SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  8
Télécharger pour lire hors ligne
1
Reading List สัปดาห์ที่ 1 นายวิเชียร วงค์วัน 58032447
ชื่อเรื่อง กรอบแนวคิดรูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานภายใต้สภาพแวดล้อมของเทคนิคการเรียนรู้แบบ
ร่วมมือที่จัดกลุ่มผู้เรียนโดยใช้วิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบ
A Conceptual Framework of Blended Learning Model with Collaborative Learning
Techniques Using Factor Analysis
ระดับ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ชื่อผู้วิจัย พรรณธิภา เพชรบุญมี
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์กรอบแนวคิดรูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานภายใต้
สภาพแวดล้อมของเทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือที่จัดกลุ่มผู้เรียนโดยใช้วิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบ เพื่อนาไปใช้เป็นต้นแบบ
สาหรับการพัฒนาบทเรียนในรายวิชาระบบจัดการฐานข้อมูลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ในขั้น ต่อไป วิธีการ
ดา เนินงานวิจัย แบ่งออกเป็น 6 ขั้นตอน ได้แก่ (1) ศึกษาทฤษฎี เอกสาร งานวิจัย และบทความที่ เกี่ยวข้อง (2) ร่างกรอบแนวคิด
เบื้องต้น (3) กาหนดกลุ่มผู้เชียวชาญ (4) สร้างแบบสอบถามประเมินความเหมาะสมของ กรอบแนวคิด (5) เก็บรวมรวมข้อมูล
และ (6) ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ และสรุปผล ผลการวิจัยได้โมเดลรูปแบบการเรียนการสอนที่ชื่อว่า
BL-COL Model ประกอบด้วย 5 ส่วน ได้แก่ (1) ส่วนของผู้เรียน (2) ส่วนของอาจารย์ผู้สอน (3) ส่วนของเนื้อหา (4) ส่วนของ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ (5) ส่วนของ การประเมินผลบทเรียน ผลการประเมินรูปแบบที่สังเคราะห์ขึ้นจากผู้เชี่ยวชาญจานวน 12
คน ความเหมาะสมของกรอบ แนวคิดตามรูปแบบที่สังเคราะห์ขึ้น มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก มาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.08
และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.46 แสดงว่าสามารถนา กรอบแนวคิดที่ สังเคราะห์ได้นาไปประยุกต์ใช้กับการเรียนการ
สอนได้อย่างเหมาะสม
ปัญหาวิจัย
เนื้อหาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ที่ใช้สอนเมื่อเทียบกับเวลาที่ใช้ในการสอนไม่เหมาะสมกัน กล่าวคือ ปริมาณเนื้อหา
มาก และมีเวลาในการสอนจากัด บางครั้งการอธิบายในบางหัวข้อ ผู้สอนไม่สามารถที่จะอธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจ และทันักบเวลา
ที่กาหนดไว้ทาให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับการเรียนการสอนตามมาอีกมากมาย จากการศึกษาสภาพปัญหาในด้านการเรียนการสอน
พบว่านักศึกษาส่วนใหญ่มีความสนใจเรียนในวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์น้อย และจากรายงานผลการศึกษาของนักศึกษาสาขาวิชา
ระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ที่เรียนวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ในปีการศึกษา
2553 จานวน 60 คน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาดังกล่าวต่ากว่าเกณฑ์ในระดับร้อยละ 50 จานวน18 คน คิดเป็น ร้อยละ 30
ของนักศึกษาที่เรียนวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ทั้งหมด สาเหตุที่ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่าเนื่องจากนักศึกษาขาดความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีทางด้านวิศวกรรมซอฟต์แวร์ และขาดการฝึกทักษะในการนาแนวคิดและทฤษฎีไปใช้งาน
ทั้งนี้สืบเนื่องจากการที่นักศึกษาขาดความสนใจในการเรียนรู้ การเรียนไม่สนุก ไม่เร้าใจ การเรียนการสอนอาจารย์จะเน้นการ
บันทึก ท่องจา และเน้นตัวอาจารย์เป็นสาคัญ ทาให้นักศึกษามีทัศนคติที่ไม่ดีต่อการเรียนในรายวิชาดังกล่าว
2
วัตถุประสงค์การวิจัย
เพื่อสังเคราะห์และประเมินความเหมาะสมของกรอบแนวคิดรูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานภายใต้
สภาพแวดล้อมของเทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือที่จัดกลุ่มผู้เรียนโดยใช้วิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบ
วิธีดาเนินการวิจัย
การดาเนินการวิจัยครั้งนี้ จาแนกวิธีการดาเนินการวิจัยออกเป็น 6 ขั้นตอนดังนี้
1. ศึกษาทฤษฎี เอกสาร งานวิจัย และบทความที่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีหรือรูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ ทฤษฎีการวิเคราะห์องค์ประกอบเพื่อจัดกลุ่มผู้เรียน การประเมินผลแบบ Kirkpatrick model และ
ทฤษฎีอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งงานวิจัยทั้งในและต่างประเทศ
2. ร่างกรอบแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานภายใต้สภาพแวดล้อมของเทคนิคการ
เรียนรู้แบบร่วมมือที่จัดกลุ่มผู้เรียนโดยใช้วิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบ จากการศึกษาทฤษฎี เอกสาร งานวิจัย และบทความที่
เกี่ยวข้อง
3. กาหนดกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ โดยผู้วิจัยได้กาหนดผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องซึ่งมีคุณสมบัติดังนี้ เป็นผู้สอนสาขาวิชา
คอมพิวเตอร์หรือสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง จบการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป และมีประสบการณ์ในการทางานมากกว่า 2 ปี การ
คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างในครั้งนี้ ใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ในภาคเรียนที่ 2 ปี
การศึกษา 2554 จานวน 12 คน
4. สร้างแบบสอบถามประเมินความเหมาะสมของกรอบแนวคิด ในด้านความเหมาะสมต่างๆ ดังนี้
4.1 ความเหมาะสมของส่วนประกอบของกรอบแนวคิด
4.2 ความเหมาะสมของ Student Module
4.3 ความเหมาะสมของ Teacher Module
4.4 ความเหมาะสมของ Content Module
4.5 ความเหมาะสมของ Collaborative Learning Module
4.6 ความเหมาะสมของการประเมินผลบทเรียน (Evaluation Module)
4.7 ความเหมาะสมในการนากรอบแนวคิดไปประยุกต์ใช้งาน
5. เก็บรวมรวมข้อมูล โดยสอบถามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญจากแบบสอบถามประเมินความเหมาะสมของกรอบ
แนวคิดที่ได้พัฒนาขึ้น
6. ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ และสรุปผล
ผลการวิจัย
ผลการวิจัยกรอบแนวคิดรูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานภายใต้สภาพแวดล้อมของเทคนิค การเรียนรู้แบบ
ร่วมมือที่จัดกลุ่มผู้เรียนโดยใช้วิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบ สามารถอธิบายรายละเอียดได้ดังนี้
1. การออกแบบกรอบแนวคิดรูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานภายใต้สภาพแวดล้อมของเทคนิค การเรียนรู้
แบบร่วมมือที่จัดกลุ่มผู้เรียนโดยใช้วิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบ ดังแสดงในภาพที่ 1 เป็นรูปแบบที่มี การผสมผสานระหว่างการ
3
เรียนรู้แบบเผชิญหน้า (Face-to-Face Learning) ในชั้นเรียนปกติ กับการเรียนรู้บนระบบเครือข่าย (Online Learning) โดยจะมี
การวิเคราะห์เนื้อหาวิชาก่อนว่าเนื้อหาเรื่องใดเหมาะสมที่จะจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนปกติ และเนื้อหาเรื่องใดเหมาะสมที่
จะจัดการเรียนการสอนบนระบบเครือข่าย โดยระดมความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญทางด้านเนื้อหา ซึ่งเป็นขั้นตอนหนึ่งของ
งานวิจัยที่จะดาเนินการต่อไป
ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดรูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานภายใต้สภาพแวดล้อมของเทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ
ที่จัดกลุ่มผู้เรียนโดยใช้วิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบ
2. การออกแบบองค์ประกอบพื้นฐานของรูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานภายใต้สภาพแวดล้อมของเทคนิค
การเรียนรู้แบบร่วมมือที่จัดกลุ่มผู้เรียนโดยใช้วิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบตามกรอบแนวคิด ประกอบด้วย
2.1 ส่วนของผู้เรียน (Student Module) ทาหน้าที่ในการบันทึกและจัดเก็บข้อมูลต่างๆของผู้เรียนลงใน
ฐานข้อมูล ซึ่งการจัดกลุ่มผู้เรียนจะใช้วิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor Analysis) หลังจากนั้นดาเนินการแบ่งกลุ่ม
ผู้เรียนตามปัจจัยที่ได้ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้
2.1.1 การลงทะเบียน (Register) ผู้เรียนทุกคนต้องทาการลงทะเบียนผ่านระบบการลงทะเบียน โดยบันทึก
ข้อมูลพื้นฐานต่างๆ
2.1.2 การทดสอบก่อนเรียน (Pretest) ผู้เรียนทุกคนต้องทาการทดสอบก่อนเรียน เพื่อวัดความรู้พื้นฐานก่อน
เรียน
2.1.3 เรียนเนื้อหา (Individual Study) ผู้เรียนทุกคนต้องเรียนรู้เนื้อหาตามหลักสูตร โดยมีรูปแบบ การเรียน
การสอน 2 รูปแบบ คือ ในชั้นเรียนปกติกับครูผู้สอน และแบบออนไลน์ด้วยตนเอง
2.1.4 การเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative Learning) หลังจากเรียนเนื้อหาจากครูผู้สอน หรือศึกษาเนื้อหาจาก
เว็บไซต์แล้ว ผู้เรียนต้องเข้ากลุ่ม เพื่อทางานกลุ่มตามงานที่ผู้สอนมอบหมายให้เสร็จตามวันเวลาที่กาหนด
2.1.5 ทดสอบย่อย (Quiz) เมื่อผู้เรียนทางานกลุ่มที่ได้รับมอบหมายเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผู้เรียนแต่ละคนจะต้อง
ทาการทดสอบย่อยในแต่ละบทเรียน เพื่อประเมินความรู้ความเข้าใจหรือศักยภาพของผู้เรียน
4
2.1.6 การทดสอบหลังเรียน (Posttest) ผู้เรียนต้องทาการทดสอบหลังเรียนเพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนของผู้เรียน
2.2 ส่วนของอาจารย์ผู้สอน (Teacher Module) ทาหน้าที่ในการบันทึกและจัดเก็บข้อมูลต่างๆของผู้สอนลงใน
ฐานข้อมูล นอกจากนี้ยังทาหน้าที่คอยเฝ้าสังเกตการณ์การเรียนรู้ ให้รายละเอียดของเนื้อหา ให้คาแนะนาหรือชี้แนะ อีกทั้งยังเป็น
ผู้เสริมเนื้อหาให้กับผู้เรียนเพื่อใช้ในการศึกษาเพิ่มเติมด้วย ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้
2.2.1 จัดการเนื้อหา (Course Material Management) ผู้สอนต้องทาหน้าที่จัดเตรียมเนื้อหา สาหรับ การเรียน
การสอนในชั้นเรียนปกติ และสาหรับการเรียนการสอนแบบออนไลน์
2.2.2 การจัดการงานที่มอบหมาย (Assignment Management) ผู้สอนต้องทาหน้าที่ในการกาหนดงานหรือ
ปัญหาให้แก่กลุ่มผู้เรียน เพื่อให้ได้ทางานกลุ่มร่วมกัน และทาหน้าที่ตรวจให้คะแนนเพื่อประเมินผู้เรียน
2.2.3 การจัดแบบทดสอบย่อย (Quiz Management) ผู้สอนต้องทาหน้าที่สร้างแบบทดสอบท้ายบทเรียนแต่
ละบท เพื่อประเมินศักยภาพในการเรียน
2.2.4 การจัดการแบบวัดผลสัมฤทธิ์ (Assessment Management) ผู้สอนต้องทาหน้าที่สร้างแบบทดสอบ เพื่อ
ใช้ในการทดสอบและประเมินผู้เรียนก่อนเรียนและหลังเรียน
2.2.5 การจัดการข้อมูลต่างๆ (Information Management) ผู้สอนต้องจัดการข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้อง เช่น
การแจ้งข่าว การตอบกระทู้หรือปัญหา เป็นต้น
2.2.6 การจัดการกลุ่มผู้เรียน (Group Management) ผู้สอนต้องจัดการแบ่งกลุ่มผู้เรียน
2.3 ส่วนของเนื้อหา (Content Module) ทาหน้าที่ในการบันทึก และเก็บเนื้อหา เอกสาร สื่อประกอบ การสอน
ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้
2.3.1 เนื้อหาบทเรียน (Content) เป็นส่วนที่ใช้เก็บบทเรียนต่างๆ ที่จะนาเสนอให้แก่ผู้เรียน
2.3.2 งานที่มอบหมาย (Task) เป็นส่วนที่ใช้เก็บงานต่างๆ ที่ผู้สอนกาหนดไว้ให้แก่ผู้เรียน
2.3.3 แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ (Resource) เป็นส่วนที่เก็บแหล่งข้อมูลสาหรับสนับสนุนการเรียนแก่ผู้เรียน
2.4 ส่วนของการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Collaborative Learning Module) เป็นวิธีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบหนึ่ง
ที่เน้นให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติงานเป็นกลุ่มย่อย โดยมีสมาชิกกลุ่มที่มีความสามารถที่แตกต่างกัน เพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพการ
เรียนรู้ของแต่ละคน สนับสนุนให้มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน จนบรรลุตามเป้ าหมายที่วางไว้นอกจากนี้ ยังเป็นการส่งเสริม
การทางานร่วมกันเป็นหมู่คณะ หรือทีมตามระบอบประชาธิปไตย และเป็นการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ ทาให้สามารถ
ปรับตัวอยู่กับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข การวิจัยครั้งนี้ ได้เลือกวิธีการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มแข่งขันตามผลสัมฤทธิ์ (Student Team
Achievement Division : STAD) โดยมีวิธีการคือ ให้ผู้เรียนร่วมกันเรียน ทากิจกรรมเป็นกลุ่ม แล้วแข่งขันักนทาแบบทดสอบ
รายบุคคล และพิจารณาผลการทดสอบเป็นรายกลุ่ม โดยมีขั้นตอน ดังนี้
2.4.1 จัดกลุ่มผู้เรียนออกเป็นกลุ่ม
2.4.2 ให้แต่ละกลุ่มพบปะสนทนาเกี่ยวกับเนื้อหาที่ผู้สอนกาหนด
2.4.3 ให้แยกกลุ่มทั้งหมด โดยให้ผู้เรียนแต่ละคนทาแบบทดสอบรายบุคคลด้วยตนเอง
5
2.4.4 นาคะแนนของผู้เรียนแต่ละคนมาเปรียบเทียบกับผลการทดสอบครั้งที่ผ่านมา พิจารณาการ
เปลี่ยนแปลง
2.4.5 นาคะแนนของผู้เรียนแต่ละกลุ่มไปรวมกัน เพื่อรวมเป็นความสาเร็จของกลุ่ม กลุ่มใดที่ได้คะแนน
สูงสุดจะได้รับรางวัล ทุกคนจึงต้องช่วยกันเพื่อให้กลุ่มได้รับความสาเร็จ
2.5 ส่วนของการประเมินผลบทเรียน (Evaluation Module) เป็นส่วนที่ใช้ในการประเมินผลบทเรียนที่พัฒนาขึ้น โดย
เลือกใช้วิธีการของ Kirkpatrick Model เพื่อประเมินผลระบบทั้งหมด เพื่อสรุปเป็นคุณภาพของบทเรียนที่พัฒนาขึ้น
ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้
2.5.1 การประเมินปฏิกิริยาตอบสนอง (Reaction Evaluation) การประเมินผลในขั้นนี้ มีวัตถุประสงค์ให้รู้ว่า
ผู้เรียนมีความรู้สึกอย่างไรต่อการเรียนรู้
2.5.2 การประเมินการเรียนรู้ (Learning Evaluation) การประเมินผลในขั้นนี้ มีวัตถุประสงค์ที่จะทราบว่า
ผู้เรียนได้รับความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติอะไรบ้างที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
2.5.3 การประเมินพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปหลังการเรียนรู้ (Behavior Evaluation) การประเมินผลในขั้นนี้ มี
วัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบว่าผู้เรียนได้มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการทางานไปในทิศทางที่พึง
ประสงค์หรือไม่
2.5.4 การประเมินผลลัพธ์ที่เกิดต่อองค์กร (Result Evaluation) การประเมินผลในขั้นนี้ มีวัตถุประสงค์ที่จะ
ให้รู้ว่าการเรียนรู้นี้ได้ก่อให้เกิดผลดีต่อหน่วยงานอย่างไรบ้าง
6
ชื่อเรื่อง การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะวิชาชีพ นักเทคโนโลยีการศึกษา
ทางการแพทย์
The development of blended learning management for enhancing the
competency of medical educational technologists
ระดับ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีเทคนิคศึกษา
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ชื่อผู้วิจัย นางสาวโสภิตา สุวุฒโฑ
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนามาตรฐานอาชีพนักเทคโนโลยีการศึกษาทางการแพทย์ 2) พัฒนากระบวนการ
จัดการเรียนรู้แบบผสมผสานเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะวิชาชีพนักเทคโนโลยี การศึกษาทางการแพทย์ 3) ศึกษาผลการจัดการ
เรียนรู้แบบผสมผสาน และ 4) ประเมินสมรรถนะวิชาชีพ นักเทคโนโลยีการศึกษาทางการแพทย์การดาเนินการวิจัยมี 4 ระยะ
ระยะที่ 1 การพัฒนามาตรฐานอาชีพ ใช้เทคนิคการวิเคราะห์หน้าที่งาน แล้วให้ผู้ทรงคุณวุฒิ 32 ท่านร่วมกันพิจารณาร่างและ
รับรอง มาตรฐานอาชีพ ระยะที่2 การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานเป็นการนาแนวคิด ด้านสมรรถนะมา
กาหนดกระบวนการจัดการเรียนรู้แล้วให้ผู้เชี่ยวชาญ 6 ท่านประเมินความเหมาะสม ของกระบวนการ ระยะที่3 การศึกษาผลการ
จัดการเรียนรู้แบบผสมผสานเป็นการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนร่วมกับการเรียนผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ให้กับกลุ่มตัวอย่าง
ได้แก่นักศึกษาชั้นปีที่ 3 หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษาแพทยศาสตร์คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
มหาวิทยาลัยมหิดล จานวน 18 คน ในรายวิชาการออกแบบสิ่งพิมพ์เป็นเวลา 1 ภาคการศึกษา ทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
และสอบถามความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน และระยะที่4 การประเมินสมรรถนะ
วิชาชีพนักเทคโนโลยีการศึกษาทางการแพทย์ให้ผู้ประเมินจานวน 6 ท่าน พิจารณาร่องรอยหลักฐานที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน
ผลจากการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) มาตรฐานอาชีพนักเทคโนโลยีการศึกษาทางการแพทย์ประกอบด้วย 1 ความมุ่งหมายของอาชีพ 5
บทบาทหลัก 7 หน้าที่หลัก 6 หน่วยสมรรถนะ และ 11 สมรรถนะย่อย ของหน้าที่หลักออกแบบสิ่งพิมพ์2) กระบวนการจัดการ
เรียนรู้แบบผสมผสานมี 8 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การออกแบบการจัดการเรียนรู้ (2) การพัฒนาโมดูลการเรียนรู้แบบฐานสมรรถนะ
(3) การประเมิน สมรรถนะแรกเข้าของผู้เรียน (4) การจัดเตรียมสภาพแวดล้อมและทรัพยากรทางการเรียน (5) การจัดการ เรียนรู้
ในชั้นเรียนร่วมกับการเรียนผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ (6) การทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ข (7) การสอบถามความ
คิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้ และ (8) การประเมินสมรรถนะ วิชาชีพ 3) ผู้เรียนทุกคนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ
เรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 และมีความคิดเห็นต่อ กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานอยู่ในระดับดีและ 4) ผู้รับการ
ประเมินสมรรถนะทุกคน มีผลการประเมินผ่านทุกหน่วยสมรรถนะ
วิธีการดาเนินการวิจัย
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะวิชาชีพนักเทคโนโลยี
การศึกษาทางการแพทย์ตามแนวทางมาตรฐานอาชีพ ผู้วิจัยได้กาหนด วิธีดาเนินการวิจัยเป็น 4 ระยะดังนี้
1 การพัฒนามาตรฐานอาชีพนักเทคโนโลยีการศึกษาทางการแพทย์
7
2 การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะวิชาชีพ นักเทคโนโลยีการศึกษาทาง
การแพทย์
3 การศึกษาผลการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน
3.1 การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
3.2 การศึกษาความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน
4 การประเมินสมรรถนะวิชาชีพนักเทคโนโลยีการศึกษาทางการแพทย์
ผลจากการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1) มาตรฐานอาชีพนักเทคโนโลยีการศึกษาทางการแพทย์ประกอบด้วย 1 ความมุ่งหมายของอาชีพ 5 บทบาทหลัก 7
หน้าที่หลัก 6 หน่วยสมรรถนะ และ 11 สมรรถนะย่อย ของหน้าที่หลักออกแบบสิ่งพิมพ์
2) กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานมี 8 ขั้นตอน ได้แก่
(1) การออกแบบการจัดการเรียนรู้
(2) การพัฒนาโมดูลการเรียนรู้แบบฐานสมรรถนะ
(3) การประเมิน สมรรถนะแรกเข้าของผู้เรียน
(4) การจัดเตรียมสภาพแวดล้อมและทรัพยากรทางการเรียน
(5) การจัดการ เรียนรู้ในชั้นเรียนร่วมกับการเรียนผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์
(6) การทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ข
(7) การสอบถามความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้ และ
(8) การประเมินสมรรถนะ วิชาชีพ
3) ผู้เรียนทุกคนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 และมีความคิดเห็นต่อ กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ
ผสมผสานอยู่ในระดับดีและ
4) ผู้รับการประเมินสมรรถนะทุกคน มีผลการประเมินผ่านทุกหน่วยสมรรถนะ
8

Contenu connexe

En vedette

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by HubspotMarius Sescu
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTExpeed Software
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsPixeldarts
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthThinkNow
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfmarketingartwork
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024Neil Kimberley
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)contently
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024Albert Qian
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsKurio // The Social Media Age(ncy)
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Search Engine Journal
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summarySpeakerHub
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Tessa Mero
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentLily Ray
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best PracticesVit Horky
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementMindGenius
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...RachelPearson36
 

En vedette (20)

2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot2024 State of Marketing Report – by Hubspot
2024 State of Marketing Report – by Hubspot
 
Everything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPTEverything You Need To Know About ChatGPT
Everything You Need To Know About ChatGPT
 
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage EngineeringsProduct Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
Product Design Trends in 2024 | Teenage Engineerings
 
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental HealthHow Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
How Race, Age and Gender Shape Attitudes Towards Mental Health
 
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdfAI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
AI Trends in Creative Operations 2024 by Artwork Flow.pdf
 
Skeleton Culture Code
Skeleton Culture CodeSkeleton Culture Code
Skeleton Culture Code
 
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
PEPSICO Presentation to CAGNY Conference Feb 2024
 
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
Content Methodology: A Best Practices Report (Webinar)
 
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
How to Prepare For a Successful Job Search for 2024
 
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie InsightsSocial Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
Social Media Marketing Trends 2024 // The Global Indie Insights
 
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
Trends In Paid Search: Navigating The Digital Landscape In 2024
 
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
5 Public speaking tips from TED - Visualized summary
 
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
ChatGPT and the Future of Work - Clark Boyd
 
Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next Getting into the tech field. what next
Getting into the tech field. what next
 
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search IntentGoogle's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
Google's Just Not That Into You: Understanding Core Updates & Search Intent
 
How to have difficult conversations
How to have difficult conversations How to have difficult conversations
How to have difficult conversations
 
Introduction to Data Science
Introduction to Data ScienceIntroduction to Data Science
Introduction to Data Science
 
Time Management & Productivity - Best Practices
Time Management & Productivity -  Best PracticesTime Management & Productivity -  Best Practices
Time Management & Productivity - Best Practices
 
The six step guide to practical project management
The six step guide to practical project managementThe six step guide to practical project management
The six step guide to practical project management
 
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
Beginners Guide to TikTok for Search - Rachel Pearson - We are Tilt __ Bright...
 

Reading list (wichien 58032447) week 1

  • 1. 1 Reading List สัปดาห์ที่ 1 นายวิเชียร วงค์วัน 58032447 ชื่อเรื่อง กรอบแนวคิดรูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานภายใต้สภาพแวดล้อมของเทคนิคการเรียนรู้แบบ ร่วมมือที่จัดกลุ่มผู้เรียนโดยใช้วิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบ A Conceptual Framework of Blended Learning Model with Collaborative Learning Techniques Using Factor Analysis ระดับ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ชื่อผู้วิจัย พรรณธิภา เพชรบุญมี บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์กรอบแนวคิดรูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานภายใต้ สภาพแวดล้อมของเทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือที่จัดกลุ่มผู้เรียนโดยใช้วิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบ เพื่อนาไปใช้เป็นต้นแบบ สาหรับการพัฒนาบทเรียนในรายวิชาระบบจัดการฐานข้อมูลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ในขั้น ต่อไป วิธีการ ดา เนินงานวิจัย แบ่งออกเป็น 6 ขั้นตอน ได้แก่ (1) ศึกษาทฤษฎี เอกสาร งานวิจัย และบทความที่ เกี่ยวข้อง (2) ร่างกรอบแนวคิด เบื้องต้น (3) กาหนดกลุ่มผู้เชียวชาญ (4) สร้างแบบสอบถามประเมินความเหมาะสมของ กรอบแนวคิด (5) เก็บรวมรวมข้อมูล และ (6) ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ และสรุปผล ผลการวิจัยได้โมเดลรูปแบบการเรียนการสอนที่ชื่อว่า BL-COL Model ประกอบด้วย 5 ส่วน ได้แก่ (1) ส่วนของผู้เรียน (2) ส่วนของอาจารย์ผู้สอน (3) ส่วนของเนื้อหา (4) ส่วนของ การเรียนรู้แบบร่วมมือ (5) ส่วนของ การประเมินผลบทเรียน ผลการประเมินรูปแบบที่สังเคราะห์ขึ้นจากผู้เชี่ยวชาญจานวน 12 คน ความเหมาะสมของกรอบ แนวคิดตามรูปแบบที่สังเคราะห์ขึ้น มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก มาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.08 และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0.46 แสดงว่าสามารถนา กรอบแนวคิดที่ สังเคราะห์ได้นาไปประยุกต์ใช้กับการเรียนการ สอนได้อย่างเหมาะสม ปัญหาวิจัย เนื้อหาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ที่ใช้สอนเมื่อเทียบกับเวลาที่ใช้ในการสอนไม่เหมาะสมกัน กล่าวคือ ปริมาณเนื้อหา มาก และมีเวลาในการสอนจากัด บางครั้งการอธิบายในบางหัวข้อ ผู้สอนไม่สามารถที่จะอธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจ และทันักบเวลา ที่กาหนดไว้ทาให้เกิดปัญหาเกี่ยวกับการเรียนการสอนตามมาอีกมากมาย จากการศึกษาสภาพปัญหาในด้านการเรียนการสอน พบว่านักศึกษาส่วนใหญ่มีความสนใจเรียนในวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์น้อย และจากรายงานผลการศึกษาของนักศึกษาสาขาวิชา ระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ที่เรียนวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ ในปีการศึกษา 2553 จานวน 60 คน มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาดังกล่าวต่ากว่าเกณฑ์ในระดับร้อยละ 50 จานวน18 คน คิดเป็น ร้อยละ 30 ของนักศึกษาที่เรียนวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ทั้งหมด สาเหตุที่ทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่าเนื่องจากนักศึกษาขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและทฤษฎีทางด้านวิศวกรรมซอฟต์แวร์ และขาดการฝึกทักษะในการนาแนวคิดและทฤษฎีไปใช้งาน ทั้งนี้สืบเนื่องจากการที่นักศึกษาขาดความสนใจในการเรียนรู้ การเรียนไม่สนุก ไม่เร้าใจ การเรียนการสอนอาจารย์จะเน้นการ บันทึก ท่องจา และเน้นตัวอาจารย์เป็นสาคัญ ทาให้นักศึกษามีทัศนคติที่ไม่ดีต่อการเรียนในรายวิชาดังกล่าว
  • 2. 2 วัตถุประสงค์การวิจัย เพื่อสังเคราะห์และประเมินความเหมาะสมของกรอบแนวคิดรูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานภายใต้ สภาพแวดล้อมของเทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือที่จัดกลุ่มผู้เรียนโดยใช้วิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบ วิธีดาเนินการวิจัย การดาเนินการวิจัยครั้งนี้ จาแนกวิธีการดาเนินการวิจัยออกเป็น 6 ขั้นตอนดังนี้ 1. ศึกษาทฤษฎี เอกสาร งานวิจัย และบทความที่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีหรือรูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสาน ทฤษฎีการเรียนรู้แบบร่วมมือ ทฤษฎีการวิเคราะห์องค์ประกอบเพื่อจัดกลุ่มผู้เรียน การประเมินผลแบบ Kirkpatrick model และ ทฤษฎีอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งงานวิจัยทั้งในและต่างประเทศ 2. ร่างกรอบแนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับรูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานภายใต้สภาพแวดล้อมของเทคนิคการ เรียนรู้แบบร่วมมือที่จัดกลุ่มผู้เรียนโดยใช้วิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบ จากการศึกษาทฤษฎี เอกสาร งานวิจัย และบทความที่ เกี่ยวข้อง 3. กาหนดกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ โดยผู้วิจัยได้กาหนดผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องซึ่งมีคุณสมบัติดังนี้ เป็นผู้สอนสาขาวิชา คอมพิวเตอร์หรือสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง จบการศึกษาระดับปริญญาโทขึ้นไป และมีประสบการณ์ในการทางานมากกว่า 2 ปี การ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างในครั้งนี้ ใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ตาก ในภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2554 จานวน 12 คน 4. สร้างแบบสอบถามประเมินความเหมาะสมของกรอบแนวคิด ในด้านความเหมาะสมต่างๆ ดังนี้ 4.1 ความเหมาะสมของส่วนประกอบของกรอบแนวคิด 4.2 ความเหมาะสมของ Student Module 4.3 ความเหมาะสมของ Teacher Module 4.4 ความเหมาะสมของ Content Module 4.5 ความเหมาะสมของ Collaborative Learning Module 4.6 ความเหมาะสมของการประเมินผลบทเรียน (Evaluation Module) 4.7 ความเหมาะสมในการนากรอบแนวคิดไปประยุกต์ใช้งาน 5. เก็บรวมรวมข้อมูล โดยสอบถามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญจากแบบสอบถามประเมินความเหมาะสมของกรอบ แนวคิดที่ได้พัฒนาขึ้น 6. ปรับปรุงแก้ไขตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ และสรุปผล ผลการวิจัย ผลการวิจัยกรอบแนวคิดรูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานภายใต้สภาพแวดล้อมของเทคนิค การเรียนรู้แบบ ร่วมมือที่จัดกลุ่มผู้เรียนโดยใช้วิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบ สามารถอธิบายรายละเอียดได้ดังนี้ 1. การออกแบบกรอบแนวคิดรูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานภายใต้สภาพแวดล้อมของเทคนิค การเรียนรู้ แบบร่วมมือที่จัดกลุ่มผู้เรียนโดยใช้วิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบ ดังแสดงในภาพที่ 1 เป็นรูปแบบที่มี การผสมผสานระหว่างการ
  • 3. 3 เรียนรู้แบบเผชิญหน้า (Face-to-Face Learning) ในชั้นเรียนปกติ กับการเรียนรู้บนระบบเครือข่าย (Online Learning) โดยจะมี การวิเคราะห์เนื้อหาวิชาก่อนว่าเนื้อหาเรื่องใดเหมาะสมที่จะจัดการเรียนการสอนในชั้นเรียนปกติ และเนื้อหาเรื่องใดเหมาะสมที่ จะจัดการเรียนการสอนบนระบบเครือข่าย โดยระดมความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญทางด้านเนื้อหา ซึ่งเป็นขั้นตอนหนึ่งของ งานวิจัยที่จะดาเนินการต่อไป ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดรูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานภายใต้สภาพแวดล้อมของเทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ ที่จัดกลุ่มผู้เรียนโดยใช้วิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบ 2. การออกแบบองค์ประกอบพื้นฐานของรูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานภายใต้สภาพแวดล้อมของเทคนิค การเรียนรู้แบบร่วมมือที่จัดกลุ่มผู้เรียนโดยใช้วิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบตามกรอบแนวคิด ประกอบด้วย 2.1 ส่วนของผู้เรียน (Student Module) ทาหน้าที่ในการบันทึกและจัดเก็บข้อมูลต่างๆของผู้เรียนลงใน ฐานข้อมูล ซึ่งการจัดกลุ่มผู้เรียนจะใช้วิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบ (Factor Analysis) หลังจากนั้นดาเนินการแบ่งกลุ่ม ผู้เรียนตามปัจจัยที่ได้ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้ 2.1.1 การลงทะเบียน (Register) ผู้เรียนทุกคนต้องทาการลงทะเบียนผ่านระบบการลงทะเบียน โดยบันทึก ข้อมูลพื้นฐานต่างๆ 2.1.2 การทดสอบก่อนเรียน (Pretest) ผู้เรียนทุกคนต้องทาการทดสอบก่อนเรียน เพื่อวัดความรู้พื้นฐานก่อน เรียน 2.1.3 เรียนเนื้อหา (Individual Study) ผู้เรียนทุกคนต้องเรียนรู้เนื้อหาตามหลักสูตร โดยมีรูปแบบ การเรียน การสอน 2 รูปแบบ คือ ในชั้นเรียนปกติกับครูผู้สอน และแบบออนไลน์ด้วยตนเอง 2.1.4 การเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative Learning) หลังจากเรียนเนื้อหาจากครูผู้สอน หรือศึกษาเนื้อหาจาก เว็บไซต์แล้ว ผู้เรียนต้องเข้ากลุ่ม เพื่อทางานกลุ่มตามงานที่ผู้สอนมอบหมายให้เสร็จตามวันเวลาที่กาหนด 2.1.5 ทดสอบย่อย (Quiz) เมื่อผู้เรียนทางานกลุ่มที่ได้รับมอบหมายเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผู้เรียนแต่ละคนจะต้อง ทาการทดสอบย่อยในแต่ละบทเรียน เพื่อประเมินความรู้ความเข้าใจหรือศักยภาพของผู้เรียน
  • 4. 4 2.1.6 การทดสอบหลังเรียน (Posttest) ผู้เรียนต้องทาการทดสอบหลังเรียนเพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนของผู้เรียน 2.2 ส่วนของอาจารย์ผู้สอน (Teacher Module) ทาหน้าที่ในการบันทึกและจัดเก็บข้อมูลต่างๆของผู้สอนลงใน ฐานข้อมูล นอกจากนี้ยังทาหน้าที่คอยเฝ้าสังเกตการณ์การเรียนรู้ ให้รายละเอียดของเนื้อหา ให้คาแนะนาหรือชี้แนะ อีกทั้งยังเป็น ผู้เสริมเนื้อหาให้กับผู้เรียนเพื่อใช้ในการศึกษาเพิ่มเติมด้วย ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้ 2.2.1 จัดการเนื้อหา (Course Material Management) ผู้สอนต้องทาหน้าที่จัดเตรียมเนื้อหา สาหรับ การเรียน การสอนในชั้นเรียนปกติ และสาหรับการเรียนการสอนแบบออนไลน์ 2.2.2 การจัดการงานที่มอบหมาย (Assignment Management) ผู้สอนต้องทาหน้าที่ในการกาหนดงานหรือ ปัญหาให้แก่กลุ่มผู้เรียน เพื่อให้ได้ทางานกลุ่มร่วมกัน และทาหน้าที่ตรวจให้คะแนนเพื่อประเมินผู้เรียน 2.2.3 การจัดแบบทดสอบย่อย (Quiz Management) ผู้สอนต้องทาหน้าที่สร้างแบบทดสอบท้ายบทเรียนแต่ ละบท เพื่อประเมินศักยภาพในการเรียน 2.2.4 การจัดการแบบวัดผลสัมฤทธิ์ (Assessment Management) ผู้สอนต้องทาหน้าที่สร้างแบบทดสอบ เพื่อ ใช้ในการทดสอบและประเมินผู้เรียนก่อนเรียนและหลังเรียน 2.2.5 การจัดการข้อมูลต่างๆ (Information Management) ผู้สอนต้องจัดการข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้อง เช่น การแจ้งข่าว การตอบกระทู้หรือปัญหา เป็นต้น 2.2.6 การจัดการกลุ่มผู้เรียน (Group Management) ผู้สอนต้องจัดการแบ่งกลุ่มผู้เรียน 2.3 ส่วนของเนื้อหา (Content Module) ทาหน้าที่ในการบันทึก และเก็บเนื้อหา เอกสาร สื่อประกอบ การสอน ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้ 2.3.1 เนื้อหาบทเรียน (Content) เป็นส่วนที่ใช้เก็บบทเรียนต่างๆ ที่จะนาเสนอให้แก่ผู้เรียน 2.3.2 งานที่มอบหมาย (Task) เป็นส่วนที่ใช้เก็บงานต่างๆ ที่ผู้สอนกาหนดไว้ให้แก่ผู้เรียน 2.3.3 แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ (Resource) เป็นส่วนที่เก็บแหล่งข้อมูลสาหรับสนับสนุนการเรียนแก่ผู้เรียน 2.4 ส่วนของการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Collaborative Learning Module) เป็นวิธีการจัดการเรียนการสอนรูปแบบหนึ่ง ที่เน้นให้ผู้เรียนลงมือปฏิบัติงานเป็นกลุ่มย่อย โดยมีสมาชิกกลุ่มที่มีความสามารถที่แตกต่างกัน เพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพการ เรียนรู้ของแต่ละคน สนับสนุนให้มีการช่วยเหลือซึ่งกันและกัน จนบรรลุตามเป้ าหมายที่วางไว้นอกจากนี้ ยังเป็นการส่งเสริม การทางานร่วมกันเป็นหมู่คณะ หรือทีมตามระบอบประชาธิปไตย และเป็นการพัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ ทาให้สามารถ ปรับตัวอยู่กับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข การวิจัยครั้งนี้ ได้เลือกวิธีการเรียนรู้แบบแบ่งกลุ่มแข่งขันตามผลสัมฤทธิ์ (Student Team Achievement Division : STAD) โดยมีวิธีการคือ ให้ผู้เรียนร่วมกันเรียน ทากิจกรรมเป็นกลุ่ม แล้วแข่งขันักนทาแบบทดสอบ รายบุคคล และพิจารณาผลการทดสอบเป็นรายกลุ่ม โดยมีขั้นตอน ดังนี้ 2.4.1 จัดกลุ่มผู้เรียนออกเป็นกลุ่ม 2.4.2 ให้แต่ละกลุ่มพบปะสนทนาเกี่ยวกับเนื้อหาที่ผู้สอนกาหนด 2.4.3 ให้แยกกลุ่มทั้งหมด โดยให้ผู้เรียนแต่ละคนทาแบบทดสอบรายบุคคลด้วยตนเอง
  • 5. 5 2.4.4 นาคะแนนของผู้เรียนแต่ละคนมาเปรียบเทียบกับผลการทดสอบครั้งที่ผ่านมา พิจารณาการ เปลี่ยนแปลง 2.4.5 นาคะแนนของผู้เรียนแต่ละกลุ่มไปรวมกัน เพื่อรวมเป็นความสาเร็จของกลุ่ม กลุ่มใดที่ได้คะแนน สูงสุดจะได้รับรางวัล ทุกคนจึงต้องช่วยกันเพื่อให้กลุ่มได้รับความสาเร็จ 2.5 ส่วนของการประเมินผลบทเรียน (Evaluation Module) เป็นส่วนที่ใช้ในการประเมินผลบทเรียนที่พัฒนาขึ้น โดย เลือกใช้วิธีการของ Kirkpatrick Model เพื่อประเมินผลระบบทั้งหมด เพื่อสรุปเป็นคุณภาพของบทเรียนที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วยส่วนต่างๆ ดังนี้ 2.5.1 การประเมินปฏิกิริยาตอบสนอง (Reaction Evaluation) การประเมินผลในขั้นนี้ มีวัตถุประสงค์ให้รู้ว่า ผู้เรียนมีความรู้สึกอย่างไรต่อการเรียนรู้ 2.5.2 การประเมินการเรียนรู้ (Learning Evaluation) การประเมินผลในขั้นนี้ มีวัตถุประสงค์ที่จะทราบว่า ผู้เรียนได้รับความรู้ ความเข้าใจ ทักษะและเจตคติอะไรบ้างที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม 2.5.3 การประเมินพฤติกรรมที่เปลี่ยนไปหลังการเรียนรู้ (Behavior Evaluation) การประเมินผลในขั้นนี้ มี วัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบว่าผู้เรียนได้มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในการทางานไปในทิศทางที่พึง ประสงค์หรือไม่ 2.5.4 การประเมินผลลัพธ์ที่เกิดต่อองค์กร (Result Evaluation) การประเมินผลในขั้นนี้ มีวัตถุประสงค์ที่จะ ให้รู้ว่าการเรียนรู้นี้ได้ก่อให้เกิดผลดีต่อหน่วยงานอย่างไรบ้าง
  • 6. 6 ชื่อเรื่อง การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะวิชาชีพ นักเทคโนโลยีการศึกษา ทางการแพทย์ The development of blended learning management for enhancing the competency of medical educational technologists ระดับ หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชา เทคโนโลยีเทคนิคศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ชื่อผู้วิจัย นางสาวโสภิตา สุวุฒโฑ บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนามาตรฐานอาชีพนักเทคโนโลยีการศึกษาทางการแพทย์ 2) พัฒนากระบวนการ จัดการเรียนรู้แบบผสมผสานเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะวิชาชีพนักเทคโนโลยี การศึกษาทางการแพทย์ 3) ศึกษาผลการจัดการ เรียนรู้แบบผสมผสาน และ 4) ประเมินสมรรถนะวิชาชีพ นักเทคโนโลยีการศึกษาทางการแพทย์การดาเนินการวิจัยมี 4 ระยะ ระยะที่ 1 การพัฒนามาตรฐานอาชีพ ใช้เทคนิคการวิเคราะห์หน้าที่งาน แล้วให้ผู้ทรงคุณวุฒิ 32 ท่านร่วมกันพิจารณาร่างและ รับรอง มาตรฐานอาชีพ ระยะที่2 การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานเป็นการนาแนวคิด ด้านสมรรถนะมา กาหนดกระบวนการจัดการเรียนรู้แล้วให้ผู้เชี่ยวชาญ 6 ท่านประเมินความเหมาะสม ของกระบวนการ ระยะที่3 การศึกษาผลการ จัดการเรียนรู้แบบผสมผสานเป็นการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียนร่วมกับการเรียนผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ให้กับกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่นักศึกษาชั้นปีที่ 3 หลักสูตรเทคโนโลยีบัณฑิต สาขาเทคโนโลยีการศึกษาแพทยศาสตร์คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล จานวน 18 คน ในรายวิชาการออกแบบสิ่งพิมพ์เป็นเวลา 1 ภาคการศึกษา ทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และสอบถามความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน และระยะที่4 การประเมินสมรรถนะ วิชาชีพนักเทคโนโลยีการศึกษาทางการแพทย์ให้ผู้ประเมินจานวน 6 ท่าน พิจารณาร่องรอยหลักฐานที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน ผลจากการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) มาตรฐานอาชีพนักเทคโนโลยีการศึกษาทางการแพทย์ประกอบด้วย 1 ความมุ่งหมายของอาชีพ 5 บทบาทหลัก 7 หน้าที่หลัก 6 หน่วยสมรรถนะ และ 11 สมรรถนะย่อย ของหน้าที่หลักออกแบบสิ่งพิมพ์2) กระบวนการจัดการ เรียนรู้แบบผสมผสานมี 8 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การออกแบบการจัดการเรียนรู้ (2) การพัฒนาโมดูลการเรียนรู้แบบฐานสมรรถนะ (3) การประเมิน สมรรถนะแรกเข้าของผู้เรียน (4) การจัดเตรียมสภาพแวดล้อมและทรัพยากรทางการเรียน (5) การจัดการ เรียนรู้ ในชั้นเรียนร่วมกับการเรียนผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ (6) การทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ข (7) การสอบถามความ คิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้ และ (8) การประเมินสมรรถนะ วิชาชีพ 3) ผู้เรียนทุกคนมีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 และมีความคิดเห็นต่อ กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานอยู่ในระดับดีและ 4) ผู้รับการ ประเมินสมรรถนะทุกคน มีผลการประเมินผ่านทุกหน่วยสมรรถนะ วิธีการดาเนินการวิจัย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะวิชาชีพนักเทคโนโลยี การศึกษาทางการแพทย์ตามแนวทางมาตรฐานอาชีพ ผู้วิจัยได้กาหนด วิธีดาเนินการวิจัยเป็น 4 ระยะดังนี้ 1 การพัฒนามาตรฐานอาชีพนักเทคโนโลยีการศึกษาทางการแพทย์
  • 7. 7 2 การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะวิชาชีพ นักเทคโนโลยีการศึกษาทาง การแพทย์ 3 การศึกษาผลการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน 3.1 การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3.2 การศึกษาความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน 4 การประเมินสมรรถนะวิชาชีพนักเทคโนโลยีการศึกษาทางการแพทย์ ผลจากการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) มาตรฐานอาชีพนักเทคโนโลยีการศึกษาทางการแพทย์ประกอบด้วย 1 ความมุ่งหมายของอาชีพ 5 บทบาทหลัก 7 หน้าที่หลัก 6 หน่วยสมรรถนะ และ 11 สมรรถนะย่อย ของหน้าที่หลักออกแบบสิ่งพิมพ์ 2) กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานมี 8 ขั้นตอน ได้แก่ (1) การออกแบบการจัดการเรียนรู้ (2) การพัฒนาโมดูลการเรียนรู้แบบฐานสมรรถนะ (3) การประเมิน สมรรถนะแรกเข้าของผู้เรียน (4) การจัดเตรียมสภาพแวดล้อมและทรัพยากรทางการเรียน (5) การจัดการ เรียนรู้ในชั้นเรียนร่วมกับการเรียนผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ (6) การทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ข (7) การสอบถามความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้ และ (8) การประเมินสมรรถนะ วิชาชีพ 3) ผู้เรียนทุกคนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 และมีความคิดเห็นต่อ กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ ผสมผสานอยู่ในระดับดีและ 4) ผู้รับการประเมินสมรรถนะทุกคน มีผลการประเมินผ่านทุกหน่วยสมรรถนะ
  • 8. 8