SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  15
โรคเบาหวาน

     จัดทำาโดย
นายวีระวัฒน์ เกษศิริ
ความรูท ั่ว ไปเรื่อ งเบาหวาน
      ้
     โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรัง และก่อให้
เกิดปัญหาต่อสุขภาพ ก่อให้เกิดปัญหากับ
ฟันและเหงือก ตา ไต หัวใจ หลอดเลือด
แดง ท่านผู้อ่านสามารถป้องกันโรค
แทรกซ้อนต่างๆได้ โดยการปรับ อาหาร
การออกกำาลังกาย และยาให้เหมาะสม ท่าน
ผูอ่านสามารถนำาข้อเสนอแนะจากบทความ
  ้
นี้ไปปรึกษากับแพทย์ที่รักษาท่านอยู่ ท่าน
ต้องร่วมมือกับคณะแพทย์ที่ทำาการรักษา
โรคเบาหวานคือ อะไร
     อาหารทีรับประทานเข้าไปส่วนใหญ่จะ
             ่
เปลี่ยนจะเปลี่ยนเป็นนำ้าตาลกลูโคสใน
กระแสเลือดเพือใช้เป็นพลังงาน เซลล์ใน
               ่
ตับอ่อนชือเบต้าเซลล์เป็นตัวสร้างอินซูลิน
           ่
อินซูลินเป็นตัวนำานำ้าตาลกลูโคสเข้าเซลล์
เพื่อใช้เป็นพลังงาน โรคเบาหวาน เป็น
ภาวะที่ร่างกายมีระดับนำ้าตาลในเลือดสูง
กว่าปกติ เกิดเนื่องจากการขาดฮอร์โมน
อินซูลิน
ฮอร์โ มนอิน ซูล ิน มีค วามสำา คัญ
     ต่อ ร่า งกายอย่า งไร
    อินซูลินเป็นฮอร์โมนสำาคัญตัวหนึ่งของ
ร่างกาย สร้างและหลั่งจากเบต้าเซลล์ของ
ตับอ่อน ทำาหน้าที่เป็นตัวพานำ้าตาลกลูโคส
เข้าสู่เนื้อเยื่อต่างๆของร่างกาย เพื่อเผา
ผลาญเป็นพลังงานในการดำาเนินชีวิต ถ้า
ขาดอินซูลินหรือการออกฤทธิไม่ดี ร่างกาย
                                ์
จะใช้นำ้าตาลไม่ได้ จึงทำาให้นำ้าตาลใน
เลือดสูงมีอาการต่างๆของโรคเบาหวาน
อาการของโรคเบาหวาน
   ผู้ที่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน มักจะมี
อาการปัสสาวะบ่อย หิวบ่อย และนำาหนัก
ลด แต่บางท่านอาการค่อยเป็นค่อยไปมัก
จะมาด้วยโรค แทรกซ้อน เช่นภาวะนำ้าตาล
สูงแล้วหมดสติ หรือโรค ติดเชื้อ
ใครมีโ อกาสจะเป็น โรคเบา
          หวาน
     ผู้ที่มีนำ้าหนักเกิดหรือว่าอ้วน ไม่ออก
กำาลังกาย เป็นไขมันในเลือดสูง มีประวัติ
ครอบครัวเป็นเบาหวาน กลุ่มคนเหล่านี้จะ
เสียงต่อการเป็นเบาหวาน ชนิดที่ 2
   ่
สำาหรับชนิดที่ 1 ทุกคนมีสิทธิเป็นเท่าๆกัน
                                   ์
การวิน ิจ ฉัย โรคเบาหวาน
    วิธการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวาน
       ี
แน่นอนคือการเจาะเลือดตรวจหาระดับ
นำ้าตาล แต่วิธการเจาะมีหลายวิธี เจาะตอน
               ี
เช้าหลังจากอดอาหาร 8 ชัวโมง เจาะแบบ
                           ่
ซุ่ม ทดสอบความทนต่อนำ้าตาล การเจาะ
หาค่านำ้าตาลเฉลี่ย และเกณฑ์การวินิจฉัย
โรคเบาหวาน
การคัด กรองโรคเบาหวาน
  การคัดกรองหมายถึงการคัดเลือกผูที่มี   ้
ความเสี่ยงที่จะเป็นเบาหวาน มาเจาะเลือด
เพื่อวินิจฉัย กลุ่มเสียงดังกล่าวได้แก่ นำ้า
                      ่
หนักเกิน ไม่ออกกำาลังกาย เป็นต้น
ชนิด ของโรคเบาหวาน
     โรคเบาหวานเป็นกลุ่มของโรคซึ่งมี
ระดับนำ้าตาลในเลือดสูง ซึ่งอาจจะเกิดจาก
ความผิดปกติของการสร้าง หรือการออก
ฤทธิ์ หรืออาจจะเกิดจากกลไกทังสอง ผล
                               ้
จากการที่นำ้าตาลในเลือดสูงเป็นเวลานาน
ทำาให้เกิดโรคหลอดเลือดแข็งและมีการ
ทำาลาย ไต สมอง หัวใจ ระดับนำ้าตาลเมื่อ
เป็นใหม่ๆจะไม่สูงแต่เมือเวลาผ่านไประดับ
                       ่
นำ้าตาลจะสูงขึ้น ชนิดของโรคเบาหวาน
หลัก การรัก ษาโรคเบาหวาน
   หลักการรักษาโรคเบาหวาน จะต้อง
ทำาให้ผป่วยอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข
       ู้
และไม่มีโรค แทรกซ้อนซึ่งต้องประกอบไป
          โ รค
ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การออก
กำาลังกาย การใช้ยาเม็ดหรือยาฉีด
โรคแทรกซ้อ นที่เ กิด จากโรค
      เบาหวาน
  โรคเบาหวาน เป็นโรค ที่มีโรค
                          โ รค
แทรกซ้อนทุกระบบ ได้แก่ ระบบประสาท
ตา ไต หัวใจและหลอดเลือด ผิวหนัง ช่อง
ปาก
เป้า หมายของการรัก ษาเบา
           หวาน
    การรักษาเบาหวาน ที่ดีจะต้องมีระดับ
นำ้าตาล และนำ้าตาลเฉลี่ยดี ความดันโลหิต
ระดับไขมัน นำ้าหนัก การออกกำาลังจะต้อง
อยูในเกณฑ์ทดี
    ่         ี่
การติด ตามและประเมิน การ
          รัก ษา
   การที่จะบอกว่าการรักษาโรคเบา
หวาน ได้ผลดีหรือไม่จะต้องมีการประเมิน
เช่นการเจาะเลือด การตรวจปัสสาวะ การ
ตรวจอย่างอื่น หรือการเจาะเลือดด้วยตัว
เอง
การป้อ งกัน โรคเบาหวาน
   แม้ว่าจะมียารักษาโรคเบาหวาน เพิ่ม
เติม แต่ผลการรักษายังไม่ดี ประกอบกับ
จำานวนผูที่ป่วยเป็นโรค เบาหานมีมากขึ้น
          ้
การป้องกันจึงมีความสำาคัญ
ยาที่ใ ช้ร ัก ษาโรคเบาหวาน
    ยารักษาเบาหวาน มีด้วยกันหลาย
ชนิด แต่ละชนิดออกฤทธิต่างกัน การเลือก
                       ์
ใช้ยาอย่างถูกต้องจะป้องกันโรค
แทรกซ้อนจากยา

Contenu connexe

Tendances

ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
Utai Sukviwatsirikul
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
Wan Ngamwongwan
 

Tendances (20)

ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
 
Ppt.DLP
Ppt.DLPPpt.DLP
Ppt.DLP
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Ppt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านมPpt.มะเร็งเต้านม
Ppt.มะเร็งเต้านม
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
Hypertension
HypertensionHypertension
Hypertension
 
Food for CKD
Food for CKDFood for CKD
Food for CKD
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
 
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน4 ยารักษาโรคเบาหวาน
4 ยารักษาโรคเบาหวาน
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 

En vedette

Powerpointความดันโลหิตสูง
PowerpointความดันโลหิตสูงPowerpointความดันโลหิตสูง
Powerpointความดันโลหิตสูง
secret_123
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
Pim My
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวาน
beam35734
 
โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูง
pimmypei
 

En vedette (18)

Powerpointความดันโลหิตสูง
PowerpointความดันโลหิตสูงPowerpointความดันโลหิตสูง
Powerpointความดันโลหิตสูง
 
ความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูงความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูง
 
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวานการเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
การเกิดปริทันต์ในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
 
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
โรคเบาหวานและการตรวจวัด โดยอาจารย์ธราธิป เรืองวิทยานนท์
 
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวาน
 
โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7
โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7
โรคเบาหวาน กลุ่มบ้า100% ม.1/7
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวาน
 
Cover cpg เบาหวาน
Cover cpg เบาหวานCover cpg เบาหวาน
Cover cpg เบาหวาน
 
คู่มือ เบาหวานเบาใจห่างไกลโรคทันตกรรม
คู่มือ เบาหวานเบาใจห่างไกลโรคทันตกรรมคู่มือ เบาหวานเบาใจห่างไกลโรคทันตกรรม
คู่มือ เบาหวานเบาใจห่างไกลโรคทันตกรรม
 
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
แนวทางปฏิบัติการป้องกันดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน (ตา ไต เท้า)
 
สุรษฏรธานี 210355
สุรษฏรธานี 210355สุรษฏรธานี 210355
สุรษฏรธานี 210355
 
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
คู่มือปฏิบัติงาน CKD 2559
 
โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูง
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุขวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
 
เบาหวาน
เบาหวานเบาหวาน
เบาหวาน
 

Similaire à โรคเบาหวาน

โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
weerawatkatsiri
 
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
Wan Ngamwongwan
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
54321_
 
เรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวานเรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวาน
54321_
 
โปสเตอร์ตรวจสุขภาพ55
โปสเตอร์ตรวจสุขภาพ55โปสเตอร์ตรวจสุขภาพ55
โปสเตอร์ตรวจสุขภาพ55
Anothai
 
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงงานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
appcheeze
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
Jittys Supat
 
Diabetic mellitus 02
Diabetic mellitus 02Diabetic mellitus 02
Diabetic mellitus 02
vora kun
 

Similaire à โรคเบาหวาน (20)

โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
โรคที่เกิดจากสูบบุหรี่ (1)
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
เรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวานเรื่องโรคเบาหวาน
เรื่องโรคเบาหวาน
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
โปสเตอร์ตรวจสุขภาพ55
โปสเตอร์ตรวจสุขภาพ55โปสเตอร์ตรวจสุขภาพ55
โปสเตอร์ตรวจสุขภาพ55
 
อาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดอาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือด
 
Diabetes
DiabetesDiabetes
Diabetes
 
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงงานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
Dm
DmDm
Dm
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
การรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับการรักษามะเร็งตับ
การรักษามะเร็งตับ
 
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
โรคไขมันอุดตันในเส้นเลือด M1 17 no na me (2)
 
Diabetic mellitus 02
Diabetic mellitus 02Diabetic mellitus 02
Diabetic mellitus 02
 
2008guideline ht
2008guideline ht2008guideline ht
2008guideline ht
 

โรคเบาหวาน

  • 1. โรคเบาหวาน จัดทำาโดย นายวีระวัฒน์ เกษศิริ
  • 2. ความรูท ั่ว ไปเรื่อ งเบาหวาน ้ โรคเบาหวานเป็นโรคเรื้อรัง และก่อให้ เกิดปัญหาต่อสุขภาพ ก่อให้เกิดปัญหากับ ฟันและเหงือก ตา ไต หัวใจ หลอดเลือด แดง ท่านผู้อ่านสามารถป้องกันโรค แทรกซ้อนต่างๆได้ โดยการปรับ อาหาร การออกกำาลังกาย และยาให้เหมาะสม ท่าน ผูอ่านสามารถนำาข้อเสนอแนะจากบทความ ้ นี้ไปปรึกษากับแพทย์ที่รักษาท่านอยู่ ท่าน ต้องร่วมมือกับคณะแพทย์ที่ทำาการรักษา
  • 3. โรคเบาหวานคือ อะไร อาหารทีรับประทานเข้าไปส่วนใหญ่จะ ่ เปลี่ยนจะเปลี่ยนเป็นนำ้าตาลกลูโคสใน กระแสเลือดเพือใช้เป็นพลังงาน เซลล์ใน ่ ตับอ่อนชือเบต้าเซลล์เป็นตัวสร้างอินซูลิน ่ อินซูลินเป็นตัวนำานำ้าตาลกลูโคสเข้าเซลล์ เพื่อใช้เป็นพลังงาน โรคเบาหวาน เป็น ภาวะที่ร่างกายมีระดับนำ้าตาลในเลือดสูง กว่าปกติ เกิดเนื่องจากการขาดฮอร์โมน อินซูลิน
  • 4. ฮอร์โ มนอิน ซูล ิน มีค วามสำา คัญ ต่อ ร่า งกายอย่า งไร อินซูลินเป็นฮอร์โมนสำาคัญตัวหนึ่งของ ร่างกาย สร้างและหลั่งจากเบต้าเซลล์ของ ตับอ่อน ทำาหน้าที่เป็นตัวพานำ้าตาลกลูโคส เข้าสู่เนื้อเยื่อต่างๆของร่างกาย เพื่อเผา ผลาญเป็นพลังงานในการดำาเนินชีวิต ถ้า ขาดอินซูลินหรือการออกฤทธิไม่ดี ร่างกาย ์ จะใช้นำ้าตาลไม่ได้ จึงทำาให้นำ้าตาลใน เลือดสูงมีอาการต่างๆของโรคเบาหวาน
  • 5. อาการของโรคเบาหวาน ผู้ที่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน มักจะมี อาการปัสสาวะบ่อย หิวบ่อย และนำาหนัก ลด แต่บางท่านอาการค่อยเป็นค่อยไปมัก จะมาด้วยโรค แทรกซ้อน เช่นภาวะนำ้าตาล สูงแล้วหมดสติ หรือโรค ติดเชื้อ
  • 6. ใครมีโ อกาสจะเป็น โรคเบา หวาน ผู้ที่มีนำ้าหนักเกิดหรือว่าอ้วน ไม่ออก กำาลังกาย เป็นไขมันในเลือดสูง มีประวัติ ครอบครัวเป็นเบาหวาน กลุ่มคนเหล่านี้จะ เสียงต่อการเป็นเบาหวาน ชนิดที่ 2 ่ สำาหรับชนิดที่ 1 ทุกคนมีสิทธิเป็นเท่าๆกัน ์
  • 7. การวิน ิจ ฉัย โรคเบาหวาน วิธการวินิจฉัยว่าเป็นโรคเบาหวาน ี แน่นอนคือการเจาะเลือดตรวจหาระดับ นำ้าตาล แต่วิธการเจาะมีหลายวิธี เจาะตอน ี เช้าหลังจากอดอาหาร 8 ชัวโมง เจาะแบบ ่ ซุ่ม ทดสอบความทนต่อนำ้าตาล การเจาะ หาค่านำ้าตาลเฉลี่ย และเกณฑ์การวินิจฉัย โรคเบาหวาน
  • 8. การคัด กรองโรคเบาหวาน การคัดกรองหมายถึงการคัดเลือกผูที่มี ้ ความเสี่ยงที่จะเป็นเบาหวาน มาเจาะเลือด เพื่อวินิจฉัย กลุ่มเสียงดังกล่าวได้แก่ นำ้า ่ หนักเกิน ไม่ออกกำาลังกาย เป็นต้น
  • 9. ชนิด ของโรคเบาหวาน โรคเบาหวานเป็นกลุ่มของโรคซึ่งมี ระดับนำ้าตาลในเลือดสูง ซึ่งอาจจะเกิดจาก ความผิดปกติของการสร้าง หรือการออก ฤทธิ์ หรืออาจจะเกิดจากกลไกทังสอง ผล ้ จากการที่นำ้าตาลในเลือดสูงเป็นเวลานาน ทำาให้เกิดโรคหลอดเลือดแข็งและมีการ ทำาลาย ไต สมอง หัวใจ ระดับนำ้าตาลเมื่อ เป็นใหม่ๆจะไม่สูงแต่เมือเวลาผ่านไประดับ ่ นำ้าตาลจะสูงขึ้น ชนิดของโรคเบาหวาน
  • 10. หลัก การรัก ษาโรคเบาหวาน หลักการรักษาโรคเบาหวาน จะต้อง ทำาให้ผป่วยอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นสุข ู้ และไม่มีโรค แทรกซ้อนซึ่งต้องประกอบไป โ รค ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การออก กำาลังกาย การใช้ยาเม็ดหรือยาฉีด
  • 11. โรคแทรกซ้อ นที่เ กิด จากโรค เบาหวาน โรคเบาหวาน เป็นโรค ที่มีโรค โ รค แทรกซ้อนทุกระบบ ได้แก่ ระบบประสาท ตา ไต หัวใจและหลอดเลือด ผิวหนัง ช่อง ปาก
  • 12. เป้า หมายของการรัก ษาเบา หวาน การรักษาเบาหวาน ที่ดีจะต้องมีระดับ นำ้าตาล และนำ้าตาลเฉลี่ยดี ความดันโลหิต ระดับไขมัน นำ้าหนัก การออกกำาลังจะต้อง อยูในเกณฑ์ทดี ่ ี่
  • 13. การติด ตามและประเมิน การ รัก ษา การที่จะบอกว่าการรักษาโรคเบา หวาน ได้ผลดีหรือไม่จะต้องมีการประเมิน เช่นการเจาะเลือด การตรวจปัสสาวะ การ ตรวจอย่างอื่น หรือการเจาะเลือดด้วยตัว เอง
  • 14. การป้อ งกัน โรคเบาหวาน แม้ว่าจะมียารักษาโรคเบาหวาน เพิ่ม เติม แต่ผลการรักษายังไม่ดี ประกอบกับ จำานวนผูที่ป่วยเป็นโรค เบาหานมีมากขึ้น ้ การป้องกันจึงมีความสำาคัญ
  • 15. ยาที่ใ ช้ร ัก ษาโรคเบาหวาน ยารักษาเบาหวาน มีด้วยกันหลาย ชนิด แต่ละชนิดออกฤทธิต่างกัน การเลือก ์ ใช้ยาอย่างถูกต้องจะป้องกันโรค แทรกซ้อนจากยา