SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  14
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 2
ความตกลงการคาสินคาของอาเซียน
(ASEAN Trade in Goods Agreement: ATIGA)
2.1 ความเปนมา
ความตกลงการคาสินคาของอาเซียน (ASEAN Trade in Goods Agreement)
หรือชื่อยอวา “ATIGA” เปนความตกลงที่เกิดขึ้นภายในแผนประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียน (AEC Blueprint) ที่ตองการใหอาเซียนเปนตลาดเดียวและเปนฐานการ
ผลิตรวมกัน โดยมีการเคลื่อนยายอยางเสรีของสินคา บริการ การลงทุน แรงงานที่มี
ทักษะ และการเคลื่อนยายเงินทุนอยางเสรีมากขึ้น ความตกลง ATIGA เปนความ
ตกลงที่มีเกี่ยวของกับความตกลง สินคาหลายฉบับที่อาเซียนเคยใหสัตยาบันมา
กอนหนานี้ คือ
(1) ความตกลงวาดวยสิทธิพิเศษทางการคาอาเซียน (the Agreement on
ASEAN Preferential Trading Arrangements : ASEAN PTA)ซึ่งเปนการใหสิทธิ
พิเศษโดยสมัครใจ และแลกเปลี่ยนสินคากับสินคา สิทธิพิเศษสวนใหญเปนการลด
ภาษีศุลกากรขาเขา และการผูกพันอัตราอากรขาเขา ณ อัตราที่เรียกเก็บอยู ลง
นามเมื่อป 1977 มีผลบังคับใชเมื่อ 1 มกราคม 1978
(2) การใชความตกลงวาดวยการใชอัตราภาษีพิเศษที่เทากันสําหรับเขต
การคาเสรีอาเซียน ป 1992 (the Agreement on the Common Effective
Preferential Tariff Scheme for the ASEAN Free Trade Area : CEPT) ซึ่งเกิด
จากการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียน (ASEAN Summit) ครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 27-28
AEC Prompt 
14
มกราคม 1992 ณ ประเทศสิงคโปร โดยผูนําอาเซียนตกลงที่จะใหมีการจัดตั้งเขต
การคาเสรี(ASEAN Free Trade Area : AFTA) โดยมีการกําหนดการปรับลดอัตรา
ภาษีระหวางอาเซียนดวยกันคือ อาเซียนเดิม 6 ประเทศ และอาเซียนใหม
4 ประเทศ โดยมีตารางการปรับลดอัตราภาษีดังนี้
ตารางที่ 4 กรอบระยะเวลาการปรับลดอัตราภาษีของอาเซียนเดิม
ป 2000 ป 2001 ป 2002 ป 2003 ป 2010
รอยละ 85 ของ IL
มีอัตราภาษีเหลือ
0-5%
รอยละ 90 ของ IL
มีอัตราภาษีเหลือ
0-5%
ทุกรายการของ IL
มีอัตราภาษีเหลือ
0-5%
ทุกรายการของ IL มี
อัตราภาษีเหลือ 0-5%
และรอยละ 60 ของ IL
มีภาษีรอยละ 0
ทุกรายการของ IL
มีอัตราภาษีเหลือ 0
หมายเหตุ : IL คือ บัญชีภาษีสินคา (Inclusion List)
ที่มา : กรมการคาตางประเทศ กระทรวงพาณิชย
ตารางที่ 5 กรอบระยะเวลาการปรับลดอัตราภาษีของอาเซียนใหม
เวียดนาม ลาวและพมา กัมพูชา
1.ป 2010 รอยละ 80 ของ IL มีอัตรา
ภาษีรอยละ 0
2.ป 2015 รอยละ 100 ของ IL มี
อัตราภาษีรอยละ 0
1.ป 2010 รอยละ 80 ของ IL มีอัตรา
ภาษีรอยละ 0
2.ป 2015 รอยละ 100 ของ IL มี
อัตราภาษีรอยละ 0
1.ป 2010 รอยละ 60 ของ IL มีอัตรา
ภาษีรอยละ 0
2.ป 2015 รอยละ 100 ของ IL มี
อัตราภาษีรอยละ 0
หมายเหตุ : IL คือ บัญชีภาษีสินคา (Inclusion List)
ที่มา : กรมการคาตางประเทศ กระทรวงพาณิชย
(3) ความตกลงดานศุลกากรอาเซียน (ASEAN Agreement on Custom)
ป 1997 เปนผลจากการประชุมอธิบดีกรมศุลกากรอาเซียนเมื่อวันที่ 4-5 กันยายน
1996 ที่ประเทศอินโดนีเซีย โดยขอตกลงดังกลาวมีวัตถุประสงคคือมีการรวมมือ
ดานศุลกากรในอาเซียน เชน Harmonization of Customs Valuation Systems,
Harmonization of Tariff Nomenclature, Common Customs Form และ
Harmonization of Customs Proceduresเปนตน
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 
15
(4) กรอบความตกลงในขอตกลงยอมรับรวมกันของอาเซียน (the ASEAN
Framework Agreement on Mutual Recognition Arrangements : MRAs) ป
1998 อาเซียนไดเรงปรับประสานมาตรฐานสินคาและจัดทําความตกลงการยอมรับ
รวม (Mutual Recognition Arrangements : MRAs) เพื่ออํานวยความสะดวกทาง
การคา ซึ่งเทากับเปนการลดอุปสรรคทางการคาที่มิใชภาษีระหวางกัน โดยไดเริ่ม
ดําเนินการปรับประสานมาตรฐานสินคา 20 กลุม สวนใหญเปนเครื่องใชไฟฟา เชน
เครื่องปรับอากาศ ตูเย็น วิทยุ และโทรทัศน เปนตน ในสวนของการจัดทํา MRAs นั้น
ปจจุบันอาเซียนไดจัดทําความตกลงวาดวยการยอมรับรวมรายสาขา สําหรับอุปกรณ
ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส (Electrical and Electronic Equipment) และความตกลง
วาดวยการยอมรับรวมวาดวยการรับรองการขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑเครื่องสําอาง
(ASEAN MRA on Product Registration Approvals for Cosmetics) และอยู
ระหวางการจัดทํา MRAs สําหรับสินคายา และอาหาร (Prepared Foodstuff)
(5) กรอบความตกลงดานอิเล็กทรอนิกสของอาเซียน (e-ASEAN
Framework Agreement) เปนการลงนามของผูนําของอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ใน
วันที่ 24 พฤศจิกายน 2000 ณ ประเทศสิงคโปร ซึ่งจะกําหนดแนวทางเสริมสราง
ความรวมมือระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนในดานเทคโนโลยีสารสนเทศและ
สื่อสารเพื่อใหภูมิภาคอาเซียนเชื่อมโยงกันดานอิเล็กทรอนิกสอยางสมบูรณแบบ
สาระสําคัญของกรอบความตกลงดานอิเล็กทรอนิกสของอาเซียน ไดแก การ
กําหนดมาตรการที่จะพัฒนาอาเซียนใหเขาสูยุคเทคโนโลยีสารสนเทศอยางแทจริง
ใน 5 ดานหลัก คือ
1) การวางโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศ
2) การสงเสริมและอํานวยความสะดวกในการใชพาณิชยอิเล็กทรอนิกส
AEC Prompt 
16
3) การเปดเสรีดานการคา การบริการและการลงทุนที่เกี่ยวของกับ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
4) การพัฒนาสังคมแหงเทคโนโลยี
5) การนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการบริการของรัฐ
(6) พิธีสารเกี่ยวกับการดําเนินการเกี่ยวกับพิกัดอัตราศุลกากรฮารโมไนซของ
อาเซียน (the Protocol Governing the Implementation of the ASEAN
Harmonized Tariff Nomenclature) ป 2003 และในป 2004 อาเซียนไดเริ่มเปลี่ยน
มาใชระบบพิกัดอัตราศุลกากรฮารโมไนซอาเซียน หรือ AHTN เพื่อใหศุลกากรของทุก
ประเทศสมาชิกใชพิกัดอัตราศุลกากรที่เปนมาตรฐานเดียวกันในระดับตัวเลข 8 หลัก
(7) กรอบความตกลงวาดวยการรวมกลุมสาขาสําคัญของอาเซียน (ASEAN
Framework Agreement for the Integration of Priority Sectors) (2004) ผูนํา
อาเซียนไดลงนามในกรอบความตกลงวาดวยการรวมกลุมสาขาสําคัญ และรัฐมนตรี
เศรษฐกิจอาเซียนลงนามในพิธีสารรายสาขา (ASEAN Sectoral Integration
Protocol) ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 10 เมื่อเดือน พฤศจิกายน 2004 ณ
กรุง เวียงจันทร สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
(8) ความตกลงวาดวยการอํานวยความสะดวกดานศุลกากรดวยระบบ
อิเล็กทรอนิกส ณ จุดเดียวของอาเซียน (ASEAN Agreement to Establish and
Implement the ASEAN Single Window) ป 2005 โดยกําหนดใหประเทศสมาชิก
อาเซียนเดิม 6 ประเทศ จัดตั้ง National Single Window ใหแลวเสร็จ ภายในป
2008 และประเทศ CLMV ใหดําเนินการใหแลวเสร็จ ภายในป 2012 เพื่อเชื่อมตอ
เปน ASEAN Single Window ตอไป
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 
17
2.2 สาระสําคัญของความตกลงการคาสินคาของอาเซียน (ATIGA)
ความตกลงการคาสินคาของอาเซียน (ASEAN Trade in Goods Agreement)
หรือ ATIGA ปรับปรุงจากความตกลงฉบับเดิม ที่เรียกวา ความตกลงวาดวยการใช
อัตราภาษีพิเศษที่เทากันสําหรับเขตการคาเสรีอาเซียน หรือ “the Agreement on
the Common Effective Preferential Tariff Scheme for the ASEAN Free Trade
Area : CEPT” มีวัตถุประสงคสําคัญเพื่อสรางกฎเกณฑทางการคาระหวางอาเซียน
ใหมีความชัดเจน โปรงใสมากขึ้น และครอบคลุมเรื่องมาตรการทางภาษี และมิใช
ภาษี ซึ่งจะทําใหการคาสินคาระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนมีอุปสรรคทางการคา
ระหวางกันนอยที่สุดนําไปสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN
Economic Community : AEC) ในป 2015 โดยเปนไปในทํานองเดียวกับประชาคม
เศรษฐกิจยุโรปในระยะเริ่มแรกที่มีตลาดและฐานการผลิตรวมกัน และจะมีการ
เคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานฝมือโดยปราศจาก
อุปสรรคใดๆ ซึ่งเนื้อหาของความตกลง ATIGA ประกอบดวย เนื้อหา 11 บท มี 98
ขอ สามารถสรุปไดดังนี้
เมื่อพิจารณาในบทแรก จะเปนรายละเอียดของบทบัญญัติทั่วไปในการ
จัดทําความตกลงการคาสินคาของอาเซียน (ATIGA) สาระสําคัญจะกลาวถึง
วัตถุประสงค คํานิยามตางๆ เชน อากรศุลกากร ขอจํากัดการปริวรรตเงินตรา
ตางประเทศ สินคาที่ไดถิ่นกําเนิด เปนตน เพื่อความเขาใจที่ตรงกันของประเทศ
สมาชิก และการทําความเขาใจในขอบเขตการจําแนกพิกัดของสินคา การประติบัติ
เยี่ยงชาติที่ไดรับความอนุเคราะหยิ่ง คาธรรมเนียมและคาภาระเกี่ยวกับการนําเขา
สงออก มาตรการปกปองเพื่อรักษาดุลการชําระเงิน การเก็บรักษาขอมูลการคา
อาเซียน การสงเสริมการมีสวนรวมของกลุมประเทศสมาชิก ขอยกเวนทั่วไป
AEC Prompt 
18
โดยขอยกเวนทั่วไปนี้ ไดระบุชัดเจนวาประเทศสมาชิกจะตองไมเลือกปฏิบัติตาม
อําเภอใจหรือไมมีเหตุผลระหวางประเทศสมาชิกดวยกัน สวนขอยกเวนดานความ
มั่นคงนั้น ไดทําความเขาใจวาในขอตกลงฉบับนี้ไมมีขอความใดๆ ที่ตีความไป
ในทางกีดกันหรือหามไมใหประเทศสมาชิกดําเนินตามกรอบพันธกรณีภายใตกฎ
บัตรสหประชาชาติเพื่อการรักษาสันติภาพและความมั่นคงระหวางประเทศ เปนตน
ในบทตอมาจะวาดวยเรื่องการเปดเสรีอัตราภาษี มีเนื้อหาครอบคลุมในเรื่อง
การลดหรือยกเลิกอากรขาเขาของประเทศในกลุมสมาชิก ซึ่งในความตกลง
ประเทศสมาชิกจะตองยกเลิกอากรขาเขาของสินคาทุกรายการที่มีการคาระหวาง
ประเทศสมาชิกภายในป 2010 สําหรับประเทศสมาชิกอาเซียน 6 ประเทศ5
และ
สําหรับประเทศ CLMV6
ภายในป 2015 โดยมีความยืดหยุนใหถึงป 2018 สวนการ
ยกเลิกโควตาอัตราภาษี (Tariff Rate Quotas : TRQs) ที่ประเทศสมาชิกแตละ
ประเทศจะตองไมนําโควตาอัตราภาษีมาใชกับการนําเขาสินคาใดที่มีถิ่นกําเนิด
จากประเทศสมาชิก หรือการสงออกสินคาใดๆ ไปยังอาณาเขตของประเทศสมาชิก
และในความตกลงนี้ประเทศที่ระบุวาจะตองยกเลิกโควตาอัตราภาษี (TRQs) มี 2
ประเทศดวยกัน คือ ไทยและเวียดนาม โดยไทยจะตองยกเลิกตั้งแต 1 มกราคม
2008 , 2009 และสิ้นสุดที่ป 2010 สวนเวียดนามจะตองยกเลิกตั้งแต 1 มกราคม
2013, 2014, 2015 และยืดหยุนไดถึงป 2018 สวนอีกประเด็นในบทนี้ที่มี
ความสําคัญก็คือ วิธีการและขั้นตอนในการแกไขหรือการระงับการใหขอลดหยอน
ชั่วคราว ในกรณีที่ประเทศสมาชิกประสบกับความยากลําบากในสถานการณ
5
ประเทศสมาชิกอาเซียน 6 ประเทศ ประกอบดวย บรูไน ดารุสซาลาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปรและ ไทย
6
ประเทศ CLMV ประกอบดวย กัมพูชา ลาว พมา และเวียดนาม
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 
19
ที่ไมอาจคาดการณได ซึ่งประเทศสมาชิกสามารถแกไขหรือระงับการการลดหรือ
ยกเลิกอากรขาเขาได ในกรณีตัวอยางที่ยกมาในความตกนี้ คือ ขาว และน้ําตาล
สําหรับกฎวาดวยถิ่นกําเนิดสินคา จะอยูในบทที่ 3 สาระสําคัญจะกลาวถึง
หลักเกณฑการไดถิ่นกําเนิดของสินคา โดยแยกเปนสินคาที่ไดมาหรือมีการผลิต
ทั้งหมดในประเทศสมาชิกผูสงออก และสินคาที่ไมไดมาหรือไมมีการผลิตทั้งหมด
ทั้งนี้สัดสวนมูลคาการผลิตของอาเซียน หรือ สัดสวนมูลคาการผลิตในภูมิภาค
(Regional Value Content : RVC) ตองไมนอยกวารอยละ 40 จึงจะมีสิทธิไดรับ
การปฏิบัติที่เปนพิเศษทางภาษีศุลกากร ซึ่งสูตรในการคํานวณสัดสวนมูลคาการ
ผลิตของอาเซียน มีใหเลือกใช 2 วิธีดังตอไปนี้
1) วิธีทางตรง
RVC = ตนทุนวัสดุในอาเซียน+คาแรงทางตรง+ตนทุนคาดําเนินการทางตรง+ตนทุนอื่นๆ+กําไร X100
ราคา FOB
2) วิธีทางออม
RVC = ราคา FOB – มูลคาวัสดุหรือ ชิ้นสวนสินคาที่ไมไดถิ่นกําเนิด X 100
ราคา FOB
AEC Prompt 
20
โดย
ตนทุนวัสดุในอาเซียน คือ มูลคา CIF ของวัสดุ ชิ้นสวน หรือสินคาที่ไดถิ่น
กําเนิด ซึ่งไดรับมาหรือผลิตไดเองโดยผูผลิตในการผลิตสินคานั้น
มูลคาของวัสดุ ชิ้นสวน หรือสินคาที่ไมไดถิ่นกําเนิด คือ มูลคา CIF ณ ขณะที่
นําเขาสินคา หรือสามารถพิสูจนการนําเขาได หรือราคาที่ไดรับการยืนยันครั้งแรก
ที่ชําระสําหรับสินคาที่ไมทราบถิ่นกําเนิดภายในอาณาเขตของประเทศสมาชิกที่ซึ่ง
การผลิตหรือการแปรสภาพไดกระทําขึ้น
ตนทุนคาแรงทางตรง จะรวมไปถึง คาจางแรงงาน คาตอบแทน และ
สวัสดิการแรงงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับกระบวนการผลิต
ราคาFOBหมายถึง มูลคาของสินคา ณ ทาเรือตนทาง ซึ่งรวมคาขนสงจนถึง
ทาเรือหรือสถานที่สุดทายสําหรับขนสงสินคาไปตางประเทศ ราคา FOB จะตอง
คํานวณโดยการบวกรวมมูลคาของวัสดุ ตนทุนการผลิต กําไร และตนทุนอื่นๆ
นอกจากนั้นการสะสมสินคาที่ไดถิ่นกําเนิดในประเทศสมาชิก เมื่อสินคานั้น
ถูกนําไปใชในอีกประเทศสมาชิกหนึ่งเพื่อเปนวัสดุสําหรับการผลิตสินคาสําเร็จรูปที่
มีสิทธิที่จะไดรับการปฏิบัติที่เปนพิเศษทางภาษีศุลกากรนั้น ใหถือวาไดถิ่นกําเนิด
ในประเทศสมาชิกประเทศหลังซึ่งการผลิตหรือการแปรรูปของสินคาขั้นสุดทายได
เกิดขึ้น ถา RVC ของวัสดุ นอยกวารอยละ 40 สัดสวนมูลคาการผลิตของอาเซียนที่
ใชสะสมไดตามหลักเกณฑ RVC จะถือสัดสวนโดยตรงตามมูลคาที่เกิดขึ้นจริง
ภายในประเทศ โดยมีเงื่อนไขวา สัดสวนนั้นเทากับหรือมากกวารอยละ 20 สินคาที่
ไดถิ่นกําเนิดในอาณาเขตของประเทศสมาชิกจะยังคงรักษาไวซึ่งสถานะของ
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 
21
ถิ่นกําเนิดแรก หากถูกสงออกจากอีกประเทศสมาชิกหนึ่งซึ่งยังไมมีการดําเนินการ
ที่เกินไปจากรายการที่ระบุไว
โดยหลักเกณฑขั้นต่ําในการผอนปรน คือ สินคาที่ไมผานการเปลี่ยนพิกัด
อัตราศุลกากร จะถือวาไดถิ่นกําเนิด ถามูลคาของวัสดุที่ไมไดถิ่นกําเนิดที่ใชในการ
ผลิตสินคาซึ่งไมผานการเปลี่ยนพิกัดอัตราศุลกากรที่กําหนด คิดแลวไมเกินรอยละ
10 ของมูลคาFOBของสินคา และสินคานั้นเปนไปตามหลักเกณฑการไดถิ่นกําเนิด
อื่นๆ ที่กําหนดไวในความตกลง สําหรับการมีคุณสมบัติของการเปนสินคาที่ไดถิ่น
กําเนิด และมูลคาของวัสดุที่ไมไดถิ่นกําเนิดตามที่ระบุในขางตน จะตองรวมอยูใน
มูลคาของวัสดุที่ไมไดถิ่นกําเนิดสําหรับกฎวาดวยถิ่นกําเนิดสินคา RVC ที่ใชบังคับ
สําหรับสินคานั้น รวมไปถึงหลักเกณฑในการพิจารณาวาสินคานั้นไดถิ่นกําเนิด
หรือไม ของวัสดุที่ใชเปนบรรจุภัณฑและใชในการบรรจุหีบหอ อุปกรณประกอบ
อะไหล เครื่องมือ วัสดุที่เหมือนกันและใชแทนกันไดและองคประกอบใดที่ไมมีผล
ตอถิ่นกําเนิดสินคา ซึ่งการอางสิทธิวาสินคามีคุณสมบัติที่จะไดรับการปฏิบัติที่เปน
พิเศษทางภาษีศุลกากรนั้น ตองไดรับการรับรองโดยหนังสือรับรองถิ่นกําเนิดสินคา
(From D) ซึ่งออกโดยหนวยงานราชการที่ไดรับมอบหมายโดยประเทศสมาชิกผู
สงออกและไดแจงใหประเทศสมาชิกอื่นทราบแลวตามระเบียบปฏิบัติในการออก
หนังสือรับรองถิ่นกําเนิดสินคาที่ไดระบุไวในความตกลง
ในดานมาตรการที่มิใชภาษีศุลกากร ในบทที่ 4 ในความตกลงไดระบุไววา
ประเทศสมาชิกจะตองไมนํามาตรการที่มิใชภาษีศุลกากรใดๆ มาใช ในการนําเขา
สินคาของประเทศสมาชิก หรือการสงออกสินคา ไปยังประเทศสมาชิกอื่น เวนแต
จะเปนไปตามสิทธิและพันธกรณีของตนภายใต WTO หรือเปนไปตามความตกลง
ATIGA ซึ่งครอบคลุมการยกเลิกขอจํากัดดานปริมาณโดยทั่วไป การยกเลิก
AEC Prompt 
22
อุปสรรคที่มิใชภาษีศุลกากรอื่นๆ ขอจํากัดการปริวรรตเงินตราตางประเทศและ
วิธีดําเนินการออกใบอนุญาตนําเขาดวย โดยเนนใหประเทศสมาชิกแตละประเทศ
จะตองทําใหมั่นใจในความโปรงใสของมาตรการที่ไมใชภาษีศุลกากรของตน
ดานการอํานวยความสะดวกทางการคา บทที่ 5 เนื้อหาจะเปนการกําหนด
วัตถุประสงค ขอบเขต และหลักการของแผนการทํางานเกี่ยวกับการอํานวยความ
สะดวกทางการคารวมกันของประเทศสมาชิก ซึ่งจะครอบคลุมทั้งเรื่องพิธีการ
ศุลกากร กฎระเบียบและขั้นตอนทางการคา มาตรฐานและการปฏิบัติตาม
มาตรฐาน มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช ความตกลงวาดวยการอํานวย
ความสะดวกดานศุลกากรดวยระบบอิเล็กทรอนิกส ณ จุดเดียว และเรื่องอื่นๆ ที่
ระบุโดยคณะมนตรีเขตการคาเสรีอาเซียน โดยจะตองมีการติดตามความคืบหนา
ของแผนการดําเนินการทุกๆ 2 ป เพื่อทําใหมั่นใจวา การดําเนินการของการอํานวย
ความสะดวกทางการคาเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
สวนเรื่องขอบเขตของพิธีการศุลกากรตางๆ ที่เกี่ยวของกับสินคาที่มีการ
คาขายกันระหวางกลุมประเทศสมาชิก ในความตกลงนี้ระบุไวในบทที่ 6 โดยตาม
กฎหมาย ระเบียบขอบังคับและนโยบายของประเทศสมาชิก เนื้อหาไดระบุ
รายละเอียดของขอบเขตและแนวทางที่ประเทศสมาชิกที่จะตองทําใหมั่นใจวา พิธี
การศุลกากร และแนวปฏิบัติตางๆ ของประเทศตนสามารถคาดการณได มีความ
ตอเนื่อง โปรงใส และอํานวยความสะดวกทางการคา โดยในที่นี้รวมถึงการตรวจ
ผานสินคาที่รวดเร็วดวย
สําหรับมาตรฐาน กฎระเบียบทางเทคนิค และกระบวนการตรวจสอบและ
รับรองในบทที่ 7 เปนขอตกลงที่เกี่ยวกับการกําหนดขอบเขตดานมาตรฐาน
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 
23
กฎระเบียบทางเทคนิค และกระบวนการตรวจสอบและรับรอง ของประเทศสมาชิก
เพื่อปรับมาตรฐานแหงชาติของแตละประเทศใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อให
มั่นใจวาจะไมสรางอุปสรรคที่ไมจําเปนตอการคา ในการจัดตั้งเปนตลาดและฐาน
การผลิตเดียวกันของอาเซียน และในเวลาเดียวกันเพื่อใหมั่นใจวาสามารถบรรลุ
วัตถุประสงคอันชอบธรรมของกลุมประเทศสมาชิก ประเทศสมาชิกแตละประเทศ
จะตองรับรองวาสถาบันมาตรฐานแหงชาติของตนยอมรับ ในการปรับประสาน
มาตรฐานแหงชาติเขาหากัน โดยกลุมประเทศสมาชิกตองนํามาตรฐานระหวาง
ประเทศที่เกี่ยวของมาใชเปนทางเลือกแรก ซึ่งเมื่อจัดทํามาตรฐานแหงชาติฉบับ
ใหม หรือเมื่อทบทวนมาตรฐานที่มีอยู ในกรณีที่ไมมีมาตรฐานระหวางประเทศ
มาตรฐานแหงชาติของแตละประเทศตองถูกปรับใหไปในแนวทางเดียวกัน โดยใน
ที่นี้กลุมประเทศสมาชิกจะตองทําใหมั่นใจวากระบวนการตรวจสอบและรับรองไม
ถูกจัดทํา นํามาใช หรือใชเพื่อหรือใชโดยมีผลตอการสรางอุปสรรคทางเทคนิคที่ไม
จําเปนตอการคา และกระบวนการตรวจสอบและรับรองที่ผูจัดหาผลิตภัณฑที่มีถิ่น
กําเนิดในเขตแดนของประเทศสมาชิกอื่นจะตองปฏิบัติใหสอดคลองและจะตองไม
เขมงวดกวากระบวนการตรวจสอบและรับรองสําหรับผูจัดหาผลิตภัณฑอยาง
เดียวกันที่มีถิ่นกําเนิดภายในประเทศ ในดานของมาตรการสุขอนามัยและ
สุขอนามัยพืช ที่ประเทศสมาชิกทุกประเทศตองใชมาตรฐานเดียวกันนั้น ในบทที่ 8
จะระบุบทบัญญัติและพันธกรณีที่ประเทศสมาชิกจะนํามาตรการสุขอนามัยและ
สุขอนามัยพืช (Sanitary and Phytosanitary Measures : SPS) ไปใชในประเทศ
ของตน ซึ่งในบทนี้จะรวมไปถึงการแลกเปลี่ยนขอมูลทางดานสุขอนามัย
โดยเฉพาะกรณีในสถานการณฉุกเฉินที่เกี่ยวกับวิกฤตความปลอดภัยของอาหาร
เชนการควบคุมแมลงศัตรูพืช และการระบาดของโรค เปนตน เพื่อปกปองชีวิต
AEC Prompt 
24
และสุขภาพของของมนุษย สัตว พืช ของประเทศสมาชิกผูนําเขา โดยประเทศ
สมาชิกแตละประเทศจะตองแสวงหาโอกาสที่จะขยายความรวมมือระหวางกันให
มากขึ้น ในดานการใหความชวยเหลือทางวิชาการ ดานความรวมมือและการ
แลกเปลี่ยนขอมูลระหวางประเทศสมาชิกอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับมาตรการสุขอนามัย
และสุขอนามัยพืชที่เปนประโยชนรวมกัน ซึ่งตองสอดคลองกับวัตถุประสงคและขอ
ผูกพันที่กําหนดในแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
สวนมาตรการเยียวยาทางการคา ไดระบุไวในบทที่ 9 โดยในความตกลงฉบับ
นี้มีเพียง 2 มาตรการเทานั้น คือ
1) มาตรการปกปอง ซึ่งเปนการคงไวของสิทธิและพันธกรณีภายใต ขอ 19
ของ GATT 1994 และ WTO วาดวยมาตรการปกปอง หรือ ขอ 5 ของ
ความตกลงวาดวยการเกษตร
2) อากรตอบโตการทุมตลาดและการอุดหนุน โดยประเทศสมาชิกยืนยัน ที่
จะใชสิทธิและพันธกรณีตอกันในกรณีที่เกี่ยวกับการใชมาตรการตอบโต
การทุมตลาดและภายใต ขอ 6 ของ GATT 1994 สวนในกรณีที่เกี่ยวของ
กับการอุดหนุนและมาตรการตอบโตการอุดหนุนประเทศสมาชิกยืนยันที่
จะยังใชสิทธิและพันธกรณีภายใต ขอ 16 ของ GATT 1994 ที่ระบุไวใน
ภาคผนวก 1A ของความตกลง WTO เชนกัน
สําหรับในบทที่ 10 และ 11 จะกลาวถึงหนวยงานและบทบาทของหนวยงาน
ที่เกี่ยวของกับความตกลงฉบับนี้ โดยจะเปนหนวยงานที่ดูแลดานกลไกในการหารือ
และการใหคําปรึกษาในขอตกลงตางๆ ระหวางประเทศสมาชิก รวมถึงการทบทวน
และแกไขบทบัญญัติ โดยในขอตกลงไดกําหนดใหรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน
ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 
25
(AEM)7
จะตองจัดตั้งคณะมนตรีเขตการคาเสรีอาเซียน ประกอบดวยผูแทนใน
ระดับรัฐมนตรี 1 คนจากประเทศสมาชิกแตละประเทศและเลขาธิการอาเซียน ใน
การทําหนาที่ของคณะมนตรีเขตการคาเสรีอาเซียนซึ่งจะตองไดรับการสนับสนุน
จากการประชุมเจาหนาที่อาวุโสดานเศรษฐกิจของอาเซียน (SEOM)8
และเพื่อให
บรรลุผลตามหนาที่ SEOM สามารถจัดตั้งคณะทํางานตามความเหมาะสม เชน
คณะกรรมการประสานงานการดําเนินการภายใตความตกลง ATIGA (CCA)9
เพื่อใหความชวยเหลือในการทํางานของ SEOM โดยในการทํางานของ SEOM
จะตองทําใหมั่นใจในเรื่องการปฏิบัติตามความตกลงฉบับนี้ ซึ่งจะตองประสานและ
ไดรับการสนับสนุนจากคณะทํางานดานเทคนิคและคณะกรรมการตางๆ ภายใต
ความตกลง โดยประเทศสมาชิกทุกประเทศจะตองจัดตั้งหนวยงาน AFTA เพื่อทํา
หนาที่เปนศูนยกลางในการประสานงานของประเทศใหดําเนินการตามความตกลง
ATIGA สวนความสัมพันธกับความตกลงฉบับอื่นๆ ที่เปนความตกลงดาน
เศรษฐกิจทุกฉบับของอาเซียนที่มีอยูกอนการมีผลบังคับใช ATIGA ใหมีผลบังคับ
ใชตอไป
7
The ASEAN Economic Ministers : AEM
8
The Senior Economic Officials Meeting : SEOM
9
The Coordinating Committee on the implementation of ATIGA : CCA
AEC Prompt 
26

Contenu connexe

Similaire à ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdfประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdfPawachMetharattanara
 
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี่ยน บรรยาย
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี่ยน บรรยายประชาคมเศรษฐกิจอาเซี่ยน บรรยาย
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี่ยน บรรยายMay Reborn
 
ถามตอบรอบรู้เออีซี360องศา
ถามตอบรอบรู้เออีซี360องศาถามตอบรอบรู้เออีซี360องศา
ถามตอบรอบรู้เออีซี360องศาPrachoom Rangkasikorn
 
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554TISA
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนPyns Fnm
 

Similaire à ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2 (7)

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdfประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน.pdf
 
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี่ยน บรรยาย
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี่ยน บรรยายประชาคมเศรษฐกิจอาเซี่ยน บรรยาย
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซี่ยน บรรยาย
 
ถามตอบรอบรู้ Aec 360 องศา cd
ถามตอบรอบรู้ Aec 360 องศา cdถามตอบรอบรู้ Aec 360 องศา cd
ถามตอบรอบรู้ Aec 360 องศา cd
 
ถามตอบรอบรู้เออีซี360องศา
ถามตอบรอบรู้เออีซี360องศาถามตอบรอบรู้เออีซี360องศา
ถามตอบรอบรู้เออีซี360องศา
 
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
 
AEC_360.pdf
AEC_360.pdfAEC_360.pdf
AEC_360.pdf
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 

Plus de วิระศักดิ์ บัวคำ

1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่
1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่
1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่วิระศักดิ์ บัวคำ
 
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3วิระศักดิ์ บัวคำ
 
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)วิระศักดิ์ บัวคำ
 
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1วิระศักดิ์ บัวคำ
 
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3วิระศักดิ์ บัวคำ
 
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2วิระศักดิ์ บัวคำ
 
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...วิระศักดิ์ บัวคำ
 
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laosคู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laosวิระศักดิ์ บัวคำ
 
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmarคู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmarวิระศักดิ์ บัวคำ
 
คู่มือการค้าและการลงทุนกัมพูชา Trade and investment_guide_cambodia
คู่มือการค้าและการลงทุนกัมพูชา Trade and investment_guide_cambodiaคู่มือการค้าและการลงทุนกัมพูชา Trade and investment_guide_cambodia
คู่มือการค้าและการลงทุนกัมพูชา Trade and investment_guide_cambodiaวิระศักดิ์ บัวคำ
 
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnamคู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnamวิระศักดิ์ บัวคำ
 

Plus de วิระศักดิ์ บัวคำ (20)

1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่
1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่
1 ใบสมัครเป็นสมาชิกหอการค้า จังหวัดกระบี่
 
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
รหัสประจำจังหวัด อ้างอิงกระทรวงมหาดไทยForm mr3
 
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
แบบฟอร์มการสั่งพิมพ์บัตรสมาชิก Form mr2(1)
 
Form mr
Form mrForm mr
Form mr
 
Form mr
Form mrForm mr
Form mr
 
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
องค์ประกอบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน Aec prompt 1_บทที่1
 
สถิติการค้า ไทย อาเซียน Total feb 56
สถิติการค้า ไทย อาเซียน Total feb 56สถิติการค้า ไทย อาเซียน Total feb 56
สถิติการค้า ไทย อาเซียน Total feb 56
 
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
สถานะสินค้าอุตสาหกรรมไทยที่ส่งออกไปในตลาดอาเซียน Aec prompt2 บทที่3
 
บรรณานุกรมAec prompt 1_บรรณานุกรม
บรรณานุกรมAec prompt 1_บรรณานุกรมบรรณานุกรมAec prompt 1_บรรณานุกรม
บรรณานุกรมAec prompt 1_บรรณานุกรม
 
บรรณานุกรมAec prompt2 บรรณานุกรม
บรรณานุกรมAec prompt2 บรรณานุกรมบรรณานุกรมAec prompt2 บรรณานุกรม
บรรณานุกรมAec prompt2 บรรณานุกรม
 
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
นโยบายสินค้าเกษตรไทยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านและทางรอด Aec prompt 1_บทที่4
 
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
ธุรกิจโลจิสติกส์และขนส่งสินค้าทางบกของไทยและประเทศในอาเซียน Aec prompt3
 
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
ทิศทางกระบี่หลังเปิดAec คุณอิสระ ว่องกุศลกิจ ประะานหอไทย 22 เมย 56
 
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
ตำแหน่งสินค้าเกษตรที่สำคัญของไทยในอาเซียน Aec prompt 1_บทที่3
 
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
ตำแหน่งตลาดสินค้าอุตสาหกรรมไทยในตลาดอาเซียน Ace prompt2 บทที่2
 
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
ตำแหน่งการตลาดและศักยภาพการแข่งขันของสินค้าอุตสาหกรรมไทยในอาเซียน Aec prompt2...
 
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laosคู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
คู่มือการค้าและการลงทุนลาว Trade and investment_guide_laos
 
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmarคู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
คู่มือการค้าและการลงทุนพม่า Trade and investment_guide_myanmar
 
คู่มือการค้าและการลงทุนกัมพูชา Trade and investment_guide_cambodia
คู่มือการค้าและการลงทุนกัมพูชา Trade and investment_guide_cambodiaคู่มือการค้าและการลงทุนกัมพูชา Trade and investment_guide_cambodia
คู่มือการค้าและการลงทุนกัมพูชา Trade and investment_guide_cambodia
 
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnamคู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
คู่มือการค้าและการลงทุนเวียดนาม Trade and investment_guide_vietnam
 

ความตกลงการค้าสินค้าของอาเซียน Aec prompt 1_บทที่2

  • 1. บทที่ 2 ความตกลงการคาสินคาของอาเซียน (ASEAN Trade in Goods Agreement: ATIGA) 2.1 ความเปนมา ความตกลงการคาสินคาของอาเซียน (ASEAN Trade in Goods Agreement) หรือชื่อยอวา “ATIGA” เปนความตกลงที่เกิดขึ้นภายในแผนประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน (AEC Blueprint) ที่ตองการใหอาเซียนเปนตลาดเดียวและเปนฐานการ ผลิตรวมกัน โดยมีการเคลื่อนยายอยางเสรีของสินคา บริการ การลงทุน แรงงานที่มี ทักษะ และการเคลื่อนยายเงินทุนอยางเสรีมากขึ้น ความตกลง ATIGA เปนความ ตกลงที่มีเกี่ยวของกับความตกลง สินคาหลายฉบับที่อาเซียนเคยใหสัตยาบันมา กอนหนานี้ คือ (1) ความตกลงวาดวยสิทธิพิเศษทางการคาอาเซียน (the Agreement on ASEAN Preferential Trading Arrangements : ASEAN PTA)ซึ่งเปนการใหสิทธิ พิเศษโดยสมัครใจ และแลกเปลี่ยนสินคากับสินคา สิทธิพิเศษสวนใหญเปนการลด ภาษีศุลกากรขาเขา และการผูกพันอัตราอากรขาเขา ณ อัตราที่เรียกเก็บอยู ลง นามเมื่อป 1977 มีผลบังคับใชเมื่อ 1 มกราคม 1978 (2) การใชความตกลงวาดวยการใชอัตราภาษีพิเศษที่เทากันสําหรับเขต การคาเสรีอาเซียน ป 1992 (the Agreement on the Common Effective Preferential Tariff Scheme for the ASEAN Free Trade Area : CEPT) ซึ่งเกิด จากการประชุมสุดยอดผูนําอาเซียน (ASEAN Summit) ครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 27-28
  • 2. AEC Prompt  14 มกราคม 1992 ณ ประเทศสิงคโปร โดยผูนําอาเซียนตกลงที่จะใหมีการจัดตั้งเขต การคาเสรี(ASEAN Free Trade Area : AFTA) โดยมีการกําหนดการปรับลดอัตรา ภาษีระหวางอาเซียนดวยกันคือ อาเซียนเดิม 6 ประเทศ และอาเซียนใหม 4 ประเทศ โดยมีตารางการปรับลดอัตราภาษีดังนี้ ตารางที่ 4 กรอบระยะเวลาการปรับลดอัตราภาษีของอาเซียนเดิม ป 2000 ป 2001 ป 2002 ป 2003 ป 2010 รอยละ 85 ของ IL มีอัตราภาษีเหลือ 0-5% รอยละ 90 ของ IL มีอัตราภาษีเหลือ 0-5% ทุกรายการของ IL มีอัตราภาษีเหลือ 0-5% ทุกรายการของ IL มี อัตราภาษีเหลือ 0-5% และรอยละ 60 ของ IL มีภาษีรอยละ 0 ทุกรายการของ IL มีอัตราภาษีเหลือ 0 หมายเหตุ : IL คือ บัญชีภาษีสินคา (Inclusion List) ที่มา : กรมการคาตางประเทศ กระทรวงพาณิชย ตารางที่ 5 กรอบระยะเวลาการปรับลดอัตราภาษีของอาเซียนใหม เวียดนาม ลาวและพมา กัมพูชา 1.ป 2010 รอยละ 80 ของ IL มีอัตรา ภาษีรอยละ 0 2.ป 2015 รอยละ 100 ของ IL มี อัตราภาษีรอยละ 0 1.ป 2010 รอยละ 80 ของ IL มีอัตรา ภาษีรอยละ 0 2.ป 2015 รอยละ 100 ของ IL มี อัตราภาษีรอยละ 0 1.ป 2010 รอยละ 60 ของ IL มีอัตรา ภาษีรอยละ 0 2.ป 2015 รอยละ 100 ของ IL มี อัตราภาษีรอยละ 0 หมายเหตุ : IL คือ บัญชีภาษีสินคา (Inclusion List) ที่มา : กรมการคาตางประเทศ กระทรวงพาณิชย (3) ความตกลงดานศุลกากรอาเซียน (ASEAN Agreement on Custom) ป 1997 เปนผลจากการประชุมอธิบดีกรมศุลกากรอาเซียนเมื่อวันที่ 4-5 กันยายน 1996 ที่ประเทศอินโดนีเซีย โดยขอตกลงดังกลาวมีวัตถุประสงคคือมีการรวมมือ ดานศุลกากรในอาเซียน เชน Harmonization of Customs Valuation Systems, Harmonization of Tariff Nomenclature, Common Customs Form และ Harmonization of Customs Proceduresเปนตน
  • 3. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน  15 (4) กรอบความตกลงในขอตกลงยอมรับรวมกันของอาเซียน (the ASEAN Framework Agreement on Mutual Recognition Arrangements : MRAs) ป 1998 อาเซียนไดเรงปรับประสานมาตรฐานสินคาและจัดทําความตกลงการยอมรับ รวม (Mutual Recognition Arrangements : MRAs) เพื่ออํานวยความสะดวกทาง การคา ซึ่งเทากับเปนการลดอุปสรรคทางการคาที่มิใชภาษีระหวางกัน โดยไดเริ่ม ดําเนินการปรับประสานมาตรฐานสินคา 20 กลุม สวนใหญเปนเครื่องใชไฟฟา เชน เครื่องปรับอากาศ ตูเย็น วิทยุ และโทรทัศน เปนตน ในสวนของการจัดทํา MRAs นั้น ปจจุบันอาเซียนไดจัดทําความตกลงวาดวยการยอมรับรวมรายสาขา สําหรับอุปกรณ ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส (Electrical and Electronic Equipment) และความตกลง วาดวยการยอมรับรวมวาดวยการรับรองการขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑเครื่องสําอาง (ASEAN MRA on Product Registration Approvals for Cosmetics) และอยู ระหวางการจัดทํา MRAs สําหรับสินคายา และอาหาร (Prepared Foodstuff) (5) กรอบความตกลงดานอิเล็กทรอนิกสของอาเซียน (e-ASEAN Framework Agreement) เปนการลงนามของผูนําของอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ ใน วันที่ 24 พฤศจิกายน 2000 ณ ประเทศสิงคโปร ซึ่งจะกําหนดแนวทางเสริมสราง ความรวมมือระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนในดานเทคโนโลยีสารสนเทศและ สื่อสารเพื่อใหภูมิภาคอาเซียนเชื่อมโยงกันดานอิเล็กทรอนิกสอยางสมบูรณแบบ สาระสําคัญของกรอบความตกลงดานอิเล็กทรอนิกสของอาเซียน ไดแก การ กําหนดมาตรการที่จะพัฒนาอาเซียนใหเขาสูยุคเทคโนโลยีสารสนเทศอยางแทจริง ใน 5 ดานหลัก คือ 1) การวางโครงสรางพื้นฐานดานเทคโนโลยีสารสนเทศ 2) การสงเสริมและอํานวยความสะดวกในการใชพาณิชยอิเล็กทรอนิกส
  • 4. AEC Prompt  16 3) การเปดเสรีดานการคา การบริการและการลงทุนที่เกี่ยวของกับ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 4) การพัฒนาสังคมแหงเทคโนโลยี 5) การนําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชในการบริการของรัฐ (6) พิธีสารเกี่ยวกับการดําเนินการเกี่ยวกับพิกัดอัตราศุลกากรฮารโมไนซของ อาเซียน (the Protocol Governing the Implementation of the ASEAN Harmonized Tariff Nomenclature) ป 2003 และในป 2004 อาเซียนไดเริ่มเปลี่ยน มาใชระบบพิกัดอัตราศุลกากรฮารโมไนซอาเซียน หรือ AHTN เพื่อใหศุลกากรของทุก ประเทศสมาชิกใชพิกัดอัตราศุลกากรที่เปนมาตรฐานเดียวกันในระดับตัวเลข 8 หลัก (7) กรอบความตกลงวาดวยการรวมกลุมสาขาสําคัญของอาเซียน (ASEAN Framework Agreement for the Integration of Priority Sectors) (2004) ผูนํา อาเซียนไดลงนามในกรอบความตกลงวาดวยการรวมกลุมสาขาสําคัญ และรัฐมนตรี เศรษฐกิจอาเซียนลงนามในพิธีสารรายสาขา (ASEAN Sectoral Integration Protocol) ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 10 เมื่อเดือน พฤศจิกายน 2004 ณ กรุง เวียงจันทร สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (8) ความตกลงวาดวยการอํานวยความสะดวกดานศุลกากรดวยระบบ อิเล็กทรอนิกส ณ จุดเดียวของอาเซียน (ASEAN Agreement to Establish and Implement the ASEAN Single Window) ป 2005 โดยกําหนดใหประเทศสมาชิก อาเซียนเดิม 6 ประเทศ จัดตั้ง National Single Window ใหแลวเสร็จ ภายในป 2008 และประเทศ CLMV ใหดําเนินการใหแลวเสร็จ ภายในป 2012 เพื่อเชื่อมตอ เปน ASEAN Single Window ตอไป
  • 5. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน  17 2.2 สาระสําคัญของความตกลงการคาสินคาของอาเซียน (ATIGA) ความตกลงการคาสินคาของอาเซียน (ASEAN Trade in Goods Agreement) หรือ ATIGA ปรับปรุงจากความตกลงฉบับเดิม ที่เรียกวา ความตกลงวาดวยการใช อัตราภาษีพิเศษที่เทากันสําหรับเขตการคาเสรีอาเซียน หรือ “the Agreement on the Common Effective Preferential Tariff Scheme for the ASEAN Free Trade Area : CEPT” มีวัตถุประสงคสําคัญเพื่อสรางกฎเกณฑทางการคาระหวางอาเซียน ใหมีความชัดเจน โปรงใสมากขึ้น และครอบคลุมเรื่องมาตรการทางภาษี และมิใช ภาษี ซึ่งจะทําใหการคาสินคาระหวางประเทศสมาชิกอาเซียนมีอุปสรรคทางการคา ระหวางกันนอยที่สุดนําไปสูการเปนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) ในป 2015 โดยเปนไปในทํานองเดียวกับประชาคม เศรษฐกิจยุโรปในระยะเริ่มแรกที่มีตลาดและฐานการผลิตรวมกัน และจะมีการ เคลื่อนยายสินคา บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานฝมือโดยปราศจาก อุปสรรคใดๆ ซึ่งเนื้อหาของความตกลง ATIGA ประกอบดวย เนื้อหา 11 บท มี 98 ขอ สามารถสรุปไดดังนี้ เมื่อพิจารณาในบทแรก จะเปนรายละเอียดของบทบัญญัติทั่วไปในการ จัดทําความตกลงการคาสินคาของอาเซียน (ATIGA) สาระสําคัญจะกลาวถึง วัตถุประสงค คํานิยามตางๆ เชน อากรศุลกากร ขอจํากัดการปริวรรตเงินตรา ตางประเทศ สินคาที่ไดถิ่นกําเนิด เปนตน เพื่อความเขาใจที่ตรงกันของประเทศ สมาชิก และการทําความเขาใจในขอบเขตการจําแนกพิกัดของสินคา การประติบัติ เยี่ยงชาติที่ไดรับความอนุเคราะหยิ่ง คาธรรมเนียมและคาภาระเกี่ยวกับการนําเขา สงออก มาตรการปกปองเพื่อรักษาดุลการชําระเงิน การเก็บรักษาขอมูลการคา อาเซียน การสงเสริมการมีสวนรวมของกลุมประเทศสมาชิก ขอยกเวนทั่วไป
  • 6. AEC Prompt  18 โดยขอยกเวนทั่วไปนี้ ไดระบุชัดเจนวาประเทศสมาชิกจะตองไมเลือกปฏิบัติตาม อําเภอใจหรือไมมีเหตุผลระหวางประเทศสมาชิกดวยกัน สวนขอยกเวนดานความ มั่นคงนั้น ไดทําความเขาใจวาในขอตกลงฉบับนี้ไมมีขอความใดๆ ที่ตีความไป ในทางกีดกันหรือหามไมใหประเทศสมาชิกดําเนินตามกรอบพันธกรณีภายใตกฎ บัตรสหประชาชาติเพื่อการรักษาสันติภาพและความมั่นคงระหวางประเทศ เปนตน ในบทตอมาจะวาดวยเรื่องการเปดเสรีอัตราภาษี มีเนื้อหาครอบคลุมในเรื่อง การลดหรือยกเลิกอากรขาเขาของประเทศในกลุมสมาชิก ซึ่งในความตกลง ประเทศสมาชิกจะตองยกเลิกอากรขาเขาของสินคาทุกรายการที่มีการคาระหวาง ประเทศสมาชิกภายในป 2010 สําหรับประเทศสมาชิกอาเซียน 6 ประเทศ5 และ สําหรับประเทศ CLMV6 ภายในป 2015 โดยมีความยืดหยุนใหถึงป 2018 สวนการ ยกเลิกโควตาอัตราภาษี (Tariff Rate Quotas : TRQs) ที่ประเทศสมาชิกแตละ ประเทศจะตองไมนําโควตาอัตราภาษีมาใชกับการนําเขาสินคาใดที่มีถิ่นกําเนิด จากประเทศสมาชิก หรือการสงออกสินคาใดๆ ไปยังอาณาเขตของประเทศสมาชิก และในความตกลงนี้ประเทศที่ระบุวาจะตองยกเลิกโควตาอัตราภาษี (TRQs) มี 2 ประเทศดวยกัน คือ ไทยและเวียดนาม โดยไทยจะตองยกเลิกตั้งแต 1 มกราคม 2008 , 2009 และสิ้นสุดที่ป 2010 สวนเวียดนามจะตองยกเลิกตั้งแต 1 มกราคม 2013, 2014, 2015 และยืดหยุนไดถึงป 2018 สวนอีกประเด็นในบทนี้ที่มี ความสําคัญก็คือ วิธีการและขั้นตอนในการแกไขหรือการระงับการใหขอลดหยอน ชั่วคราว ในกรณีที่ประเทศสมาชิกประสบกับความยากลําบากในสถานการณ 5 ประเทศสมาชิกอาเซียน 6 ประเทศ ประกอบดวย บรูไน ดารุสซาลาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟลิปปนส สิงคโปรและ ไทย 6 ประเทศ CLMV ประกอบดวย กัมพูชา ลาว พมา และเวียดนาม
  • 7. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน  19 ที่ไมอาจคาดการณได ซึ่งประเทศสมาชิกสามารถแกไขหรือระงับการการลดหรือ ยกเลิกอากรขาเขาได ในกรณีตัวอยางที่ยกมาในความตกนี้ คือ ขาว และน้ําตาล สําหรับกฎวาดวยถิ่นกําเนิดสินคา จะอยูในบทที่ 3 สาระสําคัญจะกลาวถึง หลักเกณฑการไดถิ่นกําเนิดของสินคา โดยแยกเปนสินคาที่ไดมาหรือมีการผลิต ทั้งหมดในประเทศสมาชิกผูสงออก และสินคาที่ไมไดมาหรือไมมีการผลิตทั้งหมด ทั้งนี้สัดสวนมูลคาการผลิตของอาเซียน หรือ สัดสวนมูลคาการผลิตในภูมิภาค (Regional Value Content : RVC) ตองไมนอยกวารอยละ 40 จึงจะมีสิทธิไดรับ การปฏิบัติที่เปนพิเศษทางภาษีศุลกากร ซึ่งสูตรในการคํานวณสัดสวนมูลคาการ ผลิตของอาเซียน มีใหเลือกใช 2 วิธีดังตอไปนี้ 1) วิธีทางตรง RVC = ตนทุนวัสดุในอาเซียน+คาแรงทางตรง+ตนทุนคาดําเนินการทางตรง+ตนทุนอื่นๆ+กําไร X100 ราคา FOB 2) วิธีทางออม RVC = ราคา FOB – มูลคาวัสดุหรือ ชิ้นสวนสินคาที่ไมไดถิ่นกําเนิด X 100 ราคา FOB
  • 8. AEC Prompt  20 โดย ตนทุนวัสดุในอาเซียน คือ มูลคา CIF ของวัสดุ ชิ้นสวน หรือสินคาที่ไดถิ่น กําเนิด ซึ่งไดรับมาหรือผลิตไดเองโดยผูผลิตในการผลิตสินคานั้น มูลคาของวัสดุ ชิ้นสวน หรือสินคาที่ไมไดถิ่นกําเนิด คือ มูลคา CIF ณ ขณะที่ นําเขาสินคา หรือสามารถพิสูจนการนําเขาได หรือราคาที่ไดรับการยืนยันครั้งแรก ที่ชําระสําหรับสินคาที่ไมทราบถิ่นกําเนิดภายในอาณาเขตของประเทศสมาชิกที่ซึ่ง การผลิตหรือการแปรสภาพไดกระทําขึ้น ตนทุนคาแรงทางตรง จะรวมไปถึง คาจางแรงงาน คาตอบแทน และ สวัสดิการแรงงานอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับกระบวนการผลิต ราคาFOBหมายถึง มูลคาของสินคา ณ ทาเรือตนทาง ซึ่งรวมคาขนสงจนถึง ทาเรือหรือสถานที่สุดทายสําหรับขนสงสินคาไปตางประเทศ ราคา FOB จะตอง คํานวณโดยการบวกรวมมูลคาของวัสดุ ตนทุนการผลิต กําไร และตนทุนอื่นๆ นอกจากนั้นการสะสมสินคาที่ไดถิ่นกําเนิดในประเทศสมาชิก เมื่อสินคานั้น ถูกนําไปใชในอีกประเทศสมาชิกหนึ่งเพื่อเปนวัสดุสําหรับการผลิตสินคาสําเร็จรูปที่ มีสิทธิที่จะไดรับการปฏิบัติที่เปนพิเศษทางภาษีศุลกากรนั้น ใหถือวาไดถิ่นกําเนิด ในประเทศสมาชิกประเทศหลังซึ่งการผลิตหรือการแปรรูปของสินคาขั้นสุดทายได เกิดขึ้น ถา RVC ของวัสดุ นอยกวารอยละ 40 สัดสวนมูลคาการผลิตของอาเซียนที่ ใชสะสมไดตามหลักเกณฑ RVC จะถือสัดสวนโดยตรงตามมูลคาที่เกิดขึ้นจริง ภายในประเทศ โดยมีเงื่อนไขวา สัดสวนนั้นเทากับหรือมากกวารอยละ 20 สินคาที่ ไดถิ่นกําเนิดในอาณาเขตของประเทศสมาชิกจะยังคงรักษาไวซึ่งสถานะของ
  • 9. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน  21 ถิ่นกําเนิดแรก หากถูกสงออกจากอีกประเทศสมาชิกหนึ่งซึ่งยังไมมีการดําเนินการ ที่เกินไปจากรายการที่ระบุไว โดยหลักเกณฑขั้นต่ําในการผอนปรน คือ สินคาที่ไมผานการเปลี่ยนพิกัด อัตราศุลกากร จะถือวาไดถิ่นกําเนิด ถามูลคาของวัสดุที่ไมไดถิ่นกําเนิดที่ใชในการ ผลิตสินคาซึ่งไมผานการเปลี่ยนพิกัดอัตราศุลกากรที่กําหนด คิดแลวไมเกินรอยละ 10 ของมูลคาFOBของสินคา และสินคานั้นเปนไปตามหลักเกณฑการไดถิ่นกําเนิด อื่นๆ ที่กําหนดไวในความตกลง สําหรับการมีคุณสมบัติของการเปนสินคาที่ไดถิ่น กําเนิด และมูลคาของวัสดุที่ไมไดถิ่นกําเนิดตามที่ระบุในขางตน จะตองรวมอยูใน มูลคาของวัสดุที่ไมไดถิ่นกําเนิดสําหรับกฎวาดวยถิ่นกําเนิดสินคา RVC ที่ใชบังคับ สําหรับสินคานั้น รวมไปถึงหลักเกณฑในการพิจารณาวาสินคานั้นไดถิ่นกําเนิด หรือไม ของวัสดุที่ใชเปนบรรจุภัณฑและใชในการบรรจุหีบหอ อุปกรณประกอบ อะไหล เครื่องมือ วัสดุที่เหมือนกันและใชแทนกันไดและองคประกอบใดที่ไมมีผล ตอถิ่นกําเนิดสินคา ซึ่งการอางสิทธิวาสินคามีคุณสมบัติที่จะไดรับการปฏิบัติที่เปน พิเศษทางภาษีศุลกากรนั้น ตองไดรับการรับรองโดยหนังสือรับรองถิ่นกําเนิดสินคา (From D) ซึ่งออกโดยหนวยงานราชการที่ไดรับมอบหมายโดยประเทศสมาชิกผู สงออกและไดแจงใหประเทศสมาชิกอื่นทราบแลวตามระเบียบปฏิบัติในการออก หนังสือรับรองถิ่นกําเนิดสินคาที่ไดระบุไวในความตกลง ในดานมาตรการที่มิใชภาษีศุลกากร ในบทที่ 4 ในความตกลงไดระบุไววา ประเทศสมาชิกจะตองไมนํามาตรการที่มิใชภาษีศุลกากรใดๆ มาใช ในการนําเขา สินคาของประเทศสมาชิก หรือการสงออกสินคา ไปยังประเทศสมาชิกอื่น เวนแต จะเปนไปตามสิทธิและพันธกรณีของตนภายใต WTO หรือเปนไปตามความตกลง ATIGA ซึ่งครอบคลุมการยกเลิกขอจํากัดดานปริมาณโดยทั่วไป การยกเลิก
  • 10. AEC Prompt  22 อุปสรรคที่มิใชภาษีศุลกากรอื่นๆ ขอจํากัดการปริวรรตเงินตราตางประเทศและ วิธีดําเนินการออกใบอนุญาตนําเขาดวย โดยเนนใหประเทศสมาชิกแตละประเทศ จะตองทําใหมั่นใจในความโปรงใสของมาตรการที่ไมใชภาษีศุลกากรของตน ดานการอํานวยความสะดวกทางการคา บทที่ 5 เนื้อหาจะเปนการกําหนด วัตถุประสงค ขอบเขต และหลักการของแผนการทํางานเกี่ยวกับการอํานวยความ สะดวกทางการคารวมกันของประเทศสมาชิก ซึ่งจะครอบคลุมทั้งเรื่องพิธีการ ศุลกากร กฎระเบียบและขั้นตอนทางการคา มาตรฐานและการปฏิบัติตาม มาตรฐาน มาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช ความตกลงวาดวยการอํานวย ความสะดวกดานศุลกากรดวยระบบอิเล็กทรอนิกส ณ จุดเดียว และเรื่องอื่นๆ ที่ ระบุโดยคณะมนตรีเขตการคาเสรีอาเซียน โดยจะตองมีการติดตามความคืบหนา ของแผนการดําเนินการทุกๆ 2 ป เพื่อทําใหมั่นใจวา การดําเนินการของการอํานวย ความสะดวกทางการคาเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ สวนเรื่องขอบเขตของพิธีการศุลกากรตางๆ ที่เกี่ยวของกับสินคาที่มีการ คาขายกันระหวางกลุมประเทศสมาชิก ในความตกลงนี้ระบุไวในบทที่ 6 โดยตาม กฎหมาย ระเบียบขอบังคับและนโยบายของประเทศสมาชิก เนื้อหาไดระบุ รายละเอียดของขอบเขตและแนวทางที่ประเทศสมาชิกที่จะตองทําใหมั่นใจวา พิธี การศุลกากร และแนวปฏิบัติตางๆ ของประเทศตนสามารถคาดการณได มีความ ตอเนื่อง โปรงใส และอํานวยความสะดวกทางการคา โดยในที่นี้รวมถึงการตรวจ ผานสินคาที่รวดเร็วดวย สําหรับมาตรฐาน กฎระเบียบทางเทคนิค และกระบวนการตรวจสอบและ รับรองในบทที่ 7 เปนขอตกลงที่เกี่ยวกับการกําหนดขอบเขตดานมาตรฐาน
  • 11. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน  23 กฎระเบียบทางเทคนิค และกระบวนการตรวจสอบและรับรอง ของประเทศสมาชิก เพื่อปรับมาตรฐานแหงชาติของแตละประเทศใหเปนไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อให มั่นใจวาจะไมสรางอุปสรรคที่ไมจําเปนตอการคา ในการจัดตั้งเปนตลาดและฐาน การผลิตเดียวกันของอาเซียน และในเวลาเดียวกันเพื่อใหมั่นใจวาสามารถบรรลุ วัตถุประสงคอันชอบธรรมของกลุมประเทศสมาชิก ประเทศสมาชิกแตละประเทศ จะตองรับรองวาสถาบันมาตรฐานแหงชาติของตนยอมรับ ในการปรับประสาน มาตรฐานแหงชาติเขาหากัน โดยกลุมประเทศสมาชิกตองนํามาตรฐานระหวาง ประเทศที่เกี่ยวของมาใชเปนทางเลือกแรก ซึ่งเมื่อจัดทํามาตรฐานแหงชาติฉบับ ใหม หรือเมื่อทบทวนมาตรฐานที่มีอยู ในกรณีที่ไมมีมาตรฐานระหวางประเทศ มาตรฐานแหงชาติของแตละประเทศตองถูกปรับใหไปในแนวทางเดียวกัน โดยใน ที่นี้กลุมประเทศสมาชิกจะตองทําใหมั่นใจวากระบวนการตรวจสอบและรับรองไม ถูกจัดทํา นํามาใช หรือใชเพื่อหรือใชโดยมีผลตอการสรางอุปสรรคทางเทคนิคที่ไม จําเปนตอการคา และกระบวนการตรวจสอบและรับรองที่ผูจัดหาผลิตภัณฑที่มีถิ่น กําเนิดในเขตแดนของประเทศสมาชิกอื่นจะตองปฏิบัติใหสอดคลองและจะตองไม เขมงวดกวากระบวนการตรวจสอบและรับรองสําหรับผูจัดหาผลิตภัณฑอยาง เดียวกันที่มีถิ่นกําเนิดภายในประเทศ ในดานของมาตรการสุขอนามัยและ สุขอนามัยพืช ที่ประเทศสมาชิกทุกประเทศตองใชมาตรฐานเดียวกันนั้น ในบทที่ 8 จะระบุบทบัญญัติและพันธกรณีที่ประเทศสมาชิกจะนํามาตรการสุขอนามัยและ สุขอนามัยพืช (Sanitary and Phytosanitary Measures : SPS) ไปใชในประเทศ ของตน ซึ่งในบทนี้จะรวมไปถึงการแลกเปลี่ยนขอมูลทางดานสุขอนามัย โดยเฉพาะกรณีในสถานการณฉุกเฉินที่เกี่ยวกับวิกฤตความปลอดภัยของอาหาร เชนการควบคุมแมลงศัตรูพืช และการระบาดของโรค เปนตน เพื่อปกปองชีวิต
  • 12. AEC Prompt  24 และสุขภาพของของมนุษย สัตว พืช ของประเทศสมาชิกผูนําเขา โดยประเทศ สมาชิกแตละประเทศจะตองแสวงหาโอกาสที่จะขยายความรวมมือระหวางกันให มากขึ้น ในดานการใหความชวยเหลือทางวิชาการ ดานความรวมมือและการ แลกเปลี่ยนขอมูลระหวางประเทศสมาชิกอื่นๆ ที่เกี่ยวของกับมาตรการสุขอนามัย และสุขอนามัยพืชที่เปนประโยชนรวมกัน ซึ่งตองสอดคลองกับวัตถุประสงคและขอ ผูกพันที่กําหนดในแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน สวนมาตรการเยียวยาทางการคา ไดระบุไวในบทที่ 9 โดยในความตกลงฉบับ นี้มีเพียง 2 มาตรการเทานั้น คือ 1) มาตรการปกปอง ซึ่งเปนการคงไวของสิทธิและพันธกรณีภายใต ขอ 19 ของ GATT 1994 และ WTO วาดวยมาตรการปกปอง หรือ ขอ 5 ของ ความตกลงวาดวยการเกษตร 2) อากรตอบโตการทุมตลาดและการอุดหนุน โดยประเทศสมาชิกยืนยัน ที่ จะใชสิทธิและพันธกรณีตอกันในกรณีที่เกี่ยวกับการใชมาตรการตอบโต การทุมตลาดและภายใต ขอ 6 ของ GATT 1994 สวนในกรณีที่เกี่ยวของ กับการอุดหนุนและมาตรการตอบโตการอุดหนุนประเทศสมาชิกยืนยันที่ จะยังใชสิทธิและพันธกรณีภายใต ขอ 16 ของ GATT 1994 ที่ระบุไวใน ภาคผนวก 1A ของความตกลง WTO เชนกัน สําหรับในบทที่ 10 และ 11 จะกลาวถึงหนวยงานและบทบาทของหนวยงาน ที่เกี่ยวของกับความตกลงฉบับนี้ โดยจะเปนหนวยงานที่ดูแลดานกลไกในการหารือ และการใหคําปรึกษาในขอตกลงตางๆ ระหวางประเทศสมาชิก รวมถึงการทบทวน และแกไขบทบัญญัติ โดยในขอตกลงไดกําหนดใหรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียน
  • 13. ทางรอดสินคาเกษตรที่สําคัญของไทยภายใตประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน  25 (AEM)7 จะตองจัดตั้งคณะมนตรีเขตการคาเสรีอาเซียน ประกอบดวยผูแทนใน ระดับรัฐมนตรี 1 คนจากประเทศสมาชิกแตละประเทศและเลขาธิการอาเซียน ใน การทําหนาที่ของคณะมนตรีเขตการคาเสรีอาเซียนซึ่งจะตองไดรับการสนับสนุน จากการประชุมเจาหนาที่อาวุโสดานเศรษฐกิจของอาเซียน (SEOM)8 และเพื่อให บรรลุผลตามหนาที่ SEOM สามารถจัดตั้งคณะทํางานตามความเหมาะสม เชน คณะกรรมการประสานงานการดําเนินการภายใตความตกลง ATIGA (CCA)9 เพื่อใหความชวยเหลือในการทํางานของ SEOM โดยในการทํางานของ SEOM จะตองทําใหมั่นใจในเรื่องการปฏิบัติตามความตกลงฉบับนี้ ซึ่งจะตองประสานและ ไดรับการสนับสนุนจากคณะทํางานดานเทคนิคและคณะกรรมการตางๆ ภายใต ความตกลง โดยประเทศสมาชิกทุกประเทศจะตองจัดตั้งหนวยงาน AFTA เพื่อทํา หนาที่เปนศูนยกลางในการประสานงานของประเทศใหดําเนินการตามความตกลง ATIGA สวนความสัมพันธกับความตกลงฉบับอื่นๆ ที่เปนความตกลงดาน เศรษฐกิจทุกฉบับของอาเซียนที่มีอยูกอนการมีผลบังคับใช ATIGA ใหมีผลบังคับ ใชตอไป 7 The ASEAN Economic Ministers : AEM 8 The Senior Economic Officials Meeting : SEOM 9 The Coordinating Committee on the implementation of ATIGA : CCA