SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
Télécharger pour lire hors ligne
ประวตคอมพวเตอร
    ั ิ  ิ



ประวตคอมพวเตอร โดยสงเขป ลําดับจากวิวัฒนาการไดดังนี้
    ั ิ  ิ          ั



   - แรกเริ่มมนุษยดําเนินชีวิตโดยไมมีการบันทึกสิ่งใด มาจนกระทั่งไดมีการติดตอคาขายของพอคา
ชาวแบบลอน(Babylonian) การจดบันทึกขอมูลตางๆ ลงบน clay tabletsจึงไดถือกําเนิดขึ้น และ
         ี
อุปกรณที่ชวยในการคํานวนระหวางการติดตอซื้อขายก็ไดถือกําเนิดขึ้นเชนกัน อุปกรณคํานวณใน
ยุคแรกไดแก ลูกคิด(abacus)ซึ่งก็ยังคงใชกันตอๆ มาจนถึงปจจุบัน




                                 clay tablets (แผนดนเหนยว)
                                                  ิ   ี
ลูกคิด (abacus)



   - ประวัติคอมพิวเตอร ดําเนินมาถึง ป พ.ศ. 2185 นักคณิตศาสตรชาวฝรั่งเศส ชื่อ Blaise Pascal
(แบลส ปาสกาล) ไดสรางเครื่องกลสําหรับการคํานวณชื่อ pascaline




                                         Blaise Pascal
เครื่องกลสําหรับการคํานวณชื่อ pascaline



  - ตอมาในป พ.ศ. 2215 เครื่องกล pascaline ของ Blaise Pasca ไดถูกพัฒนาเพิ่มเติมโดย
Gottfried Von Leibniz นักคณิตศาสตรชาวเยอรมันโดยเพิ่มสามารถในการ บวก ลบ คูณ หาร และ
ถอดรากได แตก็ไมมีผูใดทราบวาเครื่อง pascaline ที่ถูกพัฒนาเพิ่มเติมเครื่องนี้มีความสามารถใน
การคํานวนแมนยําเพียงใด




                                    Gottfried Von Leibniz



   - ป พ.ศ. 2336 นักคณิตศาสตรชาวอังกฤษ Charles Babbage ไดสรางจักรกลที่มีชื่อวา
difference engine ที่มีฟงกชันทางตรีโกณมิติตางๆ โดยอาศัยหลักการทางคณิตศาสตร และและ
ตอมาก็ไดสราง analytical engine ที่มีหลักคลายเครื่องคอมพิวเตอรทั่วไปในปจจุบัน จากผลงาน
ดังกลาว Charles Babbage ถูกยกยองวาเปนบิดาของคอมพิวเตอรและเปนผูริเริ่มวางรากฐาน
คอมพิวเตอรในปจจุบัน




                                     Charles Babbage




                                     difference engine
analytical engine



- ป พ.ศ. 2439 Herman Hollerith ไดคิดบัตรเจาะรูและเครื่องอานบัตร




                                   Herman Hollerith




                                       บตรเจาะรู
                                        ั
- จนกระทั่งในป พ.ศ. 2480 Howard Aiken สรางเครื่องกล automatic calculating machine ขึ้น
จุดประสงคของเครื่องกลชิ้นนี้ก็คือ เพื่อเชื่อมโยงเทคโนโลยีทั้งทาง electrical และ mechanical เขา
                                                                                              
กับบัตรเจาะรูของ Hollerith และดวยความชวยเหลือของนักศึกษาปริญญาและวิศวกรรมของ IBM
ทีมงานของ Howard ก็ประดิษฐ automatic calculating machine สําเร็จในป พ.ศ. 2487 โดยใชชื่อ
วา MARK I โดยการทํางานภายในตัวเครื่องจะถูกควบคุมอยางอัตโนมัติดวย electromagnetic
relays และ arthmetic counters ซึ่งเปน mechanical ดังนั้น MARK I จึงนับเปน
electromechanical computers




                                        Howard Aiken




                                           MARK I
- และตอมา Dr. John Vincent Atanasoff และ Clifford Berry ไดประดิษฐเครื่อง ABC
(Atanasoff-Berry Computer) โดยใช หลอดสูญญากาศ (vacuum tubes)




                         เครื่อง ABC (Atanasoff-Berry Computer)



   - ป พ.ศ. 2483 Dr.John W. Mauchy และ J. Presper Eckert Jr. ไดรวมกันพัฒนา electronic
computer โดยอาศยหลกการออกแบบบนพนฐานของ Dr. Atanasoff electronic computer เครื่อง
                   ั ั                    ้ื
แรกมีชื่อวา ENIAC แมจะเปนelectronic computer แตENIACก็ยงไมสามารถเก็บโปรแกรมได
                                                           ั
(stored program) จึงไดมีการพัฒนาเปนเครื่อง EDVAC ซึ่งอาศัยหลักการ stored program สมบูรณ
และไดมีการพัฒนาเปนเครื่อง EDSAC และทายสุดก็ไดพัฒนาเปนเครื่อง UNIVAC(Universal
Automatic Computer) ในเวลาตอมา  




                                         ENIAC
EDVAC




EDSAC
UNIVAC



   ในทายที่สุด หากจะจําแนกประวัติคอมพิวเตอรตามยุคของคอมพิวเตอร( Computer generations)
โดยแบงตามเทคโนโลยีของตัวเครื่องและเทคโนโลยีการเก็บขอมูล ก็สามารถจะจัดแบงตาม
วิวัฒนาการได 4 ยุคดวยกัน คือ

   ยุคแรกเปนคอมพิวเตอรที่ใชเทคโนโลยีของหลอดสูญญากาศ และการเกบขอมลเปนแบบ
                                                               ็  ู 
บัตรเจาะรู

   ยุคที่สอง เปนคอมพิวเตอรที่ใชเทคโนโลยีของทรานซิสเตอร และการเก็บขอมูลเปนแบบเทป
ลักษณะเปนกรรมวิธีตามลําดับ(Sequential Processing)

   ยุคที่สาม เปนคอมพิวเตอรที่ใชเทคโนโลยีของไอซี(integrated circuit, IC) และการเก็บขอมูล
เปนแบบจานแมเหล็ก ลักษณะเปนการทํางานหลายโปรแกรมพรอมกัน (Multiprogramming) และ
ออนไลน( on-line)

  ยุคที่สี่ เปนคอมพิวเตอรที่ใช เทคโนโลยีของวงจรรวมขนาดใหญ ( Large-scale integration, LSI)
ของวรจรไฟฟา ผลงานจากเทคโนโลยีนี้คือ ไมโครโปรเซสเซอร (microprocessor ) กลาวไดวาเปน
"Computer on a chip" ในยคน้ี   ุ

   จะเห็นไดวาวิวัฒนาการจากอดีตถึงปจจุบัน คอมพิวเตอรไดถูกพัฒนาตอๆ กันมาอยางรวดเร็วทํา
ใหวิทยาการดานคอมพิวเตอร มการพฒนาเปลยนแปลงอยตลอดเวลา อาจกลาวไดอีกวาโลกของ
                             ี ั           ่ี        ู
วิทยาการคอมพิวเตอรนั้นมี การเคลื่อนไหวเสมอ(dynamics) แตการรพัฒนาดังกลาวกลับไมคอย
ยืดหยุน(rigid)มากนก เพราะหากเกดความผดพลาด ในกลไกเพียงเล็กนอย บางครั้งก็อาจเปนบอเกิด
                   ั           ิ       ิ
ปญหาที่ใหญโตมหาศาลได นอกจากนี้การพัฒนาคอมพิวเตอรยังนับไดวาเปนโลกที่ควบคุมไมได
หรือสามารถจัดการไดนอย กลาวคือ ทันทีที่คอมพิวเตอรทํางานดวยโปรแกรม เครื่องก็ปฏิบัติงาน
ไปตามโปรแกรมดวยตนเอง และขณะที่เครื่องทํางานอยูนั้นมนุษยจะไมสามารถควบคุมได




ที่มา http://computer.kapook.com/history.php

Contenu connexe

En vedette

Incept lifesaver presentation
Incept lifesaver presentationIncept lifesaver presentation
Incept lifesaver presentation
ATAOhioValley
 
G D Đ A I H O C V N T G
G D Đ A I  H O C  V N  T GG D Đ A I  H O C  V N  T G
G D Đ A I H O C V N T G
Nguyen Chien
 
Donor Care X Marks the Spot
Donor Care X Marks the SpotDonor Care X Marks the Spot
Donor Care X Marks the Spot
ATAOhioValley
 
Research Literacy GEDU6170 MSVU
Research Literacy GEDU6170 MSVUResearch Literacy GEDU6170 MSVU
Research Literacy GEDU6170 MSVU
Saad Chahine
 
Defender Direct Annual Christmas Sales Auction
Defender Direct Annual Christmas Sales AuctionDefender Direct Annual Christmas Sales Auction
Defender Direct Annual Christmas Sales Auction
ATAOhioValley
 
La energia solar y el petroleo
La energia solar y  el petroleoLa energia solar y  el petroleo
La energia solar y el petroleo
batifruta
 
Penerapan prinsipprinsip-good-governance-dalam-pembangunan-daerah-4056
Penerapan prinsipprinsip-good-governance-dalam-pembangunan-daerah-4056Penerapan prinsipprinsip-good-governance-dalam-pembangunan-daerah-4056
Penerapan prinsipprinsip-good-governance-dalam-pembangunan-daerah-4056
Uni Asgar
 
P T C H U O N G T R I N H Q T D T C U A G D D H V I E T N A M Mr. Hai
P T  C H U O N G  T R I N H   Q T D T  C U A  G D D H  V I E T  N A M  Mr.  HaiP T  C H U O N G  T R I N H   Q T D T  C U A  G D D H  V I E T  N A M  Mr.  Hai
P T C H U O N G T R I N H Q T D T C U A G D D H V I E T N A M Mr. Hai
Nguyen Chien
 
Chien luoc su pham thanh cong
Chien luoc su pham thanh congChien luoc su pham thanh cong
Chien luoc su pham thanh cong
Nguyen Chien
 
Hyatt Legal Plans Bravo! Awards
Hyatt Legal Plans Bravo! AwardsHyatt Legal Plans Bravo! Awards
Hyatt Legal Plans Bravo! Awards
ATAOhioValley
 

En vedette (20)

Csse 2014 hmm presentation_ta_ed
Csse 2014 hmm presentation_ta_ed Csse 2014 hmm presentation_ta_ed
Csse 2014 hmm presentation_ta_ed
 
Dieu May Man
Dieu  May  ManDieu  May  Man
Dieu May Man
 
Incept lifesaver presentation
Incept lifesaver presentationIncept lifesaver presentation
Incept lifesaver presentation
 
Fun May Anh
Fun  May AnhFun  May Anh
Fun May Anh
 
CERA saad chahine 2013 fuzzy clusters
CERA saad chahine 2013 fuzzy clustersCERA saad chahine 2013 fuzzy clusters
CERA saad chahine 2013 fuzzy clusters
 
Chahine Understanding Common Study Results
Chahine Understanding Common Study ResultsChahine Understanding Common Study Results
Chahine Understanding Common Study Results
 
Superbes photos
Superbes photosSuperbes photos
Superbes photos
 
G D Đ A I H O C V N T G
G D Đ A I  H O C  V N  T GG D Đ A I  H O C  V N  T G
G D Đ A I H O C V N T G
 
Donor Care X Marks the Spot
Donor Care X Marks the SpotDonor Care X Marks the Spot
Donor Care X Marks the Spot
 
Research Literacy GEDU6170 MSVU
Research Literacy GEDU6170 MSVUResearch Literacy GEDU6170 MSVU
Research Literacy GEDU6170 MSVU
 
Defender Direct Annual Christmas Sales Auction
Defender Direct Annual Christmas Sales AuctionDefender Direct Annual Christmas Sales Auction
Defender Direct Annual Christmas Sales Auction
 
La energia solar y el petroleo
La energia solar y  el petroleoLa energia solar y  el petroleo
La energia solar y el petroleo
 
Real Relationships 001
Real Relationships 001Real Relationships 001
Real Relationships 001
 
Christmas Card For
Christmas  Card ForChristmas  Card For
Christmas Card For
 
Penerapan prinsipprinsip-good-governance-dalam-pembangunan-daerah-4056
Penerapan prinsipprinsip-good-governance-dalam-pembangunan-daerah-4056Penerapan prinsipprinsip-good-governance-dalam-pembangunan-daerah-4056
Penerapan prinsipprinsip-good-governance-dalam-pembangunan-daerah-4056
 
P T C H U O N G T R I N H Q T D T C U A G D D H V I E T N A M Mr. Hai
P T  C H U O N G  T R I N H   Q T D T  C U A  G D D H  V I E T  N A M  Mr.  HaiP T  C H U O N G  T R I N H   Q T D T  C U A  G D D H  V I E T  N A M  Mr.  Hai
P T C H U O N G T R I N H Q T D T C U A G D D H V I E T N A M Mr. Hai
 
Chien luoc su pham thanh cong
Chien luoc su pham thanh congChien luoc su pham thanh cong
Chien luoc su pham thanh cong
 
Fotos Varias 1
Fotos Varias 1Fotos Varias 1
Fotos Varias 1
 
Hyatt Legal Plans Bravo! Awards
Hyatt Legal Plans Bravo! AwardsHyatt Legal Plans Bravo! Awards
Hyatt Legal Plans Bravo! Awards
 
Bharti Updated CV-1
Bharti Updated CV-1Bharti Updated CV-1
Bharti Updated CV-1
 

Similaire à ประวัติคอมพิวเตอร์

Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
paween
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
paween
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Junya Punngam
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
Junya Punngam
 
ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
Bansit Deelom
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
Sakulrut
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
Sakulrut
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
Sakulrut
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
piyarut084
 
040103 Slide-01
040103 Slide-01040103 Slide-01
040103 Slide-01
Naret Su
 
อานนท์
อานนท์อานนท์
อานนท์
Arnon2516
 

Similaire à ประวัติคอมพิวเตอร์ (20)

Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
Historycom 2
Historycom 2Historycom 2
Historycom 2
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นบทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
บทที่ 1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
รู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอมรู้จักวิวัฒนาการคอม
รู้จักวิวัฒนาการคอม
 
ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
ม.1 วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร์
 
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
รายงานประวัติคอมพิวเตอร์
 
040103 Slide-01
040103 Slide-01040103 Slide-01
040103 Slide-01
 
อานนท์
อานนท์อานนท์
อานนท์
 
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาคอมพิวเตอร์
 
Computer1
Computer1Computer1
Computer1
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์
 
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ความรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
 
ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์ ประวัติของคอมพิวเตอร์
ประวัติของคอมพิวเตอร์
 

ประวัติคอมพิวเตอร์

  • 1. ประวตคอมพวเตอร ั ิ ิ ประวตคอมพวเตอร โดยสงเขป ลําดับจากวิวัฒนาการไดดังนี้ ั ิ ิ ั - แรกเริ่มมนุษยดําเนินชีวิตโดยไมมีการบันทึกสิ่งใด มาจนกระทั่งไดมีการติดตอคาขายของพอคา ชาวแบบลอน(Babylonian) การจดบันทึกขอมูลตางๆ ลงบน clay tabletsจึงไดถือกําเนิดขึ้น และ ี อุปกรณที่ชวยในการคํานวนระหวางการติดตอซื้อขายก็ไดถือกําเนิดขึ้นเชนกัน อุปกรณคํานวณใน ยุคแรกไดแก ลูกคิด(abacus)ซึ่งก็ยังคงใชกันตอๆ มาจนถึงปจจุบัน clay tablets (แผนดนเหนยว)  ิ ี
  • 2. ลูกคิด (abacus) - ประวัติคอมพิวเตอร ดําเนินมาถึง ป พ.ศ. 2185 นักคณิตศาสตรชาวฝรั่งเศส ชื่อ Blaise Pascal (แบลส ปาสกาล) ไดสรางเครื่องกลสําหรับการคํานวณชื่อ pascaline Blaise Pascal
  • 3. เครื่องกลสําหรับการคํานวณชื่อ pascaline - ตอมาในป พ.ศ. 2215 เครื่องกล pascaline ของ Blaise Pasca ไดถูกพัฒนาเพิ่มเติมโดย Gottfried Von Leibniz นักคณิตศาสตรชาวเยอรมันโดยเพิ่มสามารถในการ บวก ลบ คูณ หาร และ ถอดรากได แตก็ไมมีผูใดทราบวาเครื่อง pascaline ที่ถูกพัฒนาเพิ่มเติมเครื่องนี้มีความสามารถใน การคํานวนแมนยําเพียงใด Gottfried Von Leibniz - ป พ.ศ. 2336 นักคณิตศาสตรชาวอังกฤษ Charles Babbage ไดสรางจักรกลที่มีชื่อวา difference engine ที่มีฟงกชันทางตรีโกณมิติตางๆ โดยอาศัยหลักการทางคณิตศาสตร และและ ตอมาก็ไดสราง analytical engine ที่มีหลักคลายเครื่องคอมพิวเตอรทั่วไปในปจจุบัน จากผลงาน
  • 4. ดังกลาว Charles Babbage ถูกยกยองวาเปนบิดาของคอมพิวเตอรและเปนผูริเริ่มวางรากฐาน คอมพิวเตอรในปจจุบัน Charles Babbage difference engine
  • 5. analytical engine - ป พ.ศ. 2439 Herman Hollerith ไดคิดบัตรเจาะรูและเครื่องอานบัตร Herman Hollerith บตรเจาะรู ั
  • 6. - จนกระทั่งในป พ.ศ. 2480 Howard Aiken สรางเครื่องกล automatic calculating machine ขึ้น จุดประสงคของเครื่องกลชิ้นนี้ก็คือ เพื่อเชื่อมโยงเทคโนโลยีทั้งทาง electrical และ mechanical เขา  กับบัตรเจาะรูของ Hollerith และดวยความชวยเหลือของนักศึกษาปริญญาและวิศวกรรมของ IBM ทีมงานของ Howard ก็ประดิษฐ automatic calculating machine สําเร็จในป พ.ศ. 2487 โดยใชชื่อ วา MARK I โดยการทํางานภายในตัวเครื่องจะถูกควบคุมอยางอัตโนมัติดวย electromagnetic relays และ arthmetic counters ซึ่งเปน mechanical ดังนั้น MARK I จึงนับเปน electromechanical computers Howard Aiken MARK I
  • 7. - และตอมา Dr. John Vincent Atanasoff และ Clifford Berry ไดประดิษฐเครื่อง ABC (Atanasoff-Berry Computer) โดยใช หลอดสูญญากาศ (vacuum tubes) เครื่อง ABC (Atanasoff-Berry Computer) - ป พ.ศ. 2483 Dr.John W. Mauchy และ J. Presper Eckert Jr. ไดรวมกันพัฒนา electronic computer โดยอาศยหลกการออกแบบบนพนฐานของ Dr. Atanasoff electronic computer เครื่อง ั ั ้ื แรกมีชื่อวา ENIAC แมจะเปนelectronic computer แตENIACก็ยงไมสามารถเก็บโปรแกรมได  ั (stored program) จึงไดมีการพัฒนาเปนเครื่อง EDVAC ซึ่งอาศัยหลักการ stored program สมบูรณ และไดมีการพัฒนาเปนเครื่อง EDSAC และทายสุดก็ไดพัฒนาเปนเครื่อง UNIVAC(Universal Automatic Computer) ในเวลาตอมา  ENIAC
  • 9. UNIVAC ในทายที่สุด หากจะจําแนกประวัติคอมพิวเตอรตามยุคของคอมพิวเตอร( Computer generations) โดยแบงตามเทคโนโลยีของตัวเครื่องและเทคโนโลยีการเก็บขอมูล ก็สามารถจะจัดแบงตาม วิวัฒนาการได 4 ยุคดวยกัน คือ ยุคแรกเปนคอมพิวเตอรที่ใชเทคโนโลยีของหลอดสูญญากาศ และการเกบขอมลเปนแบบ ็  ู  บัตรเจาะรู ยุคที่สอง เปนคอมพิวเตอรที่ใชเทคโนโลยีของทรานซิสเตอร และการเก็บขอมูลเปนแบบเทป ลักษณะเปนกรรมวิธีตามลําดับ(Sequential Processing) ยุคที่สาม เปนคอมพิวเตอรที่ใชเทคโนโลยีของไอซี(integrated circuit, IC) และการเก็บขอมูล เปนแบบจานแมเหล็ก ลักษณะเปนการทํางานหลายโปรแกรมพรอมกัน (Multiprogramming) และ ออนไลน( on-line) ยุคที่สี่ เปนคอมพิวเตอรที่ใช เทคโนโลยีของวงจรรวมขนาดใหญ ( Large-scale integration, LSI) ของวรจรไฟฟา ผลงานจากเทคโนโลยีนี้คือ ไมโครโปรเซสเซอร (microprocessor ) กลาวไดวาเปน "Computer on a chip" ในยคน้ี ุ จะเห็นไดวาวิวัฒนาการจากอดีตถึงปจจุบัน คอมพิวเตอรไดถูกพัฒนาตอๆ กันมาอยางรวดเร็วทํา ใหวิทยาการดานคอมพิวเตอร มการพฒนาเปลยนแปลงอยตลอดเวลา อาจกลาวไดอีกวาโลกของ ี ั ่ี ู วิทยาการคอมพิวเตอรนั้นมี การเคลื่อนไหวเสมอ(dynamics) แตการรพัฒนาดังกลาวกลับไมคอย
  • 10. ยืดหยุน(rigid)มากนก เพราะหากเกดความผดพลาด ในกลไกเพียงเล็กนอย บางครั้งก็อาจเปนบอเกิด ั ิ ิ ปญหาที่ใหญโตมหาศาลได นอกจากนี้การพัฒนาคอมพิวเตอรยังนับไดวาเปนโลกที่ควบคุมไมได หรือสามารถจัดการไดนอย กลาวคือ ทันทีที่คอมพิวเตอรทํางานดวยโปรแกรม เครื่องก็ปฏิบัติงาน ไปตามโปรแกรมดวยตนเอง และขณะที่เครื่องทํางานอยูนั้นมนุษยจะไมสามารถควบคุมได ที่มา http://computer.kapook.com/history.php