๑๘
จากคําอธิบายเพิ่มเติมนี้ แสดงวาพวกนิครนถมีความหวังในการบําเพ็ญตบะ ๒ อยางคือ
เพิ่มไดเกิดในสวรรค และการเปลื้องกรรม
ในเมื่อการเกิดเปนเทวดาพวกมโนสัตวของศาสนาเชนขึ้นอยูกับจิตใจ แสดงวาศาสนาเชน
ก็ถือวาจิตใจเปนของสําคัญ เมื่อพระพุทธเจาไดฟงคําอธิบายของอุบาลีคฤหบดีในเรื่องนี้ พระองค
ทรงเตือนใหอุบลีคฤหบดีในเรื่องนี้ พระองคทรงเตือนใหอุบาลีคฤหบดีทบทวนเรื่องที่ไดสนทนา
แลว แตอุบาลีคฤหบดีก็ยืนยันวา ในการกระทําบาป กายทัณฑะยังมีโทษหนักกวาวจีทัณฑะและ
มโนทัณฑะ
เมื่อเปนอยางนี้ พระพุทธเจาทรงตองการที่จะทราบวาเจตนาในการกระทําความชั่วของคน
อยูที่สวนใดของทัณฑะโดยตรัสถามวา
____________________
๑๖
เรื่องเดียวกัน. น. ๕.
๑๗
ม. ม. ๑๓/๖๙/๕๘.
๑๘
เรื่องเดียวกัน.
- 7 -
“ดูกรคฤหบดี ทานจะสําคัญความขอนี้เปนไฉน นิกรนถในโลกนี้พึงเปน
ผูสํารวมดวยการสังวรโดยสวน ๔ คือ หามน้ําทั้งปวง ประกอบดวย
การหามบาปทั้งปวง กําจัดบาปดวยการหามบาป อันการหามบาป
ทั้งปวงเปนการถูกตองแลว เมื่อเขากาวไป ถอยกลับ ยอม
ถึงการฆาสัตวตัวเล็กๆ เปนอันมาก ดูกรคฤหบดี ก็นิครนถนาฏบุตร
บัญญัติวิบากเชนไรแกนิครนถผูนี้” ๑๙
คําตอบของอุบาลีคฤหบดี คือ หากการกระทําบาปนั้นเปนไปโดยไมจงใจ นิครนถ นาฏ
บุตรถือวามีโทษนอย และถาจงใจกระทํา ก็มีโทษมาก ๒๐
สังเกตดูคําสอนของนิครนถ นาฏบุตร ที่อุบาลีคฤหบดีตอบตอนนี้ จะเห็นไดวานิครนถ
นาฏบุตรจะถือวากายทัณฑะมีโทษหนักที่สุดก็จริง แตทั้งนี้ตองเอาเจตนามาตัดสิน คือถาบาปนั้น
กระทําโดยจงใจจะมีโทษมากกวาบาปที่กระทําโดยไมจงใจ มีปญหาอยูวา เจตนาจะจัดเปนทัณฑะ
สวนใด พระพุทธเจาเลยตรัสถามตอไปวา นิครนถ นาฏบุตรบัญญัติเจตนาลงในสวนไหนของ
ทัณฑะ คําตอบที่พระองคไดรับจากอุบาลีคฤหบดีคือ นิครนถ นาฏบุตรบัญญัติเจตนาลงในสวน
มโนทัณฑะ๒๑
จึงเปนอันสรุปไดวา ถึงแมศาสนาเชนจะถือวากายทัณฑะมีโทษหนักกวาทัณฑะ
อื่นๆ ก็จริง แตทั้งนี้ยอมขึ้นอยูกับเจตนาในการกระทําดวย กายทัณฑะจึงไมนาจะมีโทษมากกวา
ทัณฑะอื่นๆ อยางไรก็ตาม ทางพุทธศาสนาไมยอมรับหลักคําสอนนี้ และยังยืนยันวาความผิด
ทางใจมีโทษหนักกวาการกระทําความผิดทางอื่น ๒๒
ในการสนทนากับอุบาลีคฤหบดี พระพุทธเจาทรงซักถามเรื่องทัณฑะอยางละเอียดบางครั้ง
ตองยกตัวอยางสนทนากัน เพื่อทรงชี้ใหอุบาลีคฤหบดีเห็นวามโนกรรมเปนกรรมสําคัญและมีโทษ
หนักในการที่บุคคลจะกระทําชั่วตางๆ เพราะหากใจไมคิดชั่ว การกระทําความชั่วคงเกิดขึ้นนอย
มาก
____________________
๑๙
ม. ม. ๑๓/๗๐/๕๙.
๒๐
เรื่องเดียวกัน.
๒๑
เรื่องเดียวกัน
๒๒
เรื่องเดียวกัน.
- 8 -
จุดมุงหมายสูงสุดของชีวิต
เชนถือวา โมกษะเปนจุดหมายสูงสุดของชีวิต เปนโลกุตตรภาวะ สภาวะที่พนไปจากโลก
ไมตองมาเวียนวายตายเกิดในสังสารวัฏใหระทมทุกขอีกตอไป
ความหลุดพน หมายถึงการแยกวิญญาณออกจากวัตถุ เราสามารถปองกันวัตถุไมใหเขาไป
ผูกพันกับวิญญาณไดและทําลายวัตถุที่วิญญาณผูกพันอูก็ได เราเรียกกรรมวิธีนี้วา สังวร หมายถึง
ระวังหรือสํารวมมิใหการไหลของกรรมเขาไปสูวิญญาณ และ นิรชรา หมายถึง การทําลายหรือ
สลัดกรรมเกาที่มีอยูในวิญญาณใหหมดไปตามลําดับ ๒๓
ความหลุดพนที่จะกลาวถึง หมายถึงการที่ชีวะหลุดพนจากการเวียนวายตายเกิดหรือ
โมกษะ คือการขจัดกรรมใหหมด ทุกขก็หมด เมื่อทุกขหมดชีวะนั้น ๆ เปนอันหลุดพนเครื่อง
ผูกมัดทั้งปวง ไมตองมาเวียนวายตายเกิดตอไปอีก
ทางที่จะกาวไปสูความหมดทุกขอันเปนการหยุดการเวียนวายตายเกิด ศาสนาเชนเนนการ
อบรมทางกาย (กายภาวนา) และไมเห็นดวยกับการอบรมทางใจเพราะเขาใจวาพุทธเจาทรงสอนให
สาวกอบรมจิตอยางเดียว ๒๔
เหตุที่ทางศาสนาเชนเนนเชนนั้นเพราะถือวาการอบรมกายเปนทาง
ไปสูตบะ และการอบรมกายที่ถึงขั้นบําเพ็ญทุกรกิริยา คือ วิธีการที่จะลบลางกรรมที่เคลือบติดอยู
กับชีวะ และศาสนาเชนถือวาบุคคลจะพบความสุขไดดวยการเอาความทุกขเขาแลก สาวกของ
นิครนถ นาฏบุตร ไดอธิบายใหพระพุทธเจาฟงวา “บุคคลมิใชจะประสบความสุขไดดวยความสุข
แตจะประสบความสุขไดดวยความทุกขแท” ๒๕
ตบะจึงเปนหัวใจในการแสวงหาความหลุดพน
จากความทุกขที่ศาสนาเชนถือวาถมทับบุคคลอยูแตมีหลักเกณฑอยูวา ตบะตองมาจากความรูจะงม
งายหรือลืมตนมิได จะตองใชญาณทัศนะ คําวา “ญาณทัศนะ” คือ ความเห็นแจงในคําสอนของ
ศาสนาเชน
มีขอความเกี่ยวกับเรื่องนี้วา “นิครนถ นาฏบุตร รูธรรมทั้งปวง เห็นธรรมทั้งปวง ยืนยัน
ญาณทัศนะหมดทุกสวนวา เมื่อเราเดินไปก็ดี ยืนก็ดี หลับก็ดี ตื่นก็ดี ญาณทัศนะปรากฏอยูติดตอ
เสมอไป” ๒๖
จึงพอสรุปไดวา ตบะที่กระทําโดยอาศัยความรูตามหลักของศาสนา คือ ทางแหงความ
หลุดพนจากความทุกข หรือนิรวาณ (นิพพาน) ของศาสนาเชน
____________________
๒๓
สถิต วงศสวรรค. ปรัชญาตะวันออก. (กรุงเทพฯ: รวมสาสนการพิมพ. ๒๕๔๑). น. ๖๔.
๒๔
ม. มู. ๑๒/๔๐๕/๓๖๑.
๒๕
เรื่องเดียวกัน. ๖๒๐/๑๔๙.
๒๖
เรื่องเดียวกัน. ๒๑๙/๑๘๗.
- 9 -
เรื่องการปฏิบัติไปสูโมกษะ เชนจะเนนเรื่องการทรมานรางกาย ดังปรากฏในธัมมจัก
กัปปวัตตนสูตร ที่พระพุทธเจาทรงแสดงแกปญจวัคคียวา ที่สุดโตง ๒ อยางอันบรรพชิตไมควร
ของและนํามาปฏิบัติ นั่นก็คือ กามสุขัลลิกานุโยค การบํารุงบําเรอตนดวยกาม และอัตตกิลมถานุ
โยค การทรมานตนใหเดือดรอน
ในเทวทหสูตรนั้น พระพุทธเจาทรงตรัสถามพวกนิครนถวา
เธอมีความเห็นอยางนี้มิใชหรือวา สิ่งที่บุคคลเสวยหรือประสพอยูในชีวิตนี้จะเปน
สุขก็ตาม ทุกขก็ตาม มิใชสุขมิใชทุกขก็ตาม ทั้งหมดเนื่องมาจากเหตุที่ทําไวในกาลกาลกอนเมื่อ
กรรมเกาถูกกําจัดหมดไป ไมทํากรรมใหม ไมมีกิเลสไหลเขา ก็สิ้นกรรม เพราะสิ้นกรรมก็สิ้น
ทุกข เพราะสิ้นทุกขก็สิ้นเวทนา เพราะสิ้นเวทนา ทุกขทั้งปวงก็ทําลายไปหมด
พวกนิครนถใหคําตอบยืนยันตามนั้น พระพุทธเจาจึงตรัสถามตอไปอีกวา ถาเชนนั้นเธอก็
ยอมรับวา ความสุข ความทุกข ของคนเราขึ้นอยูกับเหตุหรือกรรมในอดีตเปนบางสวนและขึ้นอยู
กับเจตนจํานงของเราเปนบางสวนใชหรือไม
พวกนิครนถใหคําตอบยืนยัน พระพุทธเจาจึงตรัสถามอีกวา ถาเปนดังนั้น ฉันขอถามกะเอ
เธอรูไหมวา ไดเคยเปนอะไรมาในกาลกอน เธอไดเคยทํากรรมเชนนั้นหรือไม เอรูหรือไมวาทุกข
หมดสิ้นไปแลวมีประมาณเทานี้ ทุกขที่จะพึงทําใหหมดสิ้นไปจักประมาณเทานี้หรือเมื่อทุกขหมด
ไปเทานี้แลว ทุกขทั้งปวงจักหมดไป เธอรูหรือไมวาการละอกุศลธรรม การทํากุศลธรรมใหถึง
พรอมยอมมีไดในปจจุบัน
พวกนิครนถใหคําตอบปฏิเสธวา ไมรูทุกคําถาม พระพุทธเจาทรงตรัสถามตอไปวาถาไมรู
ดังนั้น เธอจะถือเชนนั้นไดอยางไร ดูกรนิคัณฐะ อยากจะทราบวา ดวยความพยายามและความ
เพียร จะสามารถเปลี่ยนกรรมที่จะใหผลในปจจุบัน หรือใหผลในชาติหนา หรือใหผลเปนทุกข
กลายเปนตรงกันขามไดหรือไม
พวกนิครนถตอบวาไมได พระพุทธเจาจึงตรัสวา ถาเชนนั้นความเพียรพยายามและความ
เพียรของพวกเธอก็ชื่อวาไรผล
พระพุทธเจาตรัสวิจารณใหพระภิกษุทั้งหลายฟงวา พวกนิครนถมีความเห็นอยางนี้ยอมถูก
ติเตียนในฐานะ ๑๐ คือ
๑) ถาสัตวเสวยสุขทุกข เพราะเหตุที่ทําไวกาลกอน พวกนิครนถที่ไดรับทุกขเพราะ
ทรมานตัว ก็คงไดทํากรรมชั่วไวในกาลกอน
- 10 -
๒) ถาสัตวเสวยสุขทุกขเพราะทานผูเปนใหญ (พระเจา) มิตอง หรือบันดาลทานผูเปน
ใหญก็คงจะชั่วทั้งชาติ จึงสรางใหพวกนิครนถไดรับทุกข
๓) ถาสัตวเสวยสุขทุกขเพราะเหตุบังเอิญ พวกนิครนถก็ประสพเหตุบังเอิญที่ชั่ว เพราะ
ตองไดรับทุกขเวทนาอยางหนัก
๔) ถาสัตวเสวยสุขทุกขเราะชาติกําเนิด (สังคติ) ชาติกําเนิดของนิครนถก็คงจะชั่ว จึงทํา
ใหเสวยทุกขเวทนาอยางหนัก
๕) ถาสัตวเสวยสุขทุกข เพราะความพยายามในปจจุบัน ความพยายามในปจจุบันของ
พวกนิครนถก็คงจะชั่ว จึงทําใหเสวยทุกขเวทนาหนัก
๖) ถาสัตวเสวยสุขทุกข เพราะเหตุที่กระทําไวในกาลกอนหรือมิใชก็ตาม พวกนิครนถก็
ถูกติเตียน
๗) ถาสัตวเสวยสุขทุกขเพราะทานผูเปนใหญรางหรือไมก็ตาม พวกนิครนถก็ถูกติเตียน
๘) ถาสัตวเสวยสุขทุกขเพราะเหตุบังเอิญหรือไมก็ตาม พวกนิครนถก็ถูกติเตียน
๙) ถาสัตวเสวยสุขทุกขเพราะความพยายามในปจจุบันหรือไมก็ตาม เพราะชาติกําเนิด
หรือไมก็ตาม พวกนิครนถก็ถูกติเตียน
๑๐)ถาสัตวเสวยสุขทุกขเพราะความพยายามในปจจุบันหรือไมก็ตาม พวกนิครนถก็คงถูกติ
เตียน เพราะมีลัทธิทรมานตนใหลําบาก
หลักคําสอนสําคัญ
ในนิคัณฐสูตร ก็กลาวถึงหลักกรรมของทานนิครนถ นาฏบุตร ไวในทํานองเดียวกันวา
กรรมเกาหมดไป เพราะความเพียรเผากิเลส ฆาเหตุไดเพราะไมทํากรรมใหม ดวยประการฉะนี้ จึง
เปนอันวา เพราะกรรมสิ้นไป ทุกขหมดไป เพราะทุกขหมดไป เวทนาจึงหมดไป เพราะเวทนาหมด
ไป ทุกขทั้งปวงจึงเสื่อมไปโดยไมเหลือ การลวงทุกขยอมมีไดดวยกรรมวิธีที่ทําใหกิเลสเสื่อมไป
โดยไมเหลือ ซึ่งบุคลจะพึงเห็นไดเอง ดวยประการฉะนี้
ในสามัญผลสูตร กลาวไววา ทานนิครนถ นาฏบุตร ทูลตอบพระเจาอชาตศัตรูเมื่อทรงถาม
ถึงสามัญผลในศาสนาของทานวา นิครนถในโลกนี้ เปนผูสังวรแลวดวยสังวร ๔ประการ คือ ๑. หาม
น้ําทั้งปวง ๒. ประกอบดวยน้ําทั้งปวง ๓. กําจัดดวยน้ําทั้งปวง ๔. ประพรมดวยน้ําทั้งปวง เพราะ
สังวรดวยสังวร ๔ ประการนี้ บัณฑิตจึงเรียกวา เปนผูมีตนถึงที่สุดแลว มีตนสํารวมแลวมีตนตั้งมั่น
แลว
ในนิคัณฐสูตร ความตอนหนึ่งวา ทานนิครถ นาฏบุตรถือวา สมาธิที่ไมมีวิตกวิจารนั้นไมมี
ความดับวิตกวิจารก็ไมมี ระหวางญาณกับศรัทธา ทานถือวา ญาณ ประณีตกวา
ในสีหสูตร กลาววา ทานนิครนถ นาฏบุตร เรียกลัทธิของทานวากิริยาวาท คือ ลัทธิที่ถือวา
กรรมที่ทําแลวมีผล ไดแก ทําดีไดดี ทําชั่วไดชั่ว และกลาววา หลักคําสอนของพระพุทธเจาเปนอกิริ
- 11 -
ยวาท ซึ่งเมื่อสีหเสนาบดี สาวกคนหนึ่งของทานไปทูลถามพระพุทธเจา พระพุทธองคทรงรังวาถูก
แลว เพราะพระองคทรงถือพุทธศาสนา ทําไหทานิครนถ นาฏบุตรเสียใจมาก
ในอุปาลิวาทสูตร กลาวไววา คําวา กรรม ทานนิครนถ นาฏบุตรเรียกวา ทัณฑะ และกลาว
ยืนยันวา ในบรรดากายทัณฑะ วจีทัณฑะ และมโนทัณฑะนั้น กายทัณฑะชื่อวามีโทษมากที่สุด
ตอมา สาวกคนหนึ่งชื่อ ทีฆตปสสีไดนําเรื่องนี้ไปทูลถามพระพุทธเจา เมื่อไดฟงพระพุทธดํารัสวา
ทางพุทธศาสนาถือวา มโนกรรมมีโทษมากกวา ก็กลับมารายงานทานนิครนถ นาฏบุตร ขณะนั้นมีอุ
บาลีคฤหบดีผูเปนสาวกนั่งอยูดวย และรับอาสาไปโตวาทะกับพระพุทธเจาในเรื่องนี้อีก ซึ่งทาน
นิครนถ นาฏบุตรก็สนับสนุน ทั้งๆ ที่ทีฆตปสสีคัดคานดวยเกรงจะเสียทีแกพระพุทธเจา
เมื่ออุบาลีคฤหบดีไปเผาพระพุทธเจา และกลาวสนับสนุนวาทะของทานนิครนถ นาฏบุตร
วา กายทัณฑะมีโทษมากกวามโนทัณทะ พระพุทธองคจึงทรงอุปมาใหฟงวา สมมุติวา นิครนถคน
หนึ่งอาพาธ มีทุกข เปนไขหนัก หามน้ําเย็น ดื่มน้ํารอน เมื่อไมไดน้ําเย็น เขาก็ตาย ตรัสถามวาทาน
นิครนถ นาฏบุตรพยากรณวา นิครนถคนนั้นตายแลวไปเกิดที่ไหน อุบาลีคฤหบดีทูลตอบวา ไป เกิด
ในเทวดาพวกมโนสัตว เพราะมีใจเกาะเกี่ยวทํากาละ พระพุทธเจาทรงเตือนวา วาทะของอุบาลีขัด
กันเองแลว แตอุบาลียังยืนยันกายทัณฑะอยู พระองคจึงตรัสอุปมาใหฟงอีกวา ถามีนิครนถคนหนึ่ง
สํารวมดวยสังวร ๔ อยู ขณะเขากาวไปถอยหลัง ยอมฆาสัตวเล็กๆเปนอันมาก ตรัสถามวา ทาน
นิครนถ นาฏบุตร บัญญัติวิบากเชนไรแกนิครนถคนนี้ อุบาลีแยงวา ทานศาสนาของตนบัญญัติวา
กรรมที่ ทําโดยไมจงใจ ไมมีโทษมาก ทรงซักวา ถาจงใจทําเลา อุบาลีทูลตอบวา มีโทษมาก ทรงซัก
วา ทานนิครนถ นาฏบุตร บัญญัติเจตนาลงในทัณฑะไหน อุบาลีทูลตอบวา ในสวนมโนทัณฑะ พระ
พุทธองคทรงเตือนอีกวา วาทะของอุบาลีขัดกันเองแลว แตอุบาลีก็ยืนยันเหมือนเดิม พระพุทธเจาจึง
ทรงอุปมาอีกหลายอยางในที่สุด อุบาลียอมรับวา ทานเลื่อมใสตั้งแตอุปมาขอแรกแลว แตประสงค
จะฟงปฏิภาณของพระพุทธองคตอไป แลวทานก็ปฏิญาณตนถือพุทธศาสนาแตนั้นมา
ทฤษฎีเรื่องกรรม
นักปราชญสํานักเชน มีคําสอนเรื่อง “กรรม” อยางละเอียดโดยมีจุดประสงคเพื่อนํามา
อธิบายสภาพทางโลก (สังสาริกะ) ของชีวะ ตามปรัชญาเชนกรรมมีอยู 8 ชนิดดวยกันคือ
๑.ญานวรนิยะ –กรรม - กรรมที่บดบังความรู
๒.ทัศนาวรนิยะ– กรรม - กรรมที่บดบังความคิด
๓. โมหะนิยะ – กรรม -กรรมที่สรางความหลง
๔.เวทนิยะ - กรรม - กรรมที่ทําใหเกิดความยินดี
๕. นาม – กรรม - กรรมที่ทําใหเกิดรูป
๖. อนตะรายะ– กรรม กรรมที่สรางสิ่งขัดขวาง
๗.โคตระ– กรรม -กรรมที่กําหนดใหบุคคลเกิด ใหครอบครัวใดครอบครัวหนึ่ง
๘.อายุสยะ - กรรม -กรรมที่กําหนดชวงเวลาในชีวิตของแตละคน
- 12 -
สิ่งมีชีวิตทั้งหมดไมวามนุษยหรือต่ํากวามนุษยตกอยูภายใตกรรมเหลานี้ ดังนั้นโชคชตา
ของวิญญาณจึงมีความเกี่ยวพันกับกรรม
กรรมเหลานี้แบงออกเปน 2 ชนิด คือ ทรัพยะ – กรรม และภาวะ – กรรม ทรัพยะ
กรรม ประกอบดวยอนุภาคสสาร อนุภาคสสารลึกลับจากแกนกลาง ขององคประกอบ ของกรรม
มีความสัมพันธกับวิญญาณของสสารลึกลับแหงองคประกอบของกรรมทําใหเกิดเปนกายขึ้น กายที่
เกิดขึ้นมาจะไดรับโภชนาการจากสภาพแวดลอมคําวา ภาวะ - กรรม หมายถึงการกําหนดทางจิต
อยางไมบริสุทธิ์ หรือตราบใดที่จิตยังไมบริสุทธิ์จะเปนสาเหตุของการทําใหเกิด “รูป” หรือ
รางกายจาก อนุภาคของสสาร (ทรัพยะ) ทรัพยะกรรม มีอิทธิพลตอการกําหนดของจิต ทรัพยะ
– กรรม เปนสสาร ในขณะภาวะ - กรรม คือการกําหนดของจิต การเปลี่ยนแปลงใด ๆ ในกรรม
อยางหนึ่งของกรรมทั้ง 2 ชนิดนี้ยอมมีผลกระทบถึงกัน การเปลี่ยนแปลงทาง สสารยอมเกิดการ
เปลี่ยนแปลงมากอนของสสารและทํานองเดียวกันการเปลี่ยนแปลงทางจิต ยอมเกิดจากสภาพของ
จิตกอน การพยายามกําจัดการเกี่ยวของกับรางกายตองรักษาการกําหนดที่ไมบริสุทธิ์ของจิตให
สะอาดและการจะใหถึงเปาหมายเชนนี้ ปรัชญาเชน กําหนดใหตองทําโยคะหรือตะบะ

Contenu connexe

Tendances

ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
พัน พัน
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
Kwandjit Boonmak
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนาสถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
ธรรมะอินเทรนด์ ธรรมะออนไลน์
 
พราหมณ์
พราหมณ์พราหมณ์
พราหมณ์
thnaporn999
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
Tongsamut vorasan
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Jani Kp
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
thnaporn999
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
pentanino
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชน
Tongsamut vorasan
 
เรียนเชิญ คุณหมอไพโรจน์ และภรรยา
เรียนเชิญ คุณหมอไพโรจน์ และภรรยาเรียนเชิญ คุณหมอไพโรจน์ และภรรยา
เรียนเชิญ คุณหมอไพโรจน์ และภรรยา
Tongsamut vorasan
 

Tendances (19)

ความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนา
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
สไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4pageสไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนาสถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
 
พราหมณ์
พราหมณ์พราหมณ์
พราหมณ์
 
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรบทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
 
ส 43101 ม.6
ส 43101 ม.6ส 43101 ม.6
ส 43101 ม.6
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
 
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1pageสไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
 
เรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชนเรื่องศาสนาเชน
เรื่องศาสนาเชน
 
เรียนเชิญ คุณหมอไพโรจน์ และภรรยา
เรียนเชิญ คุณหมอไพโรจน์ และภรรยาเรียนเชิญ คุณหมอไพโรจน์ และภรรยา
เรียนเชิญ คุณหมอไพโรจน์ และภรรยา
 

En vedette

Apresentação 1 t10
Apresentação 1 t10Apresentação 1 t10
Apresentação 1 t10
SiteriCR2
 
Nipun_Sibal_Technology_Entrepreneurship
Nipun_Sibal_Technology_EntrepreneurshipNipun_Sibal_Technology_Entrepreneurship
Nipun_Sibal_Technology_Entrepreneurship
Nipun Sibal
 

En vedette (15)

Cartel
CartelCartel
Cartel
 
Apresentação 1 t10
Apresentação 1 t10Apresentação 1 t10
Apresentação 1 t10
 
Lei comp. nº 546 2015
Lei comp. nº 546   2015Lei comp. nº 546   2015
Lei comp. nº 546 2015
 
Presentación1
Presentación1Presentación1
Presentación1
 
33 expert-social-media-tips-for-2017
33 expert-social-media-tips-for-201733 expert-social-media-tips-for-2017
33 expert-social-media-tips-for-2017
 
Literacy in the Age of Big Data
Literacy in the Age of Big DataLiteracy in the Age of Big Data
Literacy in the Age of Big Data
 
resume 10
resume 10 resume 10
resume 10
 
Nipun_Sibal_Technology_Entrepreneurship
Nipun_Sibal_Technology_EntrepreneurshipNipun_Sibal_Technology_Entrepreneurship
Nipun_Sibal_Technology_Entrepreneurship
 
TT Flyer V0.3 (1)
TT Flyer V0.3 (1)TT Flyer V0.3 (1)
TT Flyer V0.3 (1)
 
LebenslaufMonaBäder.pdf
LebenslaufMonaBäder.pdfLebenslaufMonaBäder.pdf
LebenslaufMonaBäder.pdf
 
Ejercicio N° 1
Ejercicio N° 1Ejercicio N° 1
Ejercicio N° 1
 
Handgun fundamentals and safety training ii
Handgun fundamentals and safety training iiHandgun fundamentals and safety training ii
Handgun fundamentals and safety training ii
 
LSC502: Concord College Case Study
LSC502:  Concord College Case StudyLSC502:  Concord College Case Study
LSC502: Concord College Case Study
 
Bac11
Bac11Bac11
Bac11
 
Derramaré una lluvia de rosas
Derramaré una lluvia de rosasDerramaré una lluvia de rosas
Derramaré una lluvia de rosas
 

Similaire à ลัทธิเชน

03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
Dream'Es W.c.
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
pentanino
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
Tongsamut vorasan
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
Gawewat Dechaapinun
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
pentanino
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บรรพต แคไธสง
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
Tongsamut vorasan
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
Tongsamut vorasan
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
pentanino
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
sangworn
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
Tongsamut vorasan
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

Similaire à ลัทธิเชน (20)

03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
 
Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13Seangdhamma february 13
Seangdhamma february 13
 
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
111
111111
111
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
 
ปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้นปรัชญาเบื้องต้น
ปรัชญาเบื้องต้น
 

Plus de Wataustin Austin

ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 english
ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 englishใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 english
ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 english
Wataustin Austin
 
Morning evening chanting(david)
Morning evening chanting(david)Morning evening chanting(david)
Morning evening chanting(david)
Wataustin Austin
 
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
สุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชนสุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
Wataustin Austin
 
เนตติปกรณ์
เนตติปกรณ์เนตติปกรณ์
เนตติปกรณ์
Wataustin Austin
 
วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2
Wataustin Austin
 
อภิธรรมเป็นพุทธพจน์
อภิธรรมเป็นพุทธพจน์อภิธรรมเป็นพุทธพจน์
อภิธรรมเป็นพุทธพจน์
Wataustin Austin
 
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึกอนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
Wataustin Austin
 
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนา
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนาสารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนา
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนา
Wataustin Austin
 
สัจจสังเขป
สัจจสังเขปสัจจสังเขป
สัจจสังเขป
Wataustin Austin
 
สคิปัฏฐานทาง (1)
สคิปัฏฐานทาง (1)สคิปัฏฐานทาง (1)
สคิปัฏฐานทาง (1)
Wataustin Austin
 
สคิปัฏฐานทาง (1) (1)
สคิปัฏฐานทาง (1) (1)สคิปัฏฐานทาง (1) (1)
สคิปัฏฐานทาง (1) (1)
Wataustin Austin
 
วุตโตทยมัญชรี
วุตโตทยมัญชรีวุตโตทยมัญชรี
วุตโตทยมัญชรี
Wataustin Austin
 
วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2
Wataustin Austin
 
วิปัสสนานัย เล่ม1
วิปัสสนานัย เล่ม1วิปัสสนานัย เล่ม1
วิปัสสนานัย เล่ม1
Wataustin Austin
 
วฤตตรัตนากร Varutarattana
วฤตตรัตนากร Varutarattanaวฤตตรัตนากร Varutarattana
วฤตตรัตนากร Varutarattana
Wataustin Austin
 
ลักษณะของจิต
ลักษณะของจิตลักษณะของจิต
ลักษณะของจิต
Wataustin Austin
 
มนต์พิธี พระครูสมุห์เอี๋ยม
มนต์พิธี พระครูสมุห์เอี๋ยมมนต์พิธี พระครูสมุห์เอี๋ยม
มนต์พิธี พระครูสมุห์เอี๋ยม
Wataustin Austin
 

Plus de Wataustin Austin (20)

ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 english
ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 englishใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 english
ใบคำขานนาคภาษาอังกฤษ2554 english
 
Pali chant
Pali chantPali chant
Pali chant
 
Morning evening chanting(david)
Morning evening chanting(david)Morning evening chanting(david)
Morning evening chanting(david)
 
Bookchant
BookchantBookchant
Bookchant
 
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
สุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชนสุชีพ ปุญญานุภาพ   พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
สุชีพ ปุญญานุภาพ พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน
 
เนตติปกรณ์
เนตติปกรณ์เนตติปกรณ์
เนตติปกรณ์
 
วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2
 
อภิธรรมเป็นพุทธพจน์
อภิธรรมเป็นพุทธพจน์อภิธรรมเป็นพุทธพจน์
อภิธรรมเป็นพุทธพจน์
 
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ  เจาะลึกอนุพุทธประวัติ  เจาะลึก
อนุพุทธประวัติ เจาะลึก
 
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนา
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนาสารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนา
สารัตถทีปนี จูฬวรรควรรณนา-ปริวาวรรควรรณนา
 
สัจจสังเขป
สัจจสังเขปสัจจสังเขป
สัจจสังเขป
 
สคิปัฏฐานทาง (1)
สคิปัฏฐานทาง (1)สคิปัฏฐานทาง (1)
สคิปัฏฐานทาง (1)
 
สรภัญญะ1
สรภัญญะ1สรภัญญะ1
สรภัญญะ1
 
สคิปัฏฐานทาง (1) (1)
สคิปัฏฐานทาง (1) (1)สคิปัฏฐานทาง (1) (1)
สคิปัฏฐานทาง (1) (1)
 
วุตโตทยมัญชรี
วุตโตทยมัญชรีวุตโตทยมัญชรี
วุตโตทยมัญชรี
 
วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2วิปัสสนานัย เล่ม2
วิปัสสนานัย เล่ม2
 
วิปัสสนานัย เล่ม1
วิปัสสนานัย เล่ม1วิปัสสนานัย เล่ม1
วิปัสสนานัย เล่ม1
 
วฤตตรัตนากร Varutarattana
วฤตตรัตนากร Varutarattanaวฤตตรัตนากร Varutarattana
วฤตตรัตนากร Varutarattana
 
ลักษณะของจิต
ลักษณะของจิตลักษณะของจิต
ลักษณะของจิต
 
มนต์พิธี พระครูสมุห์เอี๋ยม
มนต์พิธี พระครูสมุห์เอี๋ยมมนต์พิธี พระครูสมุห์เอี๋ยม
มนต์พิธี พระครูสมุห์เอี๋ยม
 

ลัทธิเชน

  • 1. - 1 - แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของเชน .................................................................... แนวคิดเรื่องกรรม ศาสนาเชนถือวา อํานาจของกรรมหรือการกระทําของมนุษยยอมมีอํานาจเหนือสิ่งอื่น และจะปฏิเสธอํานาจเบื้องบนทุกอยาง ทั้งไมเห็นดวยกับความเชื่อเรื่องพระเจา พลีกรรม หรือการ กระทําทุกอยางที่เขาลักษณะเปนการออนวอนขอความกรุณาหรือความโปรดปรานจากพระเจา โดยเฉพาะเรื่องพระเจาผูสรางโลกนั้น ศาสดามหาวีระเองก็มีแนวความคิดที่ปฏิเสธ คือไมทรงเชื่อ วาโลกนี้มีผูสราง และคําสอนของมหาวีระก็เนนหนักถึงอํานาจแหงกรรม อํานาจของกรรม สามารถที่จะบันดาลใหบุคคลมีความเปนไปตาง ๆ นานา และศาสนาเชนถือวา กรรมมีสภาพเปน “อาสรวะ” คือมีลักษณะที่ไหลเขาสูชีวะได มีสิ่ง ผูกพันชนิดหนึ่งที่เรียกไดวากิเลสที่ติดอยูกับชีวะ สิ่งที่ผูกพันกันนี้เรียกวา “กษายะ” ผลของกรรม ที่บุคคลกระทําลงไป จะมีสภาพเปนอนุภาค แลวถูกกษายะดึงดูดใหไหลซึมเขาสูชีวะ ซึ่งจะปดกั้น ชีวะและทําใหชีวะเปลี่ยนสภาพไปจากเดิม๑ ศาสนาเชนไดแบงกรรมเปน ๒ ประเภทใหญ ๆ เคือ ๑. ทรัพยพันธะ ไดแกกรรมทางกาย ๒. ภาวพันธะ ไดแกกรรมทางจิต ๒ การที่ศาสนาเชนแบงกรรมออกเปนสองประเภทเพราะถือวา กรรมมีสวนเกี่ยวของโดยตรงกับชีวะ ศาสนาเชนไดแบงธรรมชาติของกรรมไว ๘ ชนิดคือ ๑.ขญานาวรณียกรรม คือกรรมที่เปนอุปสรรคตอความรูจริง ๒.ทรรศนาวรณียกรรม คือกรรมที่เปนเครื่องปดกั้นความเชื่อศรัทธา ๓.เวทนียกรรม คือกรรมที่ทําใหบุคคลเปนสุขหรือทุกข ๔.โมหนียกรรม คือกรรมที่กอใหเกิดความหลงผิด ๕.อายุสกรรม คือกรรมที่มีผลทําใหชีวิตสั้นหรือยาว ๖.นามกรรม คือกรรมที่มีผลเกี่ยวกับชื่อบุคคล ๗.โคตรกรรม คือกรรมที่มีผลทําใหชีวะไปเกิดในโคตรใดโคตรหนึ่ง ๘.อันตรายกรรม คือกรรมที่คอยขัดขวางไมใหชีวะกาวไปสูความสิ้นกิเลส ๓ ____________________ ๑ ฟน ดอกบัว. ปวงปรัชญาอินเดีย (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพสยาม. ๒๕๔๕). น. ๒๔๘. ๒ เรื่องเดียวกัน. ๓ ไพฑูลย พัฒนใหญยิ่ง. ความคิดสําคัญในปรัชญาอินเดีย (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพโอเดียนสโตร. ๒๕๓๐). น. ๗๓.
  • 2. - 2 - ธรรมชาติของกรรม ๘ ประการตามที่กลาวมาขางตน แสดงใหเห็นอยางชัดวา บุคคลใน โลกนี้ไมมีวาจะเปนไปลักษณะใดก็ตาม ลวนแตอยูภายใตอํานาจของกรรมทั้งนั้น กรรมเปนตัว บังคับมนุษยในทุกทาง กรรมกับชีวะในทัศนะของศาสนาเชนเปนเรื่องที่มีความสําคัญมาก ดังไดกลาวมาแลววา ศาสนาเชนถือกรรมเปนเรื่องสําคัญ มีอํานาจตอชีวิตมากกวา อํานาจอื่น ๆ กรรมตาง ๆ เหลานั้นแยกออกไดคือ ประการแรก เรื่องกรรมที่ติดมากับชีวะ คําสอนตอนนี้ มีความคลายคลึงกันกับเรื่อง เกี่ยวกับความเชื่อในเรื่องการเกิดใหม ประการที่ ๒ การมีกรรมคือความทุกข มีคําสอนระบุวา “เพราะหมดกรรมเกาดวยตบะ (การทรมานรางกาย) เพราะไมทํากรรมใหม ความไมถูกบังคับตอไปจึงมี เพราะไมถูกบังคับตอไป ความสิ้นกรรมจึงมี เพราะสิ้นกรรม ความสิ้นทุกขจึงมีเพราะสิ้นทุกข ความสิ้นเวทนาจึงมี เพราะ สิ้นเวทนา จัดเปนอันพวกทาน สลัดทุกขไดทั้งหมด ๔ คําสอนของนิครนถ นาฏบุตร ที่กลาวขางตน ระบุชัดวากรรมเปนตัวบังคับบุคคลหรือชีวะ ชีวะใดที่สิ้นกรรม ชีวะนั้นจะเปนอิสระ หมดความทุกข หมดอารมณที่หวั่นไหวตามสิ่งที่มา กระทบ เมื่อมีอารมณมั่นคง ความทุกขตางๆ จะไมสามารถครองชีวะไดการขจัดกรรมคือการขจัด ความทุกข ประการที่ ๓ ทางแหงการกระทํากรรม ซึ่งศาสนาเชน ไดแบงกรรมออกเปนประเภทใหญ ๆ ได ๒ ชนิด คือกรรมทางกายและกรรมทางจิต แตในที่นี้ศาสนาเชนมีการยืนยันวาการกระทํา ทางกายสําคัญกวาการกระทําทางอื่นๆ กอนที่จะกลาวถึงการกระทําทางกายวามีโทษกวาทางอื่น นั้น จะกลาวถึงชื่อเรียกการกระทําความชั่วทางกายกอน ศาสนาเชนระบุวา การกระทําความชั่วทุก อยาง ศาสนาเชนไมเรียกวา “กรรม” แตเรียกวา “ทัณฑะ” ๕ ทางที่จะกระทําความชั่วที่เรียกวา “ทัณฑะ”นั้นมีอยู ๓ ทางคือ ๑.กายทัณฑะ การกระทําชั่วทางกาย ๒.วจีทัณฑะ การกระทําชั่วทางวาจา ๓. มโนทัณฑะ การกระทําชั่วทางใจ ๖ ในบรรดาทัณฑะ ๓ อยางนั้น กายทัณฑะมีโทษหนักที่สุด คําสอนนี้ นิครนถ นาฏบุตร เปนผูยืนยันวา “กายทัณฑะจะมีโทษมากกวาในการกระทําบาปกรรม ในการเปนไปแหงหรรม วจี ทัณฑะ มโนทัณฑะ หามีโทษมากเหมือนกายทัณฑะไม” ๗ ________________ ๔ ม. มู. ๑๒/๒๑๙/๑๔๑ ๕ เรื่องเดียวกัน. ๖ ม. ม. ๑๓/๖๓/๑๑๒. ๗ เรื่องเดียวกัน.
  • 3. - 3 - ประการที่ ๔ การเชื่อกฎแหงกรรม ชีวะใดที่ยังมีการเวียนวายตายเกิด ชีวะนั้นยังมีกรรม เพราะเหตุนี้ การขจัดกรรมคือหลักปฏิบัติที่สําคัญที่สุด ซึ่งนักบวชเชนจะตองปฏิบัติ ๘ ประการที่ ๕ ความเปนกิริยาวาทะในเรื่องกรรม มีคําสอนของนิครนถ นาฎบุตร ตอน หนึ่งวา “ก็ทานเปนกิริยาวาท จักเขาไปเฝาพระสมณโคดมผูเปนอกิริยวาททําไมเพราะสมณโคดม เปนอกิริยวาท จึงแสดงธรรมเพื่ออกิริยวาทและแนะนําพวกสาวกดวยอกิริยวาทนั้น” ๙ คําสอน ตอนนี้ นิครนถ นาฏบุตร กลาวกับสาวกสําคัญคนหนึ่งแสดงวา ศาสนาเชนแบงลักษณะแหงคํา สอนของตนทั้งหมดวาเปน “กิริยวาท” คือยอมรับและยืนยันวากรรมทุกอยางตองมีผล นิครนถ นาฏบุตร เปนผูยืนยันวา ศาสนาเชนมีความยึดมั่นเชนนี้ทั้งศาสดาและสาวก กรรมกับชีวะ การกลาวถึงคําสอนเรื่องชีวะและกรรมของศาสนาเชน แสดงใหเห็นรายละเอียดเรื่องกรรม และชีวะที่เกี่ยวพันกัน จึงขอกลาวสรุปเรื่องกรรมและชีวะของศาสนาเชนดังนี้ ๑ ชีวะมีทั้งกรรมเกาและกรรมใหม ๒ กรรมที่เปนตัวควบคุมหรือบังคับชีวะใหเปนตางๆ ๓ ชีวะทุกชีวะที่ยังเวียนวายตายเกิดตางก็มีกรรมทั้งนั้น ๔ ชีวะใดยังมีกรรม ชีวะนั้นยังมีความทุกข ๕ หนาที่ของนักบวชเชนคือการพยายามขจัดกรรมเกาใหหมด และไมกระทํากรรมใหม ๖ ในศาสนาเชนจะไมมีอโหสิกรรมที่ทําไปแลว หลักคําสอนเรื่องเจตนาในการกระทําความดีและชั่ว ทั้งศาสนาเชนและพุทธศาสนาถือวา กรรมมีความสําคัญตอชีวิตมนุษยมาก ในอุปาลิวาท สูตร ไดกลาวถึงเรื่องกรรมของทั้งสองศาสนาวามีความแตกตางกัน ในเรื่องของเจตนา และชื่อ เรียกจนกลายเปนเรื่องที่ขัดแยงกัน ในตอนแรก เปนความแตกตางกันของชื่อเรียกการ กระทําความชั่ว ทางศาสนาเชนไมเรียกการกระทําความชั่ววากรรม แตเรียกวา “ทัณฑะ” เรื่องนี้มีหลักฐานจากการที่สาวของนิครนถ นาฏบุตรคนหนึ่งชื่อ ทีฆตปสสี ไดเขาเฝา พระพุทธเจาเพื่อสนทนากัน ตอนเริ่มสนทนาก็เปนการสนทนากันเรื่องสุขทุกข แสดงใหเห็นวา ความสัมพันธสวนตัวระหวางพระพุทธเจากับพวกนิครนถนั้น เปนไปในทางที่ดี ถึงแมวาในดาน คําสอนจะแตกตางกันออกไปก็ตาม หลังจากสนทนากันในเรื่องอื่น พระพุทธเจาทรงถามฑีฆตปส สีในเรื่องคําสอนเกี่ยวกับกรรมของนิครนถนาฏบุตรผูเปนศาสดาวา นิครนถนาฏบุตรไดบัญญัติ กรรมในการกระทําบาป และในการเปนไปแหงบาปไวมากเพียงใด ๑๐ ________________ ๘ ม. มู. ๑๒/๒๑๙/๑๔๗-๑๔๘. ๙ อง. อฏฐก. ๑๒/๑๐๒/๑๕๙. ๑๐ ม. ม. ๑๓/๖๓/๕๒.
  • 4. - 4 - ฑีฆตปสสีนิครนถกราบทูลตอบวา นิครนถนาฏบุตรมิไดเรียกการกระทําบาปวากรรม แตเรียกวา “ทัณฑะ” และทานไดแบงทัณฑะไว ๓ ประการ คือ ๑. กายทัณฑะ การกระทําความชั่วทางกาย ๒. วจีทัณฑะ การกระทําความชั่วทางวาจา ๓. มโนทัณฑะ การกระทําความชั่วทางใจ ๑๑ แตทางพุทธศาสนาไมไดเรียกการกระทําความชั่ววาทัณฑะ เมื่อทีฆตปสสีทูลถามเรื่องนี้ พระพุทธเจาทรงตอบวา พระองคทรงรับผลการกระทําความชั่วหรือดีวากรรม และกรรมนั้นมีอยู ๓ ทางเหมือนกันคือ ๑. กายกรรม การกระทําทางกาย ๒. วจีกรรม การกระทําทางวาจา ๓. มโนกรรม การกระทําทางใจ ๑๒ ที่กลาวมานี้ เปนความแตกตางเรื่องชื่อเรียกการกระทํา โดยเฉพาะการกระทําความชั่ว นับวายังไมเกิดความขัดแยงกัน แตเรื่องที่ขัดแยงกันมากคือโทษที่เกิดจากการกระทํา ทางศาสนาเชนถือวา ในบรรดาทัณฑะ ๓ อยางนั้น กายทัณฑะมีโทษหนักที่สุด ทางพุทธศาสนาถือวา มโนทัณฑะ มีโทษหนักที่สุด ผูยืนยันความคิดของศาสนา เชนเกี่ยวกับเรื่องนี้คือ ทีฆตปสสีนิครนถ และทางพระพุทธศาสนานั้น พระพุทธเจาเปนผูยืนยัน การสนทนาระหวางพระพุทธเจากับทีฆตปสสีนิครนถ คงเปนเพียงการยืนยันหลักคําสอน เกี่ยวกับกรรมและทัณฑะพรอมดวยโทษที่จะไดรับ ทีฆตปสสีนิครนถมิไดอยูสนทนาตอ แตไดลา พระพุทธเจากลับไปหานิครนถนาฏบุตร ผูเปนศาสดาของตน และไดเลาเรื่องการสนทนากับ พระพุทธเจาใหนิครนถ นาฏบุตรฟง ไดรับคําชมและการยืนยันจากนิครนถ นาฏบุตรวา ดูกรทีฆตปสสี ดีละ ๆ ขอที่ทีฆตปสสีนิครนถพยากรณแกสมณโคดมตรงตามที่สาวก ผูฟง ผูรูทั่วถึงคําสอนของศาสดาโดยชอบ มโนทัณฑะอันต่ําทรามจะงามอะไรเลา เมื่อ เทียบกับกายทัณฑะอันยิ่งใหญนี้ โดยที่แท กายทัณฑะเทานั้นมีโทษมากกวา ในการ กระทําบาปกรรม ในการเปนไปแหงกรรม วจีทัณฑะ มโนทัณฑะ หามีโทษมาก เหมือนกายทัณฑะไม ๑๓ เปนอันวาการที่ทีฆตปสสีนิครนถไดพูดถึงเรื่องการที่กายทัณฑะ มีโทษมากกวาทัณฑะ อยางอื่นนั้น เปนการถูกตองตามหลักศาสนาเชน ____________________ ๑๑ เรื่องเดียวกัน. น. ๓. ๑๒ เรื่องเดียวกัน. ๑๓ เรื่องเดียวกัน.
  • 5. - 5 - อยางไรก็ตาม ทางพระพุทธศาสนาไมเห็นดวยกับเรื่องนี้ เพราะถือวาความชั่วจะเกิดทาง กาย หรือวาจาก็ได จะตองมีใจเปนผูบงการ ความผิดทางใจจะตองมีโทษหนักกวาความผิดทางอื่น หากไรจิตใจเปนตัวบงการ การกระทําความผิดทางอื่นยอมเกิดขึ้นไดยาก พุทธศาสนาใชคําวา ทัณฑะของศาสนาเชนมาโตแยงและเปรียบเทียบไววา ในคําเหลานี้คือ กายทัณฑะ วจีทัณฑะ มโนทัณฑะ พวกผูรูทั้งหลาย บัญญัติทัณฑะสองประการเบื้องตนวาไมมีจิตแมหนอยเดียว พวกเขา ยอมบัญญัติทัณฑะสองประการนี้วา เปนที่ทราบกันมาวา เมื่อลมพัด กิ่งไมยอมสั่นไหว น้ํายอมกระเพื่อม แตสั่นไหวของกิ่งไมและการ กระเพื่อมของน้ํา ไมมีจิตฉันใด กายทัณฑะก็ไมมีจิตฉันนั้น และเมื่อ ลมพัด รุกขชาติทั้งหลายมีใบตาลเปนตนยอมสงเสียง น้ํายอมสงเสียง แตในการสงเสียงของธรรมชาติสองอยางนั้น ไมมีจิตฉันใด ถึงวจีทัณฑะ ก็ไมมีจิตฉันนั้น ๑๔ เรื่องการกระทําความชั่วทางใดมีโทษมากกวายังไมมีการยุติในตอนนี้ เพราะในขณะที่ ทีฆตปสสีนิครนถกําลังนั่งคุยกับ นิครนถ นาฏบุตร ผูเปนศาสดาเกี่ยวกับเรื่องนี้อยูนั้น มีสาวกของ นิครนถ นาฏบุตร ที่เปนคฤหัสถอีกคนหนึ่งชื่ออุบาลี ไดนั่งฟงอยูดวย อุบาลีคนนี้เปนสาวกที่ สําคัญมากคนหนึ่งของนิครนถ นาฏบุตร เพราะมีฐานะร่ํารวยไดชื่อวาเปนคฤหบดี เปนผูสงเสริม ศาสนาเชนอยางจริงจัง นอกจากนั้นเขายังเปนผูเชี่ยวชาญในคําสอนของนิครนถ นาฏบุตรมาก เมื่อเขาไดฟงทีฆตปสสีนิครนถเลาถึงเรื่องการสนทนากับพระพุทธเจา เขาก็รับอาสาที่จะ ไปสนทนาในเรื่องที่กําลังขัดแยงและที่ทีฆตปสสีนิครนถสนทนาคางอยูกับพระพุทธเจาเขามีความ มั่นใจวาสามารถที่จะเอาชนะในการโตเถียงเรื่องทัณฑะและโทษของทัณฑะได เขาประกาศวาหาก พระพุทธเจายืนยันวามโนทัณฑะมีโทษหนักกวาทัณฑะอยางอื่น เขาจะหาเหตุผลมาหักลางคําสอน ของพระพุทธเจา จนกระทั่งใหไดรับความพายแพ นิครนถ นาฏบุตรผูเปนศาสดา สงเสริมใหเขาไปพบพระพุทธเจาอยางเต็มที่ เพราะจะมีความเชื่อวาอุบาลีสามารถจะหักลางแนวคิด และคําสอนของพระพุทธเจาได แตทีฆตปสสีนิครนถ ผูไดสนทนากับพระพุทธเจามาแลว ได คัดคานอยางเต็มที่ เหตุผลที่เขาอางคือพระพุทธเจาเปนคนหลอกลวง รูจักวิธีการพูดที่จะใหศาสนิก อื่นกลับใจมานับถือพุทธศาสนา แตนิครนถ นาฏบุตรไมยอมรับฟง ยังมีความมั่นใจวา “ดูกรทีฆตปสสี ขอที่อุบาลีคฤหบดีจะเขาถึงความเปนสาวกของพระสมณโคดม มิใชฐานะ มิใช โอกาส แตขอที่พระสมณโคดมจะพึงถึงความเปนสาวกของอุบาลีคฤหบดี เปนฐานะที่จะมีได” ๑๕ _____________________ ๑๔ ม. ม. อ. น. ๔๙. ๑๕ ม. ม. ๑๓/๖๗/๕๖.
  • 6. - 6 - เมื่ออุบาลีคฤหบดีไดพบพระพุทธเจา ก็ไดเริ่มสนทนากันถึงเรื่องกรรมหรือทัณฑะและผล หรือโทษที่จะไดรับ เพื่อความชัดเจนในเรื่องโทษที่จะไดรับจากการกระทําความชั่วหรือทัณฑะ พระพุทธเจา ทรงเอาการกระทําความดีตามทัศนะของศาสนาเชนมาซักถามเปรียบเทียบกอนวา “ดูกรคฤหบดี ทานจะสําคัญขอนี้เปนไฉน นิครนถในโลกนี้เปนอาพาธ มีไขหนัก หามน้ําเย็น ดื่มแตน้ํารอน เมื่อ เขาไมไดน้ําเย็นจะตองตาย ดูกรคฤหบดี ก็นิครนถ นาฏบุตรบัญญัติความเกิดของนิครนถผูนี้ในที่ ไหนเลา” ๑๖ อุบาลีคฤหบดีไดอธิบายขอนี้วา “ขาแตพระองคผูเจริญ เทวดาชื่อมโนสัตวอยูนิครนถนั้น ยอมเกิดในเทวดาจําพวกนั้น เปนผูมีใจเกาะเกี่ยวกระทํากาละ” ๑๗ พิจารณาตามคําอธิบายของอุบาลีคฤหบดี จะเห็นไดวาในการกระทําความดีนั้น ศาสนาเชน ถือจิตใจเปนเรื่องสําคัญ พวกนิครนถที่เครงครัดในการทรมานตนจนตองเสียชีวิตไป ยอมจะไดไป เกิดเปนเทวดาในสวรรค ทางพุทธศาสนาไดอธิบายความหมายของศาสนาเชนเพิ่มเติมในคําวา เทวดาชื่อมโนสัตวไววา “เทวดาพวกที่ชื่อมโนสัตวนั้น ไดแกพวกเทวดาผูติดของ คือถูกทําใหผูก คลองไวในใจ คือเพราะพวกนิครนถเหลานั้นผูกพันไวในใจแลวตาย เพราะฉะนั้น พวกเขายอม เกิดในพวกเทวดาที่ชื่อมโนสัตว” ๑๘ จากคําอธิบายเพิ่มเติมนี้ แสดงวาพวกนิครนถมีความหวังในการบําเพ็ญตบะ ๒ อยางคือ เพิ่มไดเกิดในสวรรค และการเปลื้องกรรม ในเมื่อการเกิดเปนเทวดาพวกมโนสัตวของศาสนาเชนขึ้นอยูกับจิตใจ แสดงวาศาสนาเชน ก็ถือวาจิตใจเปนของสําคัญ เมื่อพระพุทธเจาไดฟงคําอธิบายของอุบาลีคฤหบดีในเรื่องนี้ พระองค ทรงเตือนใหอุบลีคฤหบดีในเรื่องนี้ พระองคทรงเตือนใหอุบาลีคฤหบดีทบทวนเรื่องที่ไดสนทนา แลว แตอุบาลีคฤหบดีก็ยืนยันวา ในการกระทําบาป กายทัณฑะยังมีโทษหนักกวาวจีทัณฑะและ มโนทัณฑะ เมื่อเปนอยางนี้ พระพุทธเจาทรงตองการที่จะทราบวาเจตนาในการกระทําความชั่วของคน อยูที่สวนใดของทัณฑะโดยตรัสถามวา ____________________ ๑๖ เรื่องเดียวกัน. น. ๕. ๑๗ ม. ม. ๑๓/๖๙/๕๘. ๑๘ เรื่องเดียวกัน.
  • 7. - 7 - “ดูกรคฤหบดี ทานจะสําคัญความขอนี้เปนไฉน นิกรนถในโลกนี้พึงเปน ผูสํารวมดวยการสังวรโดยสวน ๔ คือ หามน้ําทั้งปวง ประกอบดวย การหามบาปทั้งปวง กําจัดบาปดวยการหามบาป อันการหามบาป ทั้งปวงเปนการถูกตองแลว เมื่อเขากาวไป ถอยกลับ ยอม ถึงการฆาสัตวตัวเล็กๆ เปนอันมาก ดูกรคฤหบดี ก็นิครนถนาฏบุตร บัญญัติวิบากเชนไรแกนิครนถผูนี้” ๑๙ คําตอบของอุบาลีคฤหบดี คือ หากการกระทําบาปนั้นเปนไปโดยไมจงใจ นิครนถ นาฏ บุตรถือวามีโทษนอย และถาจงใจกระทํา ก็มีโทษมาก ๒๐ สังเกตดูคําสอนของนิครนถ นาฏบุตร ที่อุบาลีคฤหบดีตอบตอนนี้ จะเห็นไดวานิครนถ นาฏบุตรจะถือวากายทัณฑะมีโทษหนักที่สุดก็จริง แตทั้งนี้ตองเอาเจตนามาตัดสิน คือถาบาปนั้น กระทําโดยจงใจจะมีโทษมากกวาบาปที่กระทําโดยไมจงใจ มีปญหาอยูวา เจตนาจะจัดเปนทัณฑะ สวนใด พระพุทธเจาเลยตรัสถามตอไปวา นิครนถ นาฏบุตรบัญญัติเจตนาลงในสวนไหนของ ทัณฑะ คําตอบที่พระองคไดรับจากอุบาลีคฤหบดีคือ นิครนถ นาฏบุตรบัญญัติเจตนาลงในสวน มโนทัณฑะ๒๑ จึงเปนอันสรุปไดวา ถึงแมศาสนาเชนจะถือวากายทัณฑะมีโทษหนักกวาทัณฑะ อื่นๆ ก็จริง แตทั้งนี้ยอมขึ้นอยูกับเจตนาในการกระทําดวย กายทัณฑะจึงไมนาจะมีโทษมากกวา ทัณฑะอื่นๆ อยางไรก็ตาม ทางพุทธศาสนาไมยอมรับหลักคําสอนนี้ และยังยืนยันวาความผิด ทางใจมีโทษหนักกวาการกระทําความผิดทางอื่น ๒๒ ในการสนทนากับอุบาลีคฤหบดี พระพุทธเจาทรงซักถามเรื่องทัณฑะอยางละเอียดบางครั้ง ตองยกตัวอยางสนทนากัน เพื่อทรงชี้ใหอุบาลีคฤหบดีเห็นวามโนกรรมเปนกรรมสําคัญและมีโทษ หนักในการที่บุคคลจะกระทําชั่วตางๆ เพราะหากใจไมคิดชั่ว การกระทําความชั่วคงเกิดขึ้นนอย มาก ____________________ ๑๙ ม. ม. ๑๓/๗๐/๕๙. ๒๐ เรื่องเดียวกัน. ๒๑ เรื่องเดียวกัน ๒๒ เรื่องเดียวกัน.
  • 8. - 8 - จุดมุงหมายสูงสุดของชีวิต เชนถือวา โมกษะเปนจุดหมายสูงสุดของชีวิต เปนโลกุตตรภาวะ สภาวะที่พนไปจากโลก ไมตองมาเวียนวายตายเกิดในสังสารวัฏใหระทมทุกขอีกตอไป ความหลุดพน หมายถึงการแยกวิญญาณออกจากวัตถุ เราสามารถปองกันวัตถุไมใหเขาไป ผูกพันกับวิญญาณไดและทําลายวัตถุที่วิญญาณผูกพันอูก็ได เราเรียกกรรมวิธีนี้วา สังวร หมายถึง ระวังหรือสํารวมมิใหการไหลของกรรมเขาไปสูวิญญาณ และ นิรชรา หมายถึง การทําลายหรือ สลัดกรรมเกาที่มีอยูในวิญญาณใหหมดไปตามลําดับ ๒๓ ความหลุดพนที่จะกลาวถึง หมายถึงการที่ชีวะหลุดพนจากการเวียนวายตายเกิดหรือ โมกษะ คือการขจัดกรรมใหหมด ทุกขก็หมด เมื่อทุกขหมดชีวะนั้น ๆ เปนอันหลุดพนเครื่อง ผูกมัดทั้งปวง ไมตองมาเวียนวายตายเกิดตอไปอีก ทางที่จะกาวไปสูความหมดทุกขอันเปนการหยุดการเวียนวายตายเกิด ศาสนาเชนเนนการ อบรมทางกาย (กายภาวนา) และไมเห็นดวยกับการอบรมทางใจเพราะเขาใจวาพุทธเจาทรงสอนให สาวกอบรมจิตอยางเดียว ๒๔ เหตุที่ทางศาสนาเชนเนนเชนนั้นเพราะถือวาการอบรมกายเปนทาง ไปสูตบะ และการอบรมกายที่ถึงขั้นบําเพ็ญทุกรกิริยา คือ วิธีการที่จะลบลางกรรมที่เคลือบติดอยู กับชีวะ และศาสนาเชนถือวาบุคคลจะพบความสุขไดดวยการเอาความทุกขเขาแลก สาวกของ นิครนถ นาฏบุตร ไดอธิบายใหพระพุทธเจาฟงวา “บุคคลมิใชจะประสบความสุขไดดวยความสุข แตจะประสบความสุขไดดวยความทุกขแท” ๒๕ ตบะจึงเปนหัวใจในการแสวงหาความหลุดพน จากความทุกขที่ศาสนาเชนถือวาถมทับบุคคลอยูแตมีหลักเกณฑอยูวา ตบะตองมาจากความรูจะงม งายหรือลืมตนมิได จะตองใชญาณทัศนะ คําวา “ญาณทัศนะ” คือ ความเห็นแจงในคําสอนของ ศาสนาเชน มีขอความเกี่ยวกับเรื่องนี้วา “นิครนถ นาฏบุตร รูธรรมทั้งปวง เห็นธรรมทั้งปวง ยืนยัน ญาณทัศนะหมดทุกสวนวา เมื่อเราเดินไปก็ดี ยืนก็ดี หลับก็ดี ตื่นก็ดี ญาณทัศนะปรากฏอยูติดตอ เสมอไป” ๒๖ จึงพอสรุปไดวา ตบะที่กระทําโดยอาศัยความรูตามหลักของศาสนา คือ ทางแหงความ หลุดพนจากความทุกข หรือนิรวาณ (นิพพาน) ของศาสนาเชน ____________________ ๒๓ สถิต วงศสวรรค. ปรัชญาตะวันออก. (กรุงเทพฯ: รวมสาสนการพิมพ. ๒๕๔๑). น. ๖๔. ๒๔ ม. มู. ๑๒/๔๐๕/๓๖๑. ๒๕ เรื่องเดียวกัน. ๖๒๐/๑๔๙. ๒๖ เรื่องเดียวกัน. ๒๑๙/๑๘๗.
  • 9. - 9 - เรื่องการปฏิบัติไปสูโมกษะ เชนจะเนนเรื่องการทรมานรางกาย ดังปรากฏในธัมมจัก กัปปวัตตนสูตร ที่พระพุทธเจาทรงแสดงแกปญจวัคคียวา ที่สุดโตง ๒ อยางอันบรรพชิตไมควร ของและนํามาปฏิบัติ นั่นก็คือ กามสุขัลลิกานุโยค การบํารุงบําเรอตนดวยกาม และอัตตกิลมถานุ โยค การทรมานตนใหเดือดรอน ในเทวทหสูตรนั้น พระพุทธเจาทรงตรัสถามพวกนิครนถวา เธอมีความเห็นอยางนี้มิใชหรือวา สิ่งที่บุคคลเสวยหรือประสพอยูในชีวิตนี้จะเปน สุขก็ตาม ทุกขก็ตาม มิใชสุขมิใชทุกขก็ตาม ทั้งหมดเนื่องมาจากเหตุที่ทําไวในกาลกาลกอนเมื่อ กรรมเกาถูกกําจัดหมดไป ไมทํากรรมใหม ไมมีกิเลสไหลเขา ก็สิ้นกรรม เพราะสิ้นกรรมก็สิ้น ทุกข เพราะสิ้นทุกขก็สิ้นเวทนา เพราะสิ้นเวทนา ทุกขทั้งปวงก็ทําลายไปหมด พวกนิครนถใหคําตอบยืนยันตามนั้น พระพุทธเจาจึงตรัสถามตอไปอีกวา ถาเชนนั้นเธอก็ ยอมรับวา ความสุข ความทุกข ของคนเราขึ้นอยูกับเหตุหรือกรรมในอดีตเปนบางสวนและขึ้นอยู กับเจตนจํานงของเราเปนบางสวนใชหรือไม พวกนิครนถใหคําตอบยืนยัน พระพุทธเจาจึงตรัสถามอีกวา ถาเปนดังนั้น ฉันขอถามกะเอ เธอรูไหมวา ไดเคยเปนอะไรมาในกาลกอน เธอไดเคยทํากรรมเชนนั้นหรือไม เอรูหรือไมวาทุกข หมดสิ้นไปแลวมีประมาณเทานี้ ทุกขที่จะพึงทําใหหมดสิ้นไปจักประมาณเทานี้หรือเมื่อทุกขหมด ไปเทานี้แลว ทุกขทั้งปวงจักหมดไป เธอรูหรือไมวาการละอกุศลธรรม การทํากุศลธรรมใหถึง พรอมยอมมีไดในปจจุบัน พวกนิครนถใหคําตอบปฏิเสธวา ไมรูทุกคําถาม พระพุทธเจาทรงตรัสถามตอไปวาถาไมรู ดังนั้น เธอจะถือเชนนั้นไดอยางไร ดูกรนิคัณฐะ อยากจะทราบวา ดวยความพยายามและความ เพียร จะสามารถเปลี่ยนกรรมที่จะใหผลในปจจุบัน หรือใหผลในชาติหนา หรือใหผลเปนทุกข กลายเปนตรงกันขามไดหรือไม พวกนิครนถตอบวาไมได พระพุทธเจาจึงตรัสวา ถาเชนนั้นความเพียรพยายามและความ เพียรของพวกเธอก็ชื่อวาไรผล พระพุทธเจาตรัสวิจารณใหพระภิกษุทั้งหลายฟงวา พวกนิครนถมีความเห็นอยางนี้ยอมถูก ติเตียนในฐานะ ๑๐ คือ ๑) ถาสัตวเสวยสุขทุกข เพราะเหตุที่ทําไวกาลกอน พวกนิครนถที่ไดรับทุกขเพราะ ทรมานตัว ก็คงไดทํากรรมชั่วไวในกาลกอน
  • 10. - 10 - ๒) ถาสัตวเสวยสุขทุกขเพราะทานผูเปนใหญ (พระเจา) มิตอง หรือบันดาลทานผูเปน ใหญก็คงจะชั่วทั้งชาติ จึงสรางใหพวกนิครนถไดรับทุกข ๓) ถาสัตวเสวยสุขทุกขเพราะเหตุบังเอิญ พวกนิครนถก็ประสพเหตุบังเอิญที่ชั่ว เพราะ ตองไดรับทุกขเวทนาอยางหนัก ๔) ถาสัตวเสวยสุขทุกขเราะชาติกําเนิด (สังคติ) ชาติกําเนิดของนิครนถก็คงจะชั่ว จึงทํา ใหเสวยทุกขเวทนาอยางหนัก ๕) ถาสัตวเสวยสุขทุกข เพราะความพยายามในปจจุบัน ความพยายามในปจจุบันของ พวกนิครนถก็คงจะชั่ว จึงทําใหเสวยทุกขเวทนาหนัก ๖) ถาสัตวเสวยสุขทุกข เพราะเหตุที่กระทําไวในกาลกอนหรือมิใชก็ตาม พวกนิครนถก็ ถูกติเตียน ๗) ถาสัตวเสวยสุขทุกขเพราะทานผูเปนใหญรางหรือไมก็ตาม พวกนิครนถก็ถูกติเตียน ๘) ถาสัตวเสวยสุขทุกขเพราะเหตุบังเอิญหรือไมก็ตาม พวกนิครนถก็ถูกติเตียน ๙) ถาสัตวเสวยสุขทุกขเพราะความพยายามในปจจุบันหรือไมก็ตาม เพราะชาติกําเนิด หรือไมก็ตาม พวกนิครนถก็ถูกติเตียน ๑๐)ถาสัตวเสวยสุขทุกขเพราะความพยายามในปจจุบันหรือไมก็ตาม พวกนิครนถก็คงถูกติ เตียน เพราะมีลัทธิทรมานตนใหลําบาก หลักคําสอนสําคัญ ในนิคัณฐสูตร ก็กลาวถึงหลักกรรมของทานนิครนถ นาฏบุตร ไวในทํานองเดียวกันวา กรรมเกาหมดไป เพราะความเพียรเผากิเลส ฆาเหตุไดเพราะไมทํากรรมใหม ดวยประการฉะนี้ จึง เปนอันวา เพราะกรรมสิ้นไป ทุกขหมดไป เพราะทุกขหมดไป เวทนาจึงหมดไป เพราะเวทนาหมด ไป ทุกขทั้งปวงจึงเสื่อมไปโดยไมเหลือ การลวงทุกขยอมมีไดดวยกรรมวิธีที่ทําใหกิเลสเสื่อมไป โดยไมเหลือ ซึ่งบุคลจะพึงเห็นไดเอง ดวยประการฉะนี้ ในสามัญผลสูตร กลาวไววา ทานนิครนถ นาฏบุตร ทูลตอบพระเจาอชาตศัตรูเมื่อทรงถาม ถึงสามัญผลในศาสนาของทานวา นิครนถในโลกนี้ เปนผูสังวรแลวดวยสังวร ๔ประการ คือ ๑. หาม น้ําทั้งปวง ๒. ประกอบดวยน้ําทั้งปวง ๓. กําจัดดวยน้ําทั้งปวง ๔. ประพรมดวยน้ําทั้งปวง เพราะ สังวรดวยสังวร ๔ ประการนี้ บัณฑิตจึงเรียกวา เปนผูมีตนถึงที่สุดแลว มีตนสํารวมแลวมีตนตั้งมั่น แลว ในนิคัณฐสูตร ความตอนหนึ่งวา ทานนิครถ นาฏบุตรถือวา สมาธิที่ไมมีวิตกวิจารนั้นไมมี ความดับวิตกวิจารก็ไมมี ระหวางญาณกับศรัทธา ทานถือวา ญาณ ประณีตกวา ในสีหสูตร กลาววา ทานนิครนถ นาฏบุตร เรียกลัทธิของทานวากิริยาวาท คือ ลัทธิที่ถือวา กรรมที่ทําแลวมีผล ไดแก ทําดีไดดี ทําชั่วไดชั่ว และกลาววา หลักคําสอนของพระพุทธเจาเปนอกิริ
  • 11. - 11 - ยวาท ซึ่งเมื่อสีหเสนาบดี สาวกคนหนึ่งของทานไปทูลถามพระพุทธเจา พระพุทธองคทรงรังวาถูก แลว เพราะพระองคทรงถือพุทธศาสนา ทําไหทานิครนถ นาฏบุตรเสียใจมาก ในอุปาลิวาทสูตร กลาวไววา คําวา กรรม ทานนิครนถ นาฏบุตรเรียกวา ทัณฑะ และกลาว ยืนยันวา ในบรรดากายทัณฑะ วจีทัณฑะ และมโนทัณฑะนั้น กายทัณฑะชื่อวามีโทษมากที่สุด ตอมา สาวกคนหนึ่งชื่อ ทีฆตปสสีไดนําเรื่องนี้ไปทูลถามพระพุทธเจา เมื่อไดฟงพระพุทธดํารัสวา ทางพุทธศาสนาถือวา มโนกรรมมีโทษมากกวา ก็กลับมารายงานทานนิครนถ นาฏบุตร ขณะนั้นมีอุ บาลีคฤหบดีผูเปนสาวกนั่งอยูดวย และรับอาสาไปโตวาทะกับพระพุทธเจาในเรื่องนี้อีก ซึ่งทาน นิครนถ นาฏบุตรก็สนับสนุน ทั้งๆ ที่ทีฆตปสสีคัดคานดวยเกรงจะเสียทีแกพระพุทธเจา เมื่ออุบาลีคฤหบดีไปเผาพระพุทธเจา และกลาวสนับสนุนวาทะของทานนิครนถ นาฏบุตร วา กายทัณฑะมีโทษมากกวามโนทัณทะ พระพุทธองคจึงทรงอุปมาใหฟงวา สมมุติวา นิครนถคน หนึ่งอาพาธ มีทุกข เปนไขหนัก หามน้ําเย็น ดื่มน้ํารอน เมื่อไมไดน้ําเย็น เขาก็ตาย ตรัสถามวาทาน นิครนถ นาฏบุตรพยากรณวา นิครนถคนนั้นตายแลวไปเกิดที่ไหน อุบาลีคฤหบดีทูลตอบวา ไป เกิด ในเทวดาพวกมโนสัตว เพราะมีใจเกาะเกี่ยวทํากาละ พระพุทธเจาทรงเตือนวา วาทะของอุบาลีขัด กันเองแลว แตอุบาลียังยืนยันกายทัณฑะอยู พระองคจึงตรัสอุปมาใหฟงอีกวา ถามีนิครนถคนหนึ่ง สํารวมดวยสังวร ๔ อยู ขณะเขากาวไปถอยหลัง ยอมฆาสัตวเล็กๆเปนอันมาก ตรัสถามวา ทาน นิครนถ นาฏบุตร บัญญัติวิบากเชนไรแกนิครนถคนนี้ อุบาลีแยงวา ทานศาสนาของตนบัญญัติวา กรรมที่ ทําโดยไมจงใจ ไมมีโทษมาก ทรงซักวา ถาจงใจทําเลา อุบาลีทูลตอบวา มีโทษมาก ทรงซัก วา ทานนิครนถ นาฏบุตร บัญญัติเจตนาลงในทัณฑะไหน อุบาลีทูลตอบวา ในสวนมโนทัณฑะ พระ พุทธองคทรงเตือนอีกวา วาทะของอุบาลีขัดกันเองแลว แตอุบาลีก็ยืนยันเหมือนเดิม พระพุทธเจาจึง ทรงอุปมาอีกหลายอยางในที่สุด อุบาลียอมรับวา ทานเลื่อมใสตั้งแตอุปมาขอแรกแลว แตประสงค จะฟงปฏิภาณของพระพุทธองคตอไป แลวทานก็ปฏิญาณตนถือพุทธศาสนาแตนั้นมา ทฤษฎีเรื่องกรรม นักปราชญสํานักเชน มีคําสอนเรื่อง “กรรม” อยางละเอียดโดยมีจุดประสงคเพื่อนํามา อธิบายสภาพทางโลก (สังสาริกะ) ของชีวะ ตามปรัชญาเชนกรรมมีอยู 8 ชนิดดวยกันคือ ๑.ญานวรนิยะ –กรรม - กรรมที่บดบังความรู ๒.ทัศนาวรนิยะ– กรรม - กรรมที่บดบังความคิด ๓. โมหะนิยะ – กรรม -กรรมที่สรางความหลง ๔.เวทนิยะ - กรรม - กรรมที่ทําใหเกิดความยินดี ๕. นาม – กรรม - กรรมที่ทําใหเกิดรูป ๖. อนตะรายะ– กรรม กรรมที่สรางสิ่งขัดขวาง ๗.โคตระ– กรรม -กรรมที่กําหนดใหบุคคลเกิด ใหครอบครัวใดครอบครัวหนึ่ง ๘.อายุสยะ - กรรม -กรรมที่กําหนดชวงเวลาในชีวิตของแตละคน
  • 12. - 12 - สิ่งมีชีวิตทั้งหมดไมวามนุษยหรือต่ํากวามนุษยตกอยูภายใตกรรมเหลานี้ ดังนั้นโชคชตา ของวิญญาณจึงมีความเกี่ยวพันกับกรรม กรรมเหลานี้แบงออกเปน 2 ชนิด คือ ทรัพยะ – กรรม และภาวะ – กรรม ทรัพยะ กรรม ประกอบดวยอนุภาคสสาร อนุภาคสสารลึกลับจากแกนกลาง ขององคประกอบ ของกรรม มีความสัมพันธกับวิญญาณของสสารลึกลับแหงองคประกอบของกรรมทําใหเกิดเปนกายขึ้น กายที่ เกิดขึ้นมาจะไดรับโภชนาการจากสภาพแวดลอมคําวา ภาวะ - กรรม หมายถึงการกําหนดทางจิต อยางไมบริสุทธิ์ หรือตราบใดที่จิตยังไมบริสุทธิ์จะเปนสาเหตุของการทําใหเกิด “รูป” หรือ รางกายจาก อนุภาคของสสาร (ทรัพยะ) ทรัพยะกรรม มีอิทธิพลตอการกําหนดของจิต ทรัพยะ – กรรม เปนสสาร ในขณะภาวะ - กรรม คือการกําหนดของจิต การเปลี่ยนแปลงใด ๆ ในกรรม อยางหนึ่งของกรรมทั้ง 2 ชนิดนี้ยอมมีผลกระทบถึงกัน การเปลี่ยนแปลงทาง สสารยอมเกิดการ เปลี่ยนแปลงมากอนของสสารและทํานองเดียวกันการเปลี่ยนแปลงทางจิต ยอมเกิดจากสภาพของ จิตกอน การพยายามกําจัดการเกี่ยวของกับรางกายตองรักษาการกําหนดที่ไมบริสุทธิ์ของจิตให สะอาดและการจะใหถึงเปาหมายเชนนี้ ปรัชญาเชน กําหนดใหตองทําโยคะหรือตะบะ