SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  59
Télécharger pour lire hors ligne
ไม่พบส่วนของรูปที่มี ID ความสัมพันธ์ rId3 ในไฟล์นี้
เศรษฐศาสตร ์มหภาค
MACROECONOMICS
บทที่ 5
อรคพัฒร ์ บัวลม
ไม่พบส่วนของรูปที่มี ID ความสัมพันธ์ rId3 ในไฟล์นี้
นโยบายการเงิน
การเงิน
1.วิวัฒนาการของเงิน
2.อุปสงค์อุปทานและดุลยภาพของเงิน
ตลาด
การเงิน
1.บทบาทและความสําคัญ
ของตลาดการเงิน
2.สถาบันการเงิน
นโยบาย
การเงิน
1.ความหมายของนโยบาย
การเงิน
2.เครื่องมือนโยบายการเงิน
การประยุกต์ใช้
นโยบายการเงิน
1.นโยบายการเงินที่ส่งผล
กระทบต่อระบบเศรษฐกิจ
การเงิน
◦ 1.วิวัฒนาการของเงิน
◦ 2.อุปสงค์อุปทานและดุลยภาพของเงิน
“เงิน” ถือเป็ นสื่อกลางในการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างกัน และเป็ นที่ยอมรับใน
การชําระหนี้ได้ตามกฎหมาย
หน้าที่ของเงิน
◦ เป็ นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน
◦ เป็ นเครื่องวัดมูลค่า
◦ เป็ นมาตรฐานในการชําระหนี้ในอนาคต
◦ เป็ นเครื่องสะสมมูลค่า
ชนิดของเงิน
1. เงินเหรียญกษาปณ์ ทําจากโลหะหลายชนิดเช่น ทองคํา โลหะเงิน ดีบุก นิเกิ้ล เป็ นต้น ออก
โดยกรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง
2. เงินกระดาษ ทําจากวัสดุที่เป็ นกระดาษ ออกโดยธนาคารกลาง
3. เงินฝากในระบบบัญชีธนาคาร เงินฝากในระบบบัญชีธนาคารเป็ นการสัญญาว่าผู้มีอํานาจ
เต็มของธนาคาร
วิวัฒนาการของเงิน
◦ ปี 6000 B.C. : ระบบการแลกเปลี่ยนแบบของต่อของ (barter
system) คือ การแลกเปลี่ยนของตามที่ตกลงกัน
◦ ปี 1000 B.C. :เหรียญโลหะ (metal coins) และ หอยเบี้ย (shell
money)
◦ ปี 806 : เงินกระดาษ และ ธนบัตร (paper money)
◦ ปี 1816 : อังกฤษเป็ นประเทศแรกที่ได้รับมาตรฐานทองคําอย่างเป็ น
ทางการในปี 1816 และต่อมาสหรัฐอเมริกาได้ประกาศใช ้มาตรฐาน
ทองคํา ในปี 1900
◦ ปี 1950 :บัตรเครดิต (นาย แฟรงค์แมคนามารา ได้ร่วมมือกับ
ทนายความ นาย ราล์ฟ ชไนเดอร ์สร ้างบัตร ไดเนอร ์สคลับ เพื่อใช ้ซื้อ
สินค้าและบริการแทนการชําระเงินสด ภายหลังได้มีบริษัท American
Express และ Visa เพื่ออํานวยความสะดวกให้กับนักท่องเที่ยวที่
จะต้องเดินทางไปต่างประเทศ โดยไม่ต้องพกเงินสดจํานวนมาก)
◦ ปี 1994 : ธนาคารต่าง ๆ ในสหรัฐอเมริกา ได้เริ่มมีการศึกษาในระบบ
online banking
◦ ปี 2009 : บิทคอยน์ (Bitcoin: BTC) คือสกุลเงินดิจิทัลตัวแรกที่ถูก
สร ้างขึ้นในปี 2009 โดยผู้ที่ไม่ประสงค์ออกนามหรือกลุ่มคนที่ไม่
ประสงค์ออกนาม โดยใช ้นามแฝงว่า ซาโตชิ นากาโมโตะ
ค่าของเงิน
ค่าของเงิน หมายถึง ความสามารถหรืออํานาจซื้อ(Purchasing
Power) ของเงินแต่ละหน่วยที่จะนําออกมาเพื่อจับจ่ายใช ้สอยสําหรับการซื้อ
สินค้าและบริการ (Good and Services) ในระบบเศรษฐกิจ
“ค่าของเงินเปลี่ยนแปลงเป็ นส่วนสัมพันธ์โดยตรงกับอํานาจซื้อ”
ค่าของเงิน สามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ชนิด
1. ค่าของเงินภายใน(Internal Value)
2. ค่าของเงินภายนอก(External Value)
ปริมาณเงิน หรือ อุปทานของเงิน
(Supply of Money: Ms)
1. ปริมาณเงินในความหมายแคบ (Norrow : M1)
◦ ปริมาณเงินทั้งหมด หมายถึง ปริมาณของเหรียญกษาปณ์ ธนบัตร และเงินฝากกระแส
รายวัน ซึ่งอยู่ในมือของมหาชน(ประชาชน และองค์กรธุรกิจ) ในขณะใดขณะหนึ่ง
2. ปริมาณเงินในความหมายกว้าง (Broad Money : M2)
◦ ปริมาณเงินทั้งหมด หมายถึง ปริมาณของเหรียญกษาปณ์ ธนบัตร เงินฝากกระแสรายวัน
เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจําในระบบธนาคารพาณิชย์รวมกันทั้งหมดที่ออกมา
ใช ้หมุนเวียนอยู่ในมือประชาชนในขณะใดขณะหนึ่ง
◦ ปริมาณเงินทั้งหมด (M3) หมายถึง ปริมาณของเหรียญกษาปณ์ ธนบัตร เงินฝากกระแส
รายวัน เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจําในระบบธนาคารพาณิชย์เงินฝากประจําใน
สถาบันการเงินทุกประเภท เงินฝากที่เป็นเงินตราต่างประเทศ และตั๋วสัญญาใช ้เงินของ
บริษัทเงินทุนและบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ที่รวมกันออกใช ้ในท้องตลาดในขณะใดขณะหนึ่ง
◦ ปริมาณเงิน ( ก.พ. 2563 / หน่วย: ล้านบาท)
ปริมาณเงินความหมายกว้าง (1+2) (หน่วย: ล้านบาท)
1. ปริมาณเงินความหมายแคบ (1.1+1.2) 2,225,133
1.1 เงินสดที่ไม่อยู่ในมือสถาบันรับฝากเงินและรัฐบาล 1,608,614
1.2 เงินรับฝากกระแสรายวันที่สถาบันรับฝากเงิน 616,518
2. เงินรับฝากที่มีสภาพคล่องสูงกึ่งเงินสด (2.1+2.2) 18,703,620
2.1 เงินรับฝากประเภทอื่นที่สถาบันรับฝากเงิน 18,644,145
2.2 ตราสารหนี้ 59,475
ที่มา:ธนาคารแห่งประเทศไทย
หมายเหตุ:
1/ ธปท.ได้ revised ข้อมูลปริมาณเงินความหมายกว้างตามนิยามใหม่โดยรวมตั๋วแลกเงินที่ออกโดยธนาคารพาณิชย์ เงินรับฝากของสหกรณ์ออม
ทรัพย์ และมูลค่าสินทรัพย์สุทธิของกองทุนรวมตลาดเงิน
2/ เพิ่มข้อมูลของบริษัทเครดิตฟองซิเอร ์(บค.) ตั้งแต่เดือนมกราคม 2563 เป็ นต้นไป
https://www.bot.or.th/App/BTWS_STAT/statistics/ReportPage.aspx?reportID=7&language=th
1. ปริมาณเงินความหมายแคบ 2,225,133
1.1 เงินสดที่ไม่อยู่ในมือสถาบันรับฝากเงินและรัฐบาล 1,608,614
ธนบัตรที่หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ 1,832,884
เหรียญกษาปณ์ที่หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ 77,891
หัก: เงินสดในมือรัฐบาล 1,546
หัก: เงินสดในมือสถาบันรับฝากเงิน 300,615
ในมือธนาคารพาณิชย์ 254,352
ในมือบริษัทเงินทุน 1
ในมือธนาคารเฉพาะกิจ 45,928
ในมือสหกรณ์ออมทรัพย์ 334
ในมือกองทุนรวมตลาดเงิน (MMMFs) 0
ปริมาณเงิน ( ก.พ. 2563 / หน่วย: ล้านบาท)
การหมุนเวียนของเงิน และ การกําหนดปริมาณเงิน
การหมุนเวียนของเงิน คือ การที่เงินถูกใช ้จ่ายเปลี่ยนมือกันไปเรื่อยๆ
การหมุนเวียนของเงินมีผลกับปริมาณเงินที่ออกใช ้ คือ ทําให้เกิดการใช ้จ่าย
เกินกว่าปริมาณเงินที่ออกใช ้หลายเท่า ถ้ามีการหมุนเวียนของเงินเร็วกว่าการ
ขยายตัวของระบบเศรษฐกิจอาจทําให้เกิดเงินเฟ้ อได้
ตลาดเงินมีความสัมพันธ์กับตลาดผลผลิตในการขยายความเจริญทาง
เศรษฐกิจ ด้วยการขยายการลงทุนและการจ้างงาน ดังนั้น ธนาคารแห่ง
ประเทศไทยต้องดูแลปริมาณเงินให้มีขนาดที่เหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจใน
ขณะนั้น โดยการควบคุมอัตราการขยายตัวของปริมาณเงิน
ทฤษฎีปริมาณเงิน (The Quantity Theory of Money)
ทฤษฎีปริมาณเงินถูกสร ้างขึ้นมาเพื่ออธิบายถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
ปริมาณเงินกับระดับราคา
ทฤษฎีปริมาณเงินในรูปแบบของสมการการแลกเปลี่ยน(The
Equation of Exchange )โดย เออวิงฟิชเชอร ์ เป็ นทฤษฎีปริมาณเงินที่
ดัดแปลงมาจากทฤษฎีปริมาณเงินแบบดั้งเดิมโดยเพิ่มอัตราหมุนเวียน และ
ปริมาณของสินค้าในช่วงระยะเวลาหนึ่งๆ
“ยอดรายจ่ายของผู้ซื้อจะเท่ากับยอดรายรับของผู้ขายเสมอ”
MV = PT หรือ P = MV/T
โดยมี
M = ปริมาณเงินหมุนเวียน
V = อัตราความเร็วในการหมุนเวียนของเงิน (คงที่)
(จํานวนครั้งที่เงินแต่ละหน่วยโดยเฉลี่ยแล้วถูกนําไปใช ้ในรายการ
แลกเปลี่ยนทุกชนิดในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง )
P = ระดับราคาสินค้า
T = ปริมาณของสินค้าซึ่งขายกันในช่วงระยะเวลาหนึ่งๆ(คงที่)
การกําหนดอัตราเพิ่มขึ้นของปริมาณเงิน
การควบคุมอัตราการขยายตัวของปริมาณเงินเป็ นแนวทางนโยบายการเงินใน
การควบคุมภาวะเศรษฐกิจ
อัตราการเพิ่มปริมาณเงิน = การเติบโตของ GNP + อัตราการเพิ่มขึ้นของ
ดัชนีราคา + อัตราการขยายตัวของการใช ้
เงินตราในระบบเศรษฐกิจ
ความต้องการถือเงิน หรือ อุปสงค์ของเงิน
(Demand for Money :Md)
จํานวนของความมั่งคั่งที่ทุกๆคนในระบบเศรษฐกิจต้องการถือครอง
เอาไว้ในรูปของ “เงิน” เรียกว่า อุปสงค์ของเงิน
บุคคลจะจัดสรรการถือสินทรัพย์ของตนออกเป็ น 2 ส่วนคือ
(1) การถือเงิน (Money) ซึ่งไม่ได้รับผลตอบแทน แต่ไม่ขาดทุนจากราคา
ลดลง (ยกเว้น กรณีเกิดเงินเฟ้ อ)
(2) พันธบัตร (Bond) ซึ่งเป็ นสินทรัพย์อื่นที่ให้ผลตอบแทน แต่อาจขาดทุน
จากราคาสินทรัพย์นั้นลดลง
ความต้องการถือเงิน
ความต้องการถือเงิน/แรงจูงใจการถือเงิน แบ่งออกเป็ น 3 ประเภทคือ
(1) ความต้องการถือเงินเพื่อจับจ่ายใช้สอย (Transaction Demand for Money)
(2) ความต้องการถือเงินเพื่อใช้จ่ายในยามฉุกเฉิน (Precautionary Demand for Money)
(3) ความต้องการถือเงินเพื่อการเก็งกําไร (Speculative Demand for Money)
ความต้องการถือเงิน รายได้ Y อัตราดอกเบี้ย r
เพื่อใช ้จ่ายในชีวิตประจําวัน L1 Y เพิ่ม L1 เพิ่ม rเพิ่ม L1 ลด
เพื่อใช ้จ่ายยามฉุกเฉิน L2 Y เพิ่ม L2 เพิ่ม rเพิ่ม L2 ลด
เพื่อเก็งกําไร Ls Y เพิ่ม Ls เพิ่ม rเพิ่ม Ls ลด
รูปแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยและปริมาณเงิน
อัตราดอกเบี้ย
ปริมาณเงิน
r
r1
M M1
รายได้
ปริมาณเงิน
Y1
M M1
Y
เส้นความต้องการถือเงิน
รายได้มีอิทธิพลต่อความต้องการถือเงิน
เพื่อใช้จ่ายในชีวิตประจําวัน และใช้จ่าย
ยามฉุกเฉิน ในทางเดียวกัน
อัตราดอกเบี้ยมีอิทธิพลต่อความต้องการ
ถือเงินเพื่อใช้จ่ายในชีวิตประจําวัน และ
ใช้จ่ายยามฉุกเฉิน ในทางตรงข้าม
อัตราดอกเบี้ยสูงความต้องการถือเงิน
ลดลง เพื่อถือหลักทรัพย์มากขึ้น
อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพ
เคนส์ กล่าวว่าอัตราดอกเบี้ยดุลภาพถูก
กําหนดโดยอุปสงค์อุปทานของเงิน นั่นหมายความว่า
◦ อัตราดอกเบี้ย ขึ้นอยู่กับความต้องการถือเงิน
◦ ปริมาณเงินขึ้นอยู่กับนโยบายการเงิน ไม่ขึ้นอยู่กับ
อัตราดอกเบี้ย จึงเป็ นเส้นตรงตั้งฉากขนานกับอัตรา
ดอกเบี้ย
อัตราดอกเบี้ย
ปริมาณเงิน
r2
r1
M2 M1
M
M
r
อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพ
เส้นความต้องการถือเงิน
เส้นปริมาณเงิน
ภาวะเงินเฟ้ อ (Inflation)
ภาวะเงินเฟ้อ หมายถึง การที่ระดับของราคาสินค้าและบริการโดยทั่วไป (General Price Level )
เพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว (High Price ) และต่อเนื่อง
ระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปเปลี่ยนแปลงอย่างไรวัดได้โดยดัชนีราคา ซึ่งดัชนีราคามี 3 ประเภท คือ
◦ ดัชนีราคาขายส่ง
◦ ดัชนีราคาผู้ผลิต
◦ ดัชนีราคาผู้บริโภค (ดัชนีราคาขายปลีก)
นักเศรษฐศาสตร ์มักใช ้ดัชนีราคาผู้บริโภคเป็ นตัววัดภาวะเงินเฟ้ อ เพราะดัชนีราคาผู้บริโภคสะท้อน
ให้เห็นอํานาจซื้อ
อัตราเงินเฟ้อปีที่ต้องการทราบ=
𝐶𝐶𝐶𝐶𝐶𝐶 ปีที่ต้องการ −𝐶𝐶𝐶𝐶𝐶𝐶 ปีก่อน ×100
𝐶𝐶𝐶𝐶𝐶𝐶 ปีก่อน
ลักษณะเงินเฟ้ อ
◦ เงินเฟ้ ออย่างอ่อน ระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปสูงขึ้นไม่มากนัก ประมาณ 1-5 % ต่อปี
เงินเฟ้ อระดับนี้เป็นผลดีต่อระบบเศรษฐกิจ ผู้ประกอบการมีความมั่นใจเพราะระบบ
เศรษฐกิจมีกําลังซื้อ การบริโภคขยายตัว
◦ เงินเฟ้ อปานกลาง ระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปขึ้นสูงประมาณ 6-20 %ต่อปี ทําให้
เกิดความเดือดร ้อนแก่ประชาชน ถ้ารัฐบาลไม่ใช ้มาตราการทางด้านการเงินการคลัง
แก้ไขปัญหาอาจทําให้ประชาชนขาดความเชื่อมั่นต่อภาวะเศรษฐกิจในอนาคต
◦ เงินเฟ้ อรุนแรง ระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปขึ้นสูงเกิน 20 %ต่อปี การสูงขึ้นของระดับ
ราคาสินค้าจะรวดเร็วมาก เป็นผลเสียต่อระบบเศรษฐกิจ เงินจะไม่สามารถทําหน้าที่
ของเงินทั้งสี่ประการอีกต่อไป
สาเหตุการเกิดเงินเฟ้ อ
1. ภาวะเงินเฟ
้ อที่เกิดจากแรงดึงของอุปสงค์(Demand Pull Inflation )
หมายถึง ภาวะเงินเฟ้อที่เกิดขึ้น เนื่องมาจากความต้องการซื้อรวม มีปริมาณ
มากกว่าจํานวนสินค้าและบริการที่เสนอขายรวม
◦ อุปสงค์มวลรวมเพิ่มขึ้น
◦ ปริมาณเงินเพิ่มขึ้น จากการพิมพ์ธนบัตร แลพเหรียญเพิ่มขึ้น
AD > AS(สินค้าขาดแคลน)  P สูงขึ้นเรื่อยๆ (เงินเฟ้อ)
สาเหตุการเกิดเงินเฟ้ อ
2. ภาวะเงินเฟ
้ อที่เกิดจากแรงผลักดันของอุปทาน (Cost Push Infation )
หมายถึง ถาวะเงินเฟ้อที่ส่งผลกระทบทําให้ระดับของราคาสินค้าและบริการโดยทั่วไป
เพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วจากต้นทุนการผลิตเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งมีสาเหตุจาก
◦ ค่าจ้างเพิ่ม
◦ ต้องการกําไรเพิ่ม
AD คงที่ ต้นทุน สูงขึ้น  AS ลดลง(สินค้าขาดแคลน)  P สูงขึ้นเรื่อยๆ (เงินเฟ้อ)
สาเหตุการเกิดเงินเฟ้ อ
3. ภาวะเงินเฟ
้ อจากสาเหตุอื่น
◦ โครงสร ้างอุปสงค์เปลี่ยนแปลง
◦ การค้าระหว่างประเทศ
• การนําเข้าสินค้าที่มีผลต่อต้นทุนการผลิต เช่น นํ้ามัน
• การส่งออกสินค้าที่มีผลทําให้สินค้าในประเทศขาดแคลน เช่น นํ้าตาลทราย
ผลของการเกิดภาวะเงินเฟ้ อ
• รัฐมีรายได้สูงขึ้น จากการเก็บภาษีได้มากขึ้น
ด้านการคลัง
• มีผลต่อระดับการผลิตและการลงทุน
• การกระจายรายได้
• อํานาจซื้อของผู้บริโภคลดลง
ด้านเศรษฐกิจและสังคม
• ส่งผลให้เกิดการขาดดุลการค้าและดุลการชําระเงินของประเทศ
ด้านการค้าระหว่างประเทศ
ภาวะเงินฝืด
ภาวะเงินฝืด หมายถึง การที่ระดับราคาสินค้าและบริการโดยทั่วไปในระบบเศรษฐกิจ
(General Price Level ) ลดลงอย่างรวดเร็ว (Height Price ) สําหรับการลดลงของ
ระดับราคาสินค้าและบริการโดยทั่วไปต้องมิใช่เป็ นการลดลงเพียงระยะสั้นๆ แล้วหมดไป แต่
จะต้องเป็ นสถานการณ์ที่ระดับของราคาสินค้าและบริการโดยทั่วไปลดลงไปเรื่อยๆ อย่าง
ต่อเนื่อง
หน่วยงานที่แก้ไขปัญหาเงินเฟ้ อ
ธนาคารแห่งประเทศไทย กระทรวงการคลัง กระทรวงพาณิชย์คือ หน่วยงาน
ที่แก้ไขปัญหาเงินเฟ้ อผ่านนโยบายต่างๆ ดังนี้
◦ นโยบายการเงิน
◦ นโยบายการคลัง
◦ นโยบายทางกฎหมาย
ตลาดการเงิน
◦ 1.บทบาทและความสําคัญของตลาดการเงิน
◦ 2.สถาบันการเงิน
ตลาดการเงิน
ตลาดการเงิน (Financial Market) หมายถึง ตลาดที่ทําหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างผู้
มีเงินออมกับผู้ที่ต้องการเงิน เป็ นการเปลี่ยนเงินออมไปเป็ นการลงทุน ทั้งในระบบของการให้
สินเชื่อและการพัฒนาหลักทรัพย์หลัก นอกจากนี้ยังทําหน้าที่ในการซื้อขายหรือ
แลกเปลี่ยนเงินตราด้วย
ประเภทตลาดการเงิน
1. ตลาดเงิน
• ตลาดเงินในระบบ
• ตลาดเงินนอกระบบ
2. ตลาดทุน
• ตลาดสินเชื่อทั่วไป
• ตลาดหลักทรัพย์
• ตลาดแรก
• ตลาดรอง
บทบาทและความสําคัญของตลาดการเงิน
◦ ช่วยระดมทุน
◦ ช่วยจัดสรรทุนอย่างมีประสิทธิภาพ
◦ ช่วยรักษาความเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจ
◦ ช่วยให้ตลาดการเงินพัฒนา
สถาบันการเงิน
1. ธนาคาร
1.1 ธนาคารกลาง เป็นสถาบันทางการเงินของรัฐซึ่งมีอํานาจหน้าที่ควบคุมปริมาณเงินและเครดิต
ของประเทศ ให้อยู่ในปริมาณที่เหมาะสมภายใต้นโยบายของรัฐบาล
1.2 ธนาคารพาณิชย์ เป็นธนาคารที่ประกอบธุรกิจประเภทรับฝากเงินที่ต้องจ่ายเงินคืนเมื่อต้องทวง
ถาม หรือเมื่อสิ้นระยะเวลาที่กําหนดไว้ รวมทั้งให้กู้ยืมหรือสินเชื่อแก่ประชาชน ให้บริการซื้อขายตั๋วแลก
เงิน หรือซื้อขายเงินตราต่างประเทศ
1.3 ธนาคารที่มีวัตถุประสงค์เป็นพิเศษ ได้แก่
1) ธนาคารออมสิน เป็นธนาคารของรัฐบาล มีหน้าที่รับฝากเงินจากประชาชนทั่วไป ปล่อยเงินกู้
ให้ผู้มีรายได้น้อยในวงเงินตํ่า คนทั่วไปจึงเรียกว่า ธนาคารคนจน
2) ธนาคารอาคารสงเคราะห์ เป็นธนาคารของรัฐบาล มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความอนุเคราะห์แก่
ประชาชนเกี่ยวกับการกู้ยืม เพื่อนําไปซื้อที่ดินหรืออาคารสิ่งปลูกสร ้าง หรือซ่อมแซมต่อเติม ไถ่ถอนการ
จํานองที่ดินและอาคาร หรือเพื่อการลงทุนในกิจการการเคหะ พร ้อมกับรับฝากเงินของประชาชนทั่วไปด้วย
3) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) สังกัดกระทรวงการคลัง ตั้งขึ้นเพื่อ
ช่วยเหลือด้านการเงินแก่
สถาบันการเงิน
2. สถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคาร
2.1 บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์จํากัด มีวัตถุประสงค์คล้ายกับธนาคารพาณิชย์มากที่สุด คือ ระดมเงินออมโดย
ออกตราสารเครดิตหรือตั๋วแลกเงินเพื่อเป็ นหลักฐานในการกู้เงินจากประชาชน
2.2 บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความช่วยเหลือด้านการเงินแก่กิจการ
อุตสาหกรรมเอกชน
2.3 บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมขนาดย่อม มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความช่วยเหลือด้านการเงินแก่อุตสาหกรรม
ขนาดย่อมและอุตสาหกรรมครัวเรือน
2.4 บริษัทเครดิตฟองซิเอร ์ มีวัตถุประสงค์ในการกู้ยืมเงินเพื่อการซื้อที่ดิน สร ้างบ้านหรือผ่อนส่ง
2.5 บริษัทประกันภัยและบริษัทประกันชีวิต
2.6 สหกรณ์ออมทรัพย์ จัดทําขึ้นเพื่อออมทรัพย์และจัดทําหน่วยธุรกิจของกลุ่มตนเอง หรือชุมชน
2.7 โรงรับจํานํา เป็ นสถาบันการเงินขนาดย่อม มี 3 ประเภท คือ โรงรับจํานําเอกชน โรงรับจํานําของกรม
ประชาสงคราะห์ โรงรับจํานําของเทศบาล ซึ่งได้ให้บริการกู้ยืมเงินแก่บุคคลทั่วไป โดยรับจํานําสิ่งของเครื่องใช ้ต่าง ๆ
ธนาคารพาณิชย์
ประกอบธุรกิจประเภทรับฝากเงินที่ต้องจ่ายเงินคืนเมื่อต้องทวงถาม หรือเมื่อสิ้น
ระยะเวลาที่กําหนดไว้ รวมทั้งให้กู้ยืมหรือสินเชื่อแก่ประชาชน ให้บริการซื้อขายตั๋วแลก
เงิน หรือซื้อขายเงินตราต่างประเทศ
บริการของธนาคารพาณิชย์
1. การรับฝากเงินทั้งระยะสั้นและระยะยาว
2. การให้สินเชื่อ
◦ การให้กู้ยืมแก่ผู้ประกอบธุรกิจ
◦ การให้กู้ยืมแก่ผู้บริโภค
3. การเบิกเงินบัญชี
4. การรับซื้อลดเช็ค หรือตั๋วเงิน หรือตราสารเปลี่ยนมืออื่นๆ
5. การคํ้าประกัน เช่น การรับอาวัลตั๋วเงิน ,การรับรองตั๋วเงิน ,การออกเล็ตเตอร ์ออฟเครดิต
6. การโอนเงินและการเรียกเก็บเงิน
7. การซื้อขายเงินปริวรรตต่างประเทศ
8. บริการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจธนาคารพาณิชย์เช่น การออกเช็คของขวัญ การบริการให้เช่าตู้นิรภัย
เป็นต้น การจ่ายค่าสาธารณูปโภค
หน้าที่และบทบาทของธนาคารพาณิชย์ต่อปริมาณเงิน
หน้าที่และความรับผิดชอบของธนาคารพาณิชย์ คือ การสร ้างและการทําลายเงิน
ฝาก การควบคุมปริมาณเงินหมุนเวียนที่อยู่ในระบบเศรษฐกิจและการรักษาค่าของเงิน
โดยที่ ธนาคารพาณิชย์จะทําหน้าที่เกี่ยวกับการสร ้างและการทําลายเงินฝาก ส่วนธนาคาร
กลางก็จะทําหน้าที่เกี่ยวกับการควบคุมปริมาณเงินและการรักษาค่าของเงิน
การสร ้างเงินฝากของธนาคารพาณิชย์
ธนาคารตั้งขึ้นเพื่อประกอบธุรกิจโดยหวังกําไร จากความแตกต่างกันระหว่าง
ดอกเบี้ยเงินกู้และดอกเบี้ยเงินฝาก รวมถึงค่าบริการต่างๆ
ธนาคารต้องมีการเก็บสํารองเงินเผื่อไว้สําหรับกรณีที่ลูกค้ามาถอนเงินหรือสั่งให้
ธนาคารจ่ายเงินตามเช็ค ตามที่ธนาคารกลางกําหนด เรียกว่า เงินสดสํารองตามกฎหมาย
เงินฝาก 100 บาท
ธ.เก็บสํารองไว้ 10 บาท
นําไปปล่อยกู้ได้90 บาท
สมมุติให้อัตราเงินสดสํารอง
ตามกฎหมาย (R) อยู่ที่ 10 %
การสร ้างเงินฝากของธนาคารพาณิชย์
ธนาคาร เงินฝากที่เพิ่มขึ้น เงินสดสํารองตาม
กฎหมาย
เงินให้กู้
A 1*100 100 10 90
B 0.9*100 90 9 81
C (0.9)^2*100 81 8.1 72.9
D (0.9)^3*100 72.9 7.29 65.61
…
รวม 1,000 100 900
ปริมาณการสร ้างเงินฝากของธนาคาร (D)
เงินฝากขั้นปฐม (P)
อัตราเงินสดสํารองตามกฎหมาย (R)
ตัวทวีการสร ้างเงินฝาก (K)
D =
𝑃𝑃
𝑅𝑅
, D = PK
K =
100
10
= 10
D =
100
10%
= 1,000
เงินฝากเพิ่มขึ้น 10 เท่าของเงินฝากขั้นแรก
การทําลายเงินฝาก
◦ เมื่อมีการถอนเงิน นาย ก ถอนเงิน 100 บาท
ถ้า R = 10%
ปริมาณเงินจะลดลงทั้งหมด 1,000 บาท
การทําลายเงินฝาก =
จํานวนเงินถอน
อัตราเงินสดสํารองตามกฎหมาย
ธนาคารกลาง หรือ ธนาคารแห่งประเทศไทย
◦ เป็ นนายธนาคารของรัฐบาล
◦ เป็ นนายธนาคารของธนาคารพาณิชย์
◦ ออกธนบัตร
◦ รักษาเงินทุนสํารองระหว่างประเทศ
◦ ควบคุมปริมาณเงินสดและเครดิต
◦ ควบคุมธนาคารพาณิชย์
◦ เป็ นแหล่งให้กู้แหล่งสุดท้าย
◦ เป็ นตัวแทนในการร่วมมือกับองค์กรระหว่างประเทศ
นโยบาย
การเงิน
◦ 1.ความหมายของนโยบายการเงิน
◦ 2.เครื่องมือนโยบายการเงิน
นโยบายการเงิน
นโยบายที่ธนาคารกลางใช้เป็นเครื่องมือควบคุม
ปริมาณเงิน อัตราแลกเปลี่ยน และอัตราดอกเบี้ย
ธนาคารกลางจะประกาศนโยบายทางการเงิน
ออกมา เพื่อไม่ให้เกิดเหตุการณ์เงินฝืดหรือเงินเฟ้อมาก
เกินไป โดยนโยบายการเงินหลักๆแบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ
◦ นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย ทําให้ปริมาณเงินมี
ขนาดใหญ่ขึ้น
◦ นโยบายการเงินแบบเข้มงวด ทําให้ปริมาณเงินเล็กลง
ปริมาณเงินมาก
ใช ้จ่ายมาก
GDP มาก
ลูกโป่งตึงมาก
ลดปริมาณเงิน
นโยบายการเงิน
แบบเข้มงวด
ปริมาณเงินน้อย
ใช ้จ่ายน้อย
GDP น้อย
ลูกโป่งแฟบ
เพิ่มปริมาณเงิน
นโยบายการเงิน
แบบผ่อนคลาย
เครื่องมือนโยบายการเงิน
1. การควบคุมทางปริมาณหรือโดยทั่วไป (Quantitative or general control)
2. การควบคุมทางคุณภาพหรือการควบคุมเฉพาะอย่าง (Quanlitative or selective
control)
3. การชักชวนให้ปฏิบัติตาม (Moral Suasion)
1. การควบคุมทางปริมาณหรือโดยทั่วไป (Quantitative or general control)
1) การซื้อขายหลักทรัพย์โดยเปิดเผย (Open-market operations)
2) การเปลี่ยนแปลงอัตราเงินสํารองตามกฎหมาย (Changing reserve requirement)
3) การเปลี่ยนแปลงอัตรารับช่วงซื้อลด (Changing the rediscount rate)
4) การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน (Changing the bank rate)
1)Open-market operations ธนาคารกลางต้องการเพิ่มปริมาณเงิน
ธ.กลางรับซื้อหลักทรัพย์
ชําระค่าซื้อหลักทรัพย์ด้วยเช็ค
ผู้ขายนําเงินไปฝากธนาคารพาณิชย์
การสร้างเงินฝาก
ปริมาณเงินในระบบเพิ่มขึ้น ตามค่าตัวทวี
2) Changing reserve requirement
เดิม R = 20%
ใหม่ R = 10%
สํารองส่วนเกิน
เพิ่มขึ้น
ธนาคารพาณิชย์
ให้กู้ยืมเพิ่มขึ้น
ปริมาณเงิน
ในระบบเพิ่มขึ้น
R = 25%
สํารองส่วนเกิน
ลดลง
ธนาคารพาณิชย์
ให้กู้ยืมลดลง
ปริมาณเงิน
ในระบบลดลง
2)Changing reserve requirement (ต่อ)
เดิม R = 20% และ P = 100 บาท
ใหม่
R = 10% R = 25%
D = 1
R
x P = 1
0.2
x 100 = 500
D = 1
0.1
x 100
= 1,000 (D เพิ่มขึ้น)
D = 1
0.25
x 100
= 400 (D ลดลง)
3) Changing the
rediscount rate นาย ก. มีตั๋วเงินมูลค่า 100 บาท
นาย ก. ได้เงิน 90 บาท
ธ.พาณิชย์คิด
อัตราส่วนลด
(Discount Rate)
10%
ธ.พาณิชย์ขายตั๋วเงินให้ธ.กลาง
นาย ก. ขายตั๋วเงินให้ธ.พาณิชย์
ธ.กลางคิด
อัตรารับช่วงซื้อลด
(Rediscount Rate)
5%
ธ.พาณิชย์ได้เงิน 95 บาท
ธ.พาณิชย์นําเงินไปปล่อยกู้ได้
3) Changing the rediscount rate (ต่อ)
Discount Rate Rediscount Rate
>
ส่วนต่าง คือ กําไรของธนาคารพาณิชย์
3) Changing the rediscount rate (ต่อ)
เดิม Rediscount Rate = 5% , Discount Rate = 10%
ใหม่ Rediscount Rate = 8% (เพิ่มขึ้น)
ธ.พาณิชย์ลดการขาย
ตั๋วเงินให้ ธ.กลาง
ปริมาณเงินให้กู้ลดลง
D ลดลง
ธ.พาณิชย์เพิ่ม
Discount Rate
ลูกค้านําตั๋วเงินมาขายลดลง
D ลดลง
4) Changing the bank rate
อัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน (bank rate)
• อัตราดอกเบี้ยที่ธนาคารกลางคิดจาก
ธนาคารพาณิชย์
4) Changing the bank rate (ต่อ)
ธ.กลางลดอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน
ธ.พาณิชย์กู้ได้มากขึ้น
ธ.พาณิชย์ปล่อยกู้หรือให้สินเชื่อมากขึ้น
D เพิ่มขึ้น
• ขึ้นอยู่กับการตอบสนองของธนาคารพาณิชย์
2. การควบคุมทางคุณภาพหรือควบคุมเฉพาะอย่าง
1) การควบคุมเครดิตเพื่อการบริโภค
2) การควบคุมเครดิตเพื่อการเก็งกําไรในการซื้อขายหลักทรัพย์
1)การควบคุมเครดิตเพื่อการบริโภค
การชําระค่าสินค้า
เงินดาวน์ เงินผ่อนรายงวด
ส่งเสริมการใช้จ่าย
เพื่อการบริโภค
1) การควบคุมเครดิตเพื่อการบริโภค (ต่อ)
• ลดปริมาณเงิน
เพิ่มเงินดาวน์ ลดจํานวนงวดในการผ่อน
(ใช้เงินมากขึ้นในการแต่ละงวด)
+
ซื้อสินค้าลดลง
การกู้ยืมลดลง
D ลดลง
2) การควบคุมเครดิตเพื่อการเก็งกําไรในการซื้อขายหลักทรัพย์
• Margin
Margin = 40%
ชําระเงินสด 40% ของราคาหลักทรัพย์
ที่เหลือ 60% กู้จากบริษัทนายหน้า
โดยเอาหลักทรัพย์นั้นคํ้าประกัน
2) การควบคุมเครดิตเพื่อการเก็งกําไรในการซื้อขายหลักทรัพย์(ต่อ)
• ลดปริมาณเงิน
ธ.กลางกําหนดให้ตลาดหลักทรัพย์เพิ่ม Margin
ซื้อหุ้นลดลง
กู้เงินลดลง
D ลดลง
3. การชักชวนธนาคารพาณิชย์ให้ปฏิบัติตาม
เศรษฐกิจขยายตัวมาก เศรษฐกิจตกตํ่ามาก
นโยบายการเงิน
: ลดปริมาณเงิน
: แบบเข้มงวด
นโยบายการเงิน
: เพิ่มปริมาณเงิน
: แบบผ่อนคลาย
เชิงปริมาณ เชิงปริมาณ
1. ธ.กลางขายหลักทรัพย์ 1. ธ.กลางรับซื้อหลักทรัพย์
2. เพิ่มอัตราเงินสดสํารอง
ตามกฏหมาย
2. ลดอัตราเงินสดสํารอง
ตามกฏหมาย
3. เพิ่มอัตรารับช่วงซื้อลด 3. ลดอัตรารับช่วงซื้อลด
4. เพิ่มอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน 4. ลดอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน
เชิงคุณภาพ เชิงคุณภาพ
1. เพิ่มเงินดาวน์ + ลดปีผ่อน 1. ลดเงินดาวน์ + เพิ่มปีผ่อน
2. เพิ่ม Margin 2. ลด Margin
การประยุกต์ใช้
นโยบายการเงิน
◦ 1.นโยบายการเงินที่ส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ
งานกลุ่ม
◦ แบ่งเป็ น 4 กลุ่ม (ห้องละ 2 กลุ่ม)
◦ ค้นหาข้อมูลการใช ้นโยบายการเงินที่ผ่านมาของรัฐบาลไทย มา 1 เหตุการณ์
◦ นําเสนอ หัวข้อ “นโยบายการเงินที่ส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ” โดย
ตัวแทนกลุ่ม หน้าชั้นเรียน พร ้อมตอบข้อสักถามของอาจารย์และเพื่อนๆ ใน
คาบต่อไป

Contenu connexe

Tendances

Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังOrnkapat Bualom
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานOrnkapat Bualom
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตOrnkapat Bualom
 
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคPattapong Promchai
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นPattapong Promchai
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานPattapong Promchai
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3Sukanda Panpetch
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศOrnkapat Bualom
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยPaew Tongpanya
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)Areewan Plienduang
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3suchinmam
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4Tatthep Deesukon
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตOrnkapat Bualom
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นY'Yuyee Raksaya
 

Tendances (20)

Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลังMacro Economics c6 นโยบายการคลัง
Macro Economics c6 นโยบายการคลัง
 
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทานบทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
บทที่ 3 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์อุปทาน
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่น
 
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทานChapter2 อุปสงค์อุปทาน
Chapter2 อุปสงค์อุปทาน
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3
 
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศMacro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
Macro Economics c7 การค้าและการเงินระหว่างประเทศ
 
Physics atom
Physics atomPhysics atom
Physics atom
 
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
Macro Economics C1 ความรู้เบื้องต้นเศรษฐศาสตร์
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
 
สงครามโลก
สงครามโลกสงครามโลก
สงครามโลก
 
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ (Elasticity of demand)
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3แบบฝึกทักษะ ม.3
แบบฝึกทักษะ ม.3
 
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม4
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
 

Similaire à Macro Economics c5 นโยบายการเงิน

Monetary Economics-Quantity Theory of Money
Monetary Economics-Quantity Theory of MoneyMonetary Economics-Quantity Theory of Money
Monetary Economics-Quantity Theory of MoneySaradha Shyam
 
Money stock determinants high powered money and money multiplier
Money stock determinants   high powered money and money multiplierMoney stock determinants   high powered money and money multiplier
Money stock determinants high powered money and money multiplierAlexander Decker
 
The concept of the quantity theory of money
The concept of the quantity theory of moneyThe concept of the quantity theory of money
The concept of the quantity theory of moneyMBSAEED
 
peranan uang dalam perekonomian (1).pptx
peranan uang dalam perekonomian (1).pptxperanan uang dalam perekonomian (1).pptx
peranan uang dalam perekonomian (1).pptxyola145905
 
Quantity theory of money - Cash Transaction Approach
Quantity theory of money - Cash Transaction ApproachQuantity theory of money - Cash Transaction Approach
Quantity theory of money - Cash Transaction ApproachJayashreechandran2
 
MB Week7 by Aamir waheed.ppt money a& Banking
MB Week7 by Aamir waheed.ppt money a& BankingMB Week7 by Aamir waheed.ppt money a& Banking
MB Week7 by Aamir waheed.ppt money a& Bankingfaiqaishtiaq
 
Modeling and forecasting the Indian Re/US dollar exchange rate using Vector A...
Modeling and forecasting the Indian Re/US dollar exchange rate using Vector A...Modeling and forecasting the Indian Re/US dollar exchange rate using Vector A...
Modeling and forecasting the Indian Re/US dollar exchange rate using Vector A...Saurabh Trivedi
 
Inflation SFLS types
Inflation SFLS typesInflation SFLS types
Inflation SFLS typesianhorner3
 
Money & banking unit ii
Money & banking unit iiMoney & banking unit ii
Money & banking unit iiDhina Karan
 
Money & banking unit ii
Money & banking unit iiMoney & banking unit ii
Money & banking unit iiDhina Karan
 
Money Supply and Its Determinants (1).docx
Money Supply and Its Determinants (1).docxMoney Supply and Its Determinants (1).docx
Money Supply and Its Determinants (1).docxMurshedul Arafin
 
Cambridge Theory of Money also known as the Cambridge Cash Balance Approach
Cambridge Theory of Money also known as the Cambridge Cash Balance ApproachCambridge Theory of Money also known as the Cambridge Cash Balance Approach
Cambridge Theory of Money also known as the Cambridge Cash Balance Approachalkarathi1
 
Impact of injection and withdrawal of money stock on economic growth in nigeria
Impact of injection and withdrawal of money stock on economic growth in nigeriaImpact of injection and withdrawal of money stock on economic growth in nigeria
Impact of injection and withdrawal of money stock on economic growth in nigeriaAlexander Decker
 
MACROECONOMICS-CH4
MACROECONOMICS-CH4MACROECONOMICS-CH4
MACROECONOMICS-CH4kkjjkevin03
 

Similaire à Macro Economics c5 นโยบายการเงิน (20)

Monetary Economics-Quantity Theory of Money
Monetary Economics-Quantity Theory of MoneyMonetary Economics-Quantity Theory of Money
Monetary Economics-Quantity Theory of Money
 
Quantity theory of money
Quantity theory of moneyQuantity theory of money
Quantity theory of money
 
Money stock determinants high powered money and money multiplier
Money stock determinants   high powered money and money multiplierMoney stock determinants   high powered money and money multiplier
Money stock determinants high powered money and money multiplier
 
The concept of the quantity theory of money
The concept of the quantity theory of moneyThe concept of the quantity theory of money
The concept of the quantity theory of money
 
peranan uang dalam perekonomian (1).pptx
peranan uang dalam perekonomian (1).pptxperanan uang dalam perekonomian (1).pptx
peranan uang dalam perekonomian (1).pptx
 
Quantity theory of money - Cash Transaction Approach
Quantity theory of money - Cash Transaction ApproachQuantity theory of money - Cash Transaction Approach
Quantity theory of money - Cash Transaction Approach
 
MB Week7 by Aamir waheed.ppt money a& Banking
MB Week7 by Aamir waheed.ppt money a& BankingMB Week7 by Aamir waheed.ppt money a& Banking
MB Week7 by Aamir waheed.ppt money a& Banking
 
First Version
First VersionFirst Version
First Version
 
Moneyprepwalk
MoneyprepwalkMoneyprepwalk
Moneyprepwalk
 
Money
MoneyMoney
Money
 
Modeling and forecasting the Indian Re/US dollar exchange rate using Vector A...
Modeling and forecasting the Indian Re/US dollar exchange rate using Vector A...Modeling and forecasting the Indian Re/US dollar exchange rate using Vector A...
Modeling and forecasting the Indian Re/US dollar exchange rate using Vector A...
 
Froyen10
Froyen10Froyen10
Froyen10
 
Inflation SFLS types
Inflation SFLS typesInflation SFLS types
Inflation SFLS types
 
Money & banking unit ii
Money & banking unit iiMoney & banking unit ii
Money & banking unit ii
 
Money & banking unit ii
Money & banking unit iiMoney & banking unit ii
Money & banking unit ii
 
Money & Monetary Policy
Money & Monetary PolicyMoney & Monetary Policy
Money & Monetary Policy
 
Money Supply and Its Determinants (1).docx
Money Supply and Its Determinants (1).docxMoney Supply and Its Determinants (1).docx
Money Supply and Its Determinants (1).docx
 
Cambridge Theory of Money also known as the Cambridge Cash Balance Approach
Cambridge Theory of Money also known as the Cambridge Cash Balance ApproachCambridge Theory of Money also known as the Cambridge Cash Balance Approach
Cambridge Theory of Money also known as the Cambridge Cash Balance Approach
 
Impact of injection and withdrawal of money stock on economic growth in nigeria
Impact of injection and withdrawal of money stock on economic growth in nigeriaImpact of injection and withdrawal of money stock on economic growth in nigeria
Impact of injection and withdrawal of money stock on economic growth in nigeria
 
MACROECONOMICS-CH4
MACROECONOMICS-CH4MACROECONOMICS-CH4
MACROECONOMICS-CH4
 

Plus de Ornkapat Bualom

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน Ornkapat Bualom
 
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจMacro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจOrnkapat Bualom
 
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติMacro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติOrnkapat Bualom
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลOrnkapat Bualom
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดOrnkapat Bualom
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติOrnkapat Bualom
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 

Plus de Ornkapat Bualom (7)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
 
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจMacro  Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
Macro Economics c8 การจ้างงานและวัฏจักรเศรษฐกิจ
 
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติMacro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
Macro Economics c3 องค์ประกอบรายได้ประชาชาติ
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
 
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 

Dernier

The basics of sentences session 3pptx.pptx
The basics of sentences session 3pptx.pptxThe basics of sentences session 3pptx.pptx
The basics of sentences session 3pptx.pptxheathfieldcps1
 
How to setup Pycharm environment for Odoo 17.pptx
How to setup Pycharm environment for Odoo 17.pptxHow to setup Pycharm environment for Odoo 17.pptx
How to setup Pycharm environment for Odoo 17.pptxCeline George
 
Philosophy of china and it's charactistics
Philosophy of china and it's charactisticsPhilosophy of china and it's charactistics
Philosophy of china and it's charactisticshameyhk98
 
NO1 Top Black Magic Specialist In Lahore Black magic In Pakistan Kala Ilam Ex...
NO1 Top Black Magic Specialist In Lahore Black magic In Pakistan Kala Ilam Ex...NO1 Top Black Magic Specialist In Lahore Black magic In Pakistan Kala Ilam Ex...
NO1 Top Black Magic Specialist In Lahore Black magic In Pakistan Kala Ilam Ex...Amil baba
 
Basic Civil Engineering first year Notes- Chapter 4 Building.pptx
Basic Civil Engineering first year Notes- Chapter 4 Building.pptxBasic Civil Engineering first year Notes- Chapter 4 Building.pptx
Basic Civil Engineering first year Notes- Chapter 4 Building.pptxDenish Jangid
 
UGC NET Paper 1 Mathematical Reasoning & Aptitude.pdf
UGC NET Paper 1 Mathematical Reasoning & Aptitude.pdfUGC NET Paper 1 Mathematical Reasoning & Aptitude.pdf
UGC NET Paper 1 Mathematical Reasoning & Aptitude.pdfNirmal Dwivedi
 
How to Manage Global Discount in Odoo 17 POS
How to Manage Global Discount in Odoo 17 POSHow to Manage Global Discount in Odoo 17 POS
How to Manage Global Discount in Odoo 17 POSCeline George
 
Sociology 101 Demonstration of Learning Exhibit
Sociology 101 Demonstration of Learning ExhibitSociology 101 Demonstration of Learning Exhibit
Sociology 101 Demonstration of Learning Exhibitjbellavia9
 
Jual Obat Aborsi Hongkong ( Asli No.1 ) 085657271886 Obat Penggugur Kandungan...
Jual Obat Aborsi Hongkong ( Asli No.1 ) 085657271886 Obat Penggugur Kandungan...Jual Obat Aborsi Hongkong ( Asli No.1 ) 085657271886 Obat Penggugur Kandungan...
Jual Obat Aborsi Hongkong ( Asli No.1 ) 085657271886 Obat Penggugur Kandungan...ZurliaSoop
 
TỔNG ÔN TẬP THI VÀO LỚP 10 MÔN TIẾNG ANH NĂM HỌC 2023 - 2024 CÓ ĐÁP ÁN (NGỮ Â...
TỔNG ÔN TẬP THI VÀO LỚP 10 MÔN TIẾNG ANH NĂM HỌC 2023 - 2024 CÓ ĐÁP ÁN (NGỮ Â...TỔNG ÔN TẬP THI VÀO LỚP 10 MÔN TIẾNG ANH NĂM HỌC 2023 - 2024 CÓ ĐÁP ÁN (NGỮ Â...
TỔNG ÔN TẬP THI VÀO LỚP 10 MÔN TIẾNG ANH NĂM HỌC 2023 - 2024 CÓ ĐÁP ÁN (NGỮ Â...Nguyen Thanh Tu Collection
 
Understanding Accommodations and Modifications
Understanding  Accommodations and ModificationsUnderstanding  Accommodations and Modifications
Understanding Accommodations and ModificationsMJDuyan
 
OSCM Unit 2_Operations Processes & Systems
OSCM Unit 2_Operations Processes & SystemsOSCM Unit 2_Operations Processes & Systems
OSCM Unit 2_Operations Processes & SystemsSandeep D Chaudhary
 
ICT Role in 21st Century Education & its Challenges.pptx
ICT Role in 21st Century Education & its Challenges.pptxICT Role in 21st Century Education & its Challenges.pptx
ICT Role in 21st Century Education & its Challenges.pptxAreebaZafar22
 
Python Notes for mca i year students osmania university.docx
Python Notes for mca i year students osmania university.docxPython Notes for mca i year students osmania university.docx
Python Notes for mca i year students osmania university.docxRamakrishna Reddy Bijjam
 
Google Gemini An AI Revolution in Education.pptx
Google Gemini An AI Revolution in Education.pptxGoogle Gemini An AI Revolution in Education.pptx
Google Gemini An AI Revolution in Education.pptxDr. Sarita Anand
 
Interdisciplinary_Insights_Data_Collection_Methods.pptx
Interdisciplinary_Insights_Data_Collection_Methods.pptxInterdisciplinary_Insights_Data_Collection_Methods.pptx
Interdisciplinary_Insights_Data_Collection_Methods.pptxPooja Bhuva
 
Graduate Outcomes Presentation Slides - English
Graduate Outcomes Presentation Slides - EnglishGraduate Outcomes Presentation Slides - English
Graduate Outcomes Presentation Slides - Englishneillewis46
 
Basic Intentional Injuries Health Education
Basic Intentional Injuries Health EducationBasic Intentional Injuries Health Education
Basic Intentional Injuries Health EducationNeilDeclaro1
 
Wellbeing inclusion and digital dystopias.pptx
Wellbeing inclusion and digital dystopias.pptxWellbeing inclusion and digital dystopias.pptx
Wellbeing inclusion and digital dystopias.pptxJisc
 

Dernier (20)

The basics of sentences session 3pptx.pptx
The basics of sentences session 3pptx.pptxThe basics of sentences session 3pptx.pptx
The basics of sentences session 3pptx.pptx
 
How to setup Pycharm environment for Odoo 17.pptx
How to setup Pycharm environment for Odoo 17.pptxHow to setup Pycharm environment for Odoo 17.pptx
How to setup Pycharm environment for Odoo 17.pptx
 
Philosophy of china and it's charactistics
Philosophy of china and it's charactisticsPhilosophy of china and it's charactistics
Philosophy of china and it's charactistics
 
NO1 Top Black Magic Specialist In Lahore Black magic In Pakistan Kala Ilam Ex...
NO1 Top Black Magic Specialist In Lahore Black magic In Pakistan Kala Ilam Ex...NO1 Top Black Magic Specialist In Lahore Black magic In Pakistan Kala Ilam Ex...
NO1 Top Black Magic Specialist In Lahore Black magic In Pakistan Kala Ilam Ex...
 
Basic Civil Engineering first year Notes- Chapter 4 Building.pptx
Basic Civil Engineering first year Notes- Chapter 4 Building.pptxBasic Civil Engineering first year Notes- Chapter 4 Building.pptx
Basic Civil Engineering first year Notes- Chapter 4 Building.pptx
 
UGC NET Paper 1 Mathematical Reasoning & Aptitude.pdf
UGC NET Paper 1 Mathematical Reasoning & Aptitude.pdfUGC NET Paper 1 Mathematical Reasoning & Aptitude.pdf
UGC NET Paper 1 Mathematical Reasoning & Aptitude.pdf
 
How to Manage Global Discount in Odoo 17 POS
How to Manage Global Discount in Odoo 17 POSHow to Manage Global Discount in Odoo 17 POS
How to Manage Global Discount in Odoo 17 POS
 
Sociology 101 Demonstration of Learning Exhibit
Sociology 101 Demonstration of Learning ExhibitSociology 101 Demonstration of Learning Exhibit
Sociology 101 Demonstration of Learning Exhibit
 
Jual Obat Aborsi Hongkong ( Asli No.1 ) 085657271886 Obat Penggugur Kandungan...
Jual Obat Aborsi Hongkong ( Asli No.1 ) 085657271886 Obat Penggugur Kandungan...Jual Obat Aborsi Hongkong ( Asli No.1 ) 085657271886 Obat Penggugur Kandungan...
Jual Obat Aborsi Hongkong ( Asli No.1 ) 085657271886 Obat Penggugur Kandungan...
 
TỔNG ÔN TẬP THI VÀO LỚP 10 MÔN TIẾNG ANH NĂM HỌC 2023 - 2024 CÓ ĐÁP ÁN (NGỮ Â...
TỔNG ÔN TẬP THI VÀO LỚP 10 MÔN TIẾNG ANH NĂM HỌC 2023 - 2024 CÓ ĐÁP ÁN (NGỮ Â...TỔNG ÔN TẬP THI VÀO LỚP 10 MÔN TIẾNG ANH NĂM HỌC 2023 - 2024 CÓ ĐÁP ÁN (NGỮ Â...
TỔNG ÔN TẬP THI VÀO LỚP 10 MÔN TIẾNG ANH NĂM HỌC 2023 - 2024 CÓ ĐÁP ÁN (NGỮ Â...
 
Understanding Accommodations and Modifications
Understanding  Accommodations and ModificationsUnderstanding  Accommodations and Modifications
Understanding Accommodations and Modifications
 
OSCM Unit 2_Operations Processes & Systems
OSCM Unit 2_Operations Processes & SystemsOSCM Unit 2_Operations Processes & Systems
OSCM Unit 2_Operations Processes & Systems
 
Mehran University Newsletter Vol-X, Issue-I, 2024
Mehran University Newsletter Vol-X, Issue-I, 2024Mehran University Newsletter Vol-X, Issue-I, 2024
Mehran University Newsletter Vol-X, Issue-I, 2024
 
ICT Role in 21st Century Education & its Challenges.pptx
ICT Role in 21st Century Education & its Challenges.pptxICT Role in 21st Century Education & its Challenges.pptx
ICT Role in 21st Century Education & its Challenges.pptx
 
Python Notes for mca i year students osmania university.docx
Python Notes for mca i year students osmania university.docxPython Notes for mca i year students osmania university.docx
Python Notes for mca i year students osmania university.docx
 
Google Gemini An AI Revolution in Education.pptx
Google Gemini An AI Revolution in Education.pptxGoogle Gemini An AI Revolution in Education.pptx
Google Gemini An AI Revolution in Education.pptx
 
Interdisciplinary_Insights_Data_Collection_Methods.pptx
Interdisciplinary_Insights_Data_Collection_Methods.pptxInterdisciplinary_Insights_Data_Collection_Methods.pptx
Interdisciplinary_Insights_Data_Collection_Methods.pptx
 
Graduate Outcomes Presentation Slides - English
Graduate Outcomes Presentation Slides - EnglishGraduate Outcomes Presentation Slides - English
Graduate Outcomes Presentation Slides - English
 
Basic Intentional Injuries Health Education
Basic Intentional Injuries Health EducationBasic Intentional Injuries Health Education
Basic Intentional Injuries Health Education
 
Wellbeing inclusion and digital dystopias.pptx
Wellbeing inclusion and digital dystopias.pptxWellbeing inclusion and digital dystopias.pptx
Wellbeing inclusion and digital dystopias.pptx
 

Macro Economics c5 นโยบายการเงิน

  • 1. ไม่พบส่วนของรูปที่มี ID ความสัมพันธ์ rId3 ในไฟล์นี้ เศรษฐศาสตร ์มหภาค MACROECONOMICS บทที่ 5 อรคพัฒร ์ บัวลม
  • 2. ไม่พบส่วนของรูปที่มี ID ความสัมพันธ์ rId3 ในไฟล์นี้ นโยบายการเงิน การเงิน 1.วิวัฒนาการของเงิน 2.อุปสงค์อุปทานและดุลยภาพของเงิน ตลาด การเงิน 1.บทบาทและความสําคัญ ของตลาดการเงิน 2.สถาบันการเงิน นโยบาย การเงิน 1.ความหมายของนโยบาย การเงิน 2.เครื่องมือนโยบายการเงิน การประยุกต์ใช้ นโยบายการเงิน 1.นโยบายการเงินที่ส่งผล กระทบต่อระบบเศรษฐกิจ
  • 4. “เงิน” ถือเป็ นสื่อกลางในการซื้อขายแลกเปลี่ยนสินค้าระหว่างกัน และเป็ นที่ยอมรับใน การชําระหนี้ได้ตามกฎหมาย หน้าที่ของเงิน ◦ เป็ นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน ◦ เป็ นเครื่องวัดมูลค่า ◦ เป็ นมาตรฐานในการชําระหนี้ในอนาคต ◦ เป็ นเครื่องสะสมมูลค่า ชนิดของเงิน 1. เงินเหรียญกษาปณ์ ทําจากโลหะหลายชนิดเช่น ทองคํา โลหะเงิน ดีบุก นิเกิ้ล เป็ นต้น ออก โดยกรมธนารักษ์ กระทรวงการคลัง 2. เงินกระดาษ ทําจากวัสดุที่เป็ นกระดาษ ออกโดยธนาคารกลาง 3. เงินฝากในระบบบัญชีธนาคาร เงินฝากในระบบบัญชีธนาคารเป็ นการสัญญาว่าผู้มีอํานาจ เต็มของธนาคาร
  • 5. วิวัฒนาการของเงิน ◦ ปี 6000 B.C. : ระบบการแลกเปลี่ยนแบบของต่อของ (barter system) คือ การแลกเปลี่ยนของตามที่ตกลงกัน ◦ ปี 1000 B.C. :เหรียญโลหะ (metal coins) และ หอยเบี้ย (shell money) ◦ ปี 806 : เงินกระดาษ และ ธนบัตร (paper money) ◦ ปี 1816 : อังกฤษเป็ นประเทศแรกที่ได้รับมาตรฐานทองคําอย่างเป็ น ทางการในปี 1816 และต่อมาสหรัฐอเมริกาได้ประกาศใช ้มาตรฐาน ทองคํา ในปี 1900 ◦ ปี 1950 :บัตรเครดิต (นาย แฟรงค์แมคนามารา ได้ร่วมมือกับ ทนายความ นาย ราล์ฟ ชไนเดอร ์สร ้างบัตร ไดเนอร ์สคลับ เพื่อใช ้ซื้อ สินค้าและบริการแทนการชําระเงินสด ภายหลังได้มีบริษัท American Express และ Visa เพื่ออํานวยความสะดวกให้กับนักท่องเที่ยวที่ จะต้องเดินทางไปต่างประเทศ โดยไม่ต้องพกเงินสดจํานวนมาก) ◦ ปี 1994 : ธนาคารต่าง ๆ ในสหรัฐอเมริกา ได้เริ่มมีการศึกษาในระบบ online banking ◦ ปี 2009 : บิทคอยน์ (Bitcoin: BTC) คือสกุลเงินดิจิทัลตัวแรกที่ถูก สร ้างขึ้นในปี 2009 โดยผู้ที่ไม่ประสงค์ออกนามหรือกลุ่มคนที่ไม่ ประสงค์ออกนาม โดยใช ้นามแฝงว่า ซาโตชิ นากาโมโตะ
  • 6. ค่าของเงิน ค่าของเงิน หมายถึง ความสามารถหรืออํานาจซื้อ(Purchasing Power) ของเงินแต่ละหน่วยที่จะนําออกมาเพื่อจับจ่ายใช ้สอยสําหรับการซื้อ สินค้าและบริการ (Good and Services) ในระบบเศรษฐกิจ “ค่าของเงินเปลี่ยนแปลงเป็ นส่วนสัมพันธ์โดยตรงกับอํานาจซื้อ” ค่าของเงิน สามารถแบ่งออกได้เป็ น 2 ชนิด 1. ค่าของเงินภายใน(Internal Value) 2. ค่าของเงินภายนอก(External Value)
  • 7. ปริมาณเงิน หรือ อุปทานของเงิน (Supply of Money: Ms) 1. ปริมาณเงินในความหมายแคบ (Norrow : M1) ◦ ปริมาณเงินทั้งหมด หมายถึง ปริมาณของเหรียญกษาปณ์ ธนบัตร และเงินฝากกระแส รายวัน ซึ่งอยู่ในมือของมหาชน(ประชาชน และองค์กรธุรกิจ) ในขณะใดขณะหนึ่ง 2. ปริมาณเงินในความหมายกว้าง (Broad Money : M2) ◦ ปริมาณเงินทั้งหมด หมายถึง ปริมาณของเหรียญกษาปณ์ ธนบัตร เงินฝากกระแสรายวัน เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจําในระบบธนาคารพาณิชย์รวมกันทั้งหมดที่ออกมา ใช ้หมุนเวียนอยู่ในมือประชาชนในขณะใดขณะหนึ่ง ◦ ปริมาณเงินทั้งหมด (M3) หมายถึง ปริมาณของเหรียญกษาปณ์ ธนบัตร เงินฝากกระแส รายวัน เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจําในระบบธนาคารพาณิชย์เงินฝากประจําใน สถาบันการเงินทุกประเภท เงินฝากที่เป็นเงินตราต่างประเทศ และตั๋วสัญญาใช ้เงินของ บริษัทเงินทุนและบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ที่รวมกันออกใช ้ในท้องตลาดในขณะใดขณะหนึ่ง
  • 8. ◦ ปริมาณเงิน ( ก.พ. 2563 / หน่วย: ล้านบาท) ปริมาณเงินความหมายกว้าง (1+2) (หน่วย: ล้านบาท) 1. ปริมาณเงินความหมายแคบ (1.1+1.2) 2,225,133 1.1 เงินสดที่ไม่อยู่ในมือสถาบันรับฝากเงินและรัฐบาล 1,608,614 1.2 เงินรับฝากกระแสรายวันที่สถาบันรับฝากเงิน 616,518 2. เงินรับฝากที่มีสภาพคล่องสูงกึ่งเงินสด (2.1+2.2) 18,703,620 2.1 เงินรับฝากประเภทอื่นที่สถาบันรับฝากเงิน 18,644,145 2.2 ตราสารหนี้ 59,475 ที่มา:ธนาคารแห่งประเทศไทย หมายเหตุ: 1/ ธปท.ได้ revised ข้อมูลปริมาณเงินความหมายกว้างตามนิยามใหม่โดยรวมตั๋วแลกเงินที่ออกโดยธนาคารพาณิชย์ เงินรับฝากของสหกรณ์ออม ทรัพย์ และมูลค่าสินทรัพย์สุทธิของกองทุนรวมตลาดเงิน 2/ เพิ่มข้อมูลของบริษัทเครดิตฟองซิเอร ์(บค.) ตั้งแต่เดือนมกราคม 2563 เป็ นต้นไป https://www.bot.or.th/App/BTWS_STAT/statistics/ReportPage.aspx?reportID=7&language=th
  • 9. 1. ปริมาณเงินความหมายแคบ 2,225,133 1.1 เงินสดที่ไม่อยู่ในมือสถาบันรับฝากเงินและรัฐบาล 1,608,614 ธนบัตรที่หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ 1,832,884 เหรียญกษาปณ์ที่หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ 77,891 หัก: เงินสดในมือรัฐบาล 1,546 หัก: เงินสดในมือสถาบันรับฝากเงิน 300,615 ในมือธนาคารพาณิชย์ 254,352 ในมือบริษัทเงินทุน 1 ในมือธนาคารเฉพาะกิจ 45,928 ในมือสหกรณ์ออมทรัพย์ 334 ในมือกองทุนรวมตลาดเงิน (MMMFs) 0 ปริมาณเงิน ( ก.พ. 2563 / หน่วย: ล้านบาท)
  • 10. การหมุนเวียนของเงิน และ การกําหนดปริมาณเงิน การหมุนเวียนของเงิน คือ การที่เงินถูกใช ้จ่ายเปลี่ยนมือกันไปเรื่อยๆ การหมุนเวียนของเงินมีผลกับปริมาณเงินที่ออกใช ้ คือ ทําให้เกิดการใช ้จ่าย เกินกว่าปริมาณเงินที่ออกใช ้หลายเท่า ถ้ามีการหมุนเวียนของเงินเร็วกว่าการ ขยายตัวของระบบเศรษฐกิจอาจทําให้เกิดเงินเฟ้ อได้ ตลาดเงินมีความสัมพันธ์กับตลาดผลผลิตในการขยายความเจริญทาง เศรษฐกิจ ด้วยการขยายการลงทุนและการจ้างงาน ดังนั้น ธนาคารแห่ง ประเทศไทยต้องดูแลปริมาณเงินให้มีขนาดที่เหมาะสมกับสภาวะเศรษฐกิจใน ขณะนั้น โดยการควบคุมอัตราการขยายตัวของปริมาณเงิน
  • 11. ทฤษฎีปริมาณเงิน (The Quantity Theory of Money) ทฤษฎีปริมาณเงินถูกสร ้างขึ้นมาเพื่ออธิบายถึงความสัมพันธ์ระหว่าง ปริมาณเงินกับระดับราคา ทฤษฎีปริมาณเงินในรูปแบบของสมการการแลกเปลี่ยน(The Equation of Exchange )โดย เออวิงฟิชเชอร ์ เป็ นทฤษฎีปริมาณเงินที่ ดัดแปลงมาจากทฤษฎีปริมาณเงินแบบดั้งเดิมโดยเพิ่มอัตราหมุนเวียน และ ปริมาณของสินค้าในช่วงระยะเวลาหนึ่งๆ
  • 12. “ยอดรายจ่ายของผู้ซื้อจะเท่ากับยอดรายรับของผู้ขายเสมอ” MV = PT หรือ P = MV/T โดยมี M = ปริมาณเงินหมุนเวียน V = อัตราความเร็วในการหมุนเวียนของเงิน (คงที่) (จํานวนครั้งที่เงินแต่ละหน่วยโดยเฉลี่ยแล้วถูกนําไปใช ้ในรายการ แลกเปลี่ยนทุกชนิดในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ) P = ระดับราคาสินค้า T = ปริมาณของสินค้าซึ่งขายกันในช่วงระยะเวลาหนึ่งๆ(คงที่)
  • 14. ความต้องการถือเงิน หรือ อุปสงค์ของเงิน (Demand for Money :Md) จํานวนของความมั่งคั่งที่ทุกๆคนในระบบเศรษฐกิจต้องการถือครอง เอาไว้ในรูปของ “เงิน” เรียกว่า อุปสงค์ของเงิน บุคคลจะจัดสรรการถือสินทรัพย์ของตนออกเป็ น 2 ส่วนคือ (1) การถือเงิน (Money) ซึ่งไม่ได้รับผลตอบแทน แต่ไม่ขาดทุนจากราคา ลดลง (ยกเว้น กรณีเกิดเงินเฟ้ อ) (2) พันธบัตร (Bond) ซึ่งเป็ นสินทรัพย์อื่นที่ให้ผลตอบแทน แต่อาจขาดทุน จากราคาสินทรัพย์นั้นลดลง
  • 15. ความต้องการถือเงิน ความต้องการถือเงิน/แรงจูงใจการถือเงิน แบ่งออกเป็ น 3 ประเภทคือ (1) ความต้องการถือเงินเพื่อจับจ่ายใช้สอย (Transaction Demand for Money) (2) ความต้องการถือเงินเพื่อใช้จ่ายในยามฉุกเฉิน (Precautionary Demand for Money) (3) ความต้องการถือเงินเพื่อการเก็งกําไร (Speculative Demand for Money) ความต้องการถือเงิน รายได้ Y อัตราดอกเบี้ย r เพื่อใช ้จ่ายในชีวิตประจําวัน L1 Y เพิ่ม L1 เพิ่ม rเพิ่ม L1 ลด เพื่อใช ้จ่ายยามฉุกเฉิน L2 Y เพิ่ม L2 เพิ่ม rเพิ่ม L2 ลด เพื่อเก็งกําไร Ls Y เพิ่ม Ls เพิ่ม rเพิ่ม Ls ลด
  • 16. รูปแสดงความสัมพันธ์ระหว่างอัตราดอกเบี้ยและปริมาณเงิน อัตราดอกเบี้ย ปริมาณเงิน r r1 M M1 รายได้ ปริมาณเงิน Y1 M M1 Y เส้นความต้องการถือเงิน รายได้มีอิทธิพลต่อความต้องการถือเงิน เพื่อใช้จ่ายในชีวิตประจําวัน และใช้จ่าย ยามฉุกเฉิน ในทางเดียวกัน อัตราดอกเบี้ยมีอิทธิพลต่อความต้องการ ถือเงินเพื่อใช้จ่ายในชีวิตประจําวัน และ ใช้จ่ายยามฉุกเฉิน ในทางตรงข้าม อัตราดอกเบี้ยสูงความต้องการถือเงิน ลดลง เพื่อถือหลักทรัพย์มากขึ้น
  • 17. อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพ เคนส์ กล่าวว่าอัตราดอกเบี้ยดุลภาพถูก กําหนดโดยอุปสงค์อุปทานของเงิน นั่นหมายความว่า ◦ อัตราดอกเบี้ย ขึ้นอยู่กับความต้องการถือเงิน ◦ ปริมาณเงินขึ้นอยู่กับนโยบายการเงิน ไม่ขึ้นอยู่กับ อัตราดอกเบี้ย จึงเป็ นเส้นตรงตั้งฉากขนานกับอัตรา ดอกเบี้ย อัตราดอกเบี้ย ปริมาณเงิน r2 r1 M2 M1 M M r อัตราดอกเบี้ยดุลยภาพ เส้นความต้องการถือเงิน เส้นปริมาณเงิน
  • 18. ภาวะเงินเฟ้ อ (Inflation) ภาวะเงินเฟ้อ หมายถึง การที่ระดับของราคาสินค้าและบริการโดยทั่วไป (General Price Level ) เพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว (High Price ) และต่อเนื่อง ระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปเปลี่ยนแปลงอย่างไรวัดได้โดยดัชนีราคา ซึ่งดัชนีราคามี 3 ประเภท คือ ◦ ดัชนีราคาขายส่ง ◦ ดัชนีราคาผู้ผลิต ◦ ดัชนีราคาผู้บริโภค (ดัชนีราคาขายปลีก) นักเศรษฐศาสตร ์มักใช ้ดัชนีราคาผู้บริโภคเป็ นตัววัดภาวะเงินเฟ้ อ เพราะดัชนีราคาผู้บริโภคสะท้อน ให้เห็นอํานาจซื้อ อัตราเงินเฟ้อปีที่ต้องการทราบ= 𝐶𝐶𝐶𝐶𝐶𝐶 ปีที่ต้องการ −𝐶𝐶𝐶𝐶𝐶𝐶 ปีก่อน ×100 𝐶𝐶𝐶𝐶𝐶𝐶 ปีก่อน
  • 19. ลักษณะเงินเฟ้ อ ◦ เงินเฟ้ ออย่างอ่อน ระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปสูงขึ้นไม่มากนัก ประมาณ 1-5 % ต่อปี เงินเฟ้ อระดับนี้เป็นผลดีต่อระบบเศรษฐกิจ ผู้ประกอบการมีความมั่นใจเพราะระบบ เศรษฐกิจมีกําลังซื้อ การบริโภคขยายตัว ◦ เงินเฟ้ อปานกลาง ระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปขึ้นสูงประมาณ 6-20 %ต่อปี ทําให้ เกิดความเดือดร ้อนแก่ประชาชน ถ้ารัฐบาลไม่ใช ้มาตราการทางด้านการเงินการคลัง แก้ไขปัญหาอาจทําให้ประชาชนขาดความเชื่อมั่นต่อภาวะเศรษฐกิจในอนาคต ◦ เงินเฟ้ อรุนแรง ระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปขึ้นสูงเกิน 20 %ต่อปี การสูงขึ้นของระดับ ราคาสินค้าจะรวดเร็วมาก เป็นผลเสียต่อระบบเศรษฐกิจ เงินจะไม่สามารถทําหน้าที่ ของเงินทั้งสี่ประการอีกต่อไป
  • 20. สาเหตุการเกิดเงินเฟ้ อ 1. ภาวะเงินเฟ ้ อที่เกิดจากแรงดึงของอุปสงค์(Demand Pull Inflation ) หมายถึง ภาวะเงินเฟ้อที่เกิดขึ้น เนื่องมาจากความต้องการซื้อรวม มีปริมาณ มากกว่าจํานวนสินค้าและบริการที่เสนอขายรวม ◦ อุปสงค์มวลรวมเพิ่มขึ้น ◦ ปริมาณเงินเพิ่มขึ้น จากการพิมพ์ธนบัตร แลพเหรียญเพิ่มขึ้น AD > AS(สินค้าขาดแคลน)  P สูงขึ้นเรื่อยๆ (เงินเฟ้อ)
  • 21. สาเหตุการเกิดเงินเฟ้ อ 2. ภาวะเงินเฟ ้ อที่เกิดจากแรงผลักดันของอุปทาน (Cost Push Infation ) หมายถึง ถาวะเงินเฟ้อที่ส่งผลกระทบทําให้ระดับของราคาสินค้าและบริการโดยทั่วไป เพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็วจากต้นทุนการผลิตเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งมีสาเหตุจาก ◦ ค่าจ้างเพิ่ม ◦ ต้องการกําไรเพิ่ม AD คงที่ ต้นทุน สูงขึ้น  AS ลดลง(สินค้าขาดแคลน)  P สูงขึ้นเรื่อยๆ (เงินเฟ้อ)
  • 22. สาเหตุการเกิดเงินเฟ้ อ 3. ภาวะเงินเฟ ้ อจากสาเหตุอื่น ◦ โครงสร ้างอุปสงค์เปลี่ยนแปลง ◦ การค้าระหว่างประเทศ • การนําเข้าสินค้าที่มีผลต่อต้นทุนการผลิต เช่น นํ้ามัน • การส่งออกสินค้าที่มีผลทําให้สินค้าในประเทศขาดแคลน เช่น นํ้าตาลทราย
  • 23. ผลของการเกิดภาวะเงินเฟ้ อ • รัฐมีรายได้สูงขึ้น จากการเก็บภาษีได้มากขึ้น ด้านการคลัง • มีผลต่อระดับการผลิตและการลงทุน • การกระจายรายได้ • อํานาจซื้อของผู้บริโภคลดลง ด้านเศรษฐกิจและสังคม • ส่งผลให้เกิดการขาดดุลการค้าและดุลการชําระเงินของประเทศ ด้านการค้าระหว่างประเทศ
  • 24. ภาวะเงินฝืด ภาวะเงินฝืด หมายถึง การที่ระดับราคาสินค้าและบริการโดยทั่วไปในระบบเศรษฐกิจ (General Price Level ) ลดลงอย่างรวดเร็ว (Height Price ) สําหรับการลดลงของ ระดับราคาสินค้าและบริการโดยทั่วไปต้องมิใช่เป็ นการลดลงเพียงระยะสั้นๆ แล้วหมดไป แต่ จะต้องเป็ นสถานการณ์ที่ระดับของราคาสินค้าและบริการโดยทั่วไปลดลงไปเรื่อยๆ อย่าง ต่อเนื่อง
  • 25. หน่วยงานที่แก้ไขปัญหาเงินเฟ้ อ ธนาคารแห่งประเทศไทย กระทรวงการคลัง กระทรวงพาณิชย์คือ หน่วยงาน ที่แก้ไขปัญหาเงินเฟ้ อผ่านนโยบายต่างๆ ดังนี้ ◦ นโยบายการเงิน ◦ นโยบายการคลัง ◦ นโยบายทางกฎหมาย
  • 27. ตลาดการเงิน ตลาดการเงิน (Financial Market) หมายถึง ตลาดที่ทําหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างผู้ มีเงินออมกับผู้ที่ต้องการเงิน เป็ นการเปลี่ยนเงินออมไปเป็ นการลงทุน ทั้งในระบบของการให้ สินเชื่อและการพัฒนาหลักทรัพย์หลัก นอกจากนี้ยังทําหน้าที่ในการซื้อขายหรือ แลกเปลี่ยนเงินตราด้วย
  • 28. ประเภทตลาดการเงิน 1. ตลาดเงิน • ตลาดเงินในระบบ • ตลาดเงินนอกระบบ 2. ตลาดทุน • ตลาดสินเชื่อทั่วไป • ตลาดหลักทรัพย์ • ตลาดแรก • ตลาดรอง
  • 29. บทบาทและความสําคัญของตลาดการเงิน ◦ ช่วยระดมทุน ◦ ช่วยจัดสรรทุนอย่างมีประสิทธิภาพ ◦ ช่วยรักษาความเจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจ ◦ ช่วยให้ตลาดการเงินพัฒนา
  • 30. สถาบันการเงิน 1. ธนาคาร 1.1 ธนาคารกลาง เป็นสถาบันทางการเงินของรัฐซึ่งมีอํานาจหน้าที่ควบคุมปริมาณเงินและเครดิต ของประเทศ ให้อยู่ในปริมาณที่เหมาะสมภายใต้นโยบายของรัฐบาล 1.2 ธนาคารพาณิชย์ เป็นธนาคารที่ประกอบธุรกิจประเภทรับฝากเงินที่ต้องจ่ายเงินคืนเมื่อต้องทวง ถาม หรือเมื่อสิ้นระยะเวลาที่กําหนดไว้ รวมทั้งให้กู้ยืมหรือสินเชื่อแก่ประชาชน ให้บริการซื้อขายตั๋วแลก เงิน หรือซื้อขายเงินตราต่างประเทศ 1.3 ธนาคารที่มีวัตถุประสงค์เป็นพิเศษ ได้แก่ 1) ธนาคารออมสิน เป็นธนาคารของรัฐบาล มีหน้าที่รับฝากเงินจากประชาชนทั่วไป ปล่อยเงินกู้ ให้ผู้มีรายได้น้อยในวงเงินตํ่า คนทั่วไปจึงเรียกว่า ธนาคารคนจน 2) ธนาคารอาคารสงเคราะห์ เป็นธนาคารของรัฐบาล มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความอนุเคราะห์แก่ ประชาชนเกี่ยวกับการกู้ยืม เพื่อนําไปซื้อที่ดินหรืออาคารสิ่งปลูกสร ้าง หรือซ่อมแซมต่อเติม ไถ่ถอนการ จํานองที่ดินและอาคาร หรือเพื่อการลงทุนในกิจการการเคหะ พร ้อมกับรับฝากเงินของประชาชนทั่วไปด้วย 3) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) สังกัดกระทรวงการคลัง ตั้งขึ้นเพื่อ ช่วยเหลือด้านการเงินแก่
  • 31. สถาบันการเงิน 2. สถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคาร 2.1 บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์จํากัด มีวัตถุประสงค์คล้ายกับธนาคารพาณิชย์มากที่สุด คือ ระดมเงินออมโดย ออกตราสารเครดิตหรือตั๋วแลกเงินเพื่อเป็ นหลักฐานในการกู้เงินจากประชาชน 2.2 บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความช่วยเหลือด้านการเงินแก่กิจการ อุตสาหกรรมเอกชน 2.3 บรรษัทเงินทุนอุตสาหกรรมขนาดย่อม มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ความช่วยเหลือด้านการเงินแก่อุตสาหกรรม ขนาดย่อมและอุตสาหกรรมครัวเรือน 2.4 บริษัทเครดิตฟองซิเอร ์ มีวัตถุประสงค์ในการกู้ยืมเงินเพื่อการซื้อที่ดิน สร ้างบ้านหรือผ่อนส่ง 2.5 บริษัทประกันภัยและบริษัทประกันชีวิต 2.6 สหกรณ์ออมทรัพย์ จัดทําขึ้นเพื่อออมทรัพย์และจัดทําหน่วยธุรกิจของกลุ่มตนเอง หรือชุมชน 2.7 โรงรับจํานํา เป็ นสถาบันการเงินขนาดย่อม มี 3 ประเภท คือ โรงรับจํานําเอกชน โรงรับจํานําของกรม ประชาสงคราะห์ โรงรับจํานําของเทศบาล ซึ่งได้ให้บริการกู้ยืมเงินแก่บุคคลทั่วไป โดยรับจํานําสิ่งของเครื่องใช ้ต่าง ๆ
  • 33. บริการของธนาคารพาณิชย์ 1. การรับฝากเงินทั้งระยะสั้นและระยะยาว 2. การให้สินเชื่อ ◦ การให้กู้ยืมแก่ผู้ประกอบธุรกิจ ◦ การให้กู้ยืมแก่ผู้บริโภค 3. การเบิกเงินบัญชี 4. การรับซื้อลดเช็ค หรือตั๋วเงิน หรือตราสารเปลี่ยนมืออื่นๆ 5. การคํ้าประกัน เช่น การรับอาวัลตั๋วเงิน ,การรับรองตั๋วเงิน ,การออกเล็ตเตอร ์ออฟเครดิต 6. การโอนเงินและการเรียกเก็บเงิน 7. การซื้อขายเงินปริวรรตต่างประเทศ 8. บริการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจธนาคารพาณิชย์เช่น การออกเช็คของขวัญ การบริการให้เช่าตู้นิรภัย เป็นต้น การจ่ายค่าสาธารณูปโภค
  • 34. หน้าที่และบทบาทของธนาคารพาณิชย์ต่อปริมาณเงิน หน้าที่และความรับผิดชอบของธนาคารพาณิชย์ คือ การสร ้างและการทําลายเงิน ฝาก การควบคุมปริมาณเงินหมุนเวียนที่อยู่ในระบบเศรษฐกิจและการรักษาค่าของเงิน โดยที่ ธนาคารพาณิชย์จะทําหน้าที่เกี่ยวกับการสร ้างและการทําลายเงินฝาก ส่วนธนาคาร กลางก็จะทําหน้าที่เกี่ยวกับการควบคุมปริมาณเงินและการรักษาค่าของเงิน
  • 35. การสร ้างเงินฝากของธนาคารพาณิชย์ ธนาคารตั้งขึ้นเพื่อประกอบธุรกิจโดยหวังกําไร จากความแตกต่างกันระหว่าง ดอกเบี้ยเงินกู้และดอกเบี้ยเงินฝาก รวมถึงค่าบริการต่างๆ ธนาคารต้องมีการเก็บสํารองเงินเผื่อไว้สําหรับกรณีที่ลูกค้ามาถอนเงินหรือสั่งให้ ธนาคารจ่ายเงินตามเช็ค ตามที่ธนาคารกลางกําหนด เรียกว่า เงินสดสํารองตามกฎหมาย เงินฝาก 100 บาท ธ.เก็บสํารองไว้ 10 บาท นําไปปล่อยกู้ได้90 บาท สมมุติให้อัตราเงินสดสํารอง ตามกฎหมาย (R) อยู่ที่ 10 %
  • 36. การสร ้างเงินฝากของธนาคารพาณิชย์ ธนาคาร เงินฝากที่เพิ่มขึ้น เงินสดสํารองตาม กฎหมาย เงินให้กู้ A 1*100 100 10 90 B 0.9*100 90 9 81 C (0.9)^2*100 81 8.1 72.9 D (0.9)^3*100 72.9 7.29 65.61 … รวม 1,000 100 900 ปริมาณการสร ้างเงินฝากของธนาคาร (D) เงินฝากขั้นปฐม (P) อัตราเงินสดสํารองตามกฎหมาย (R) ตัวทวีการสร ้างเงินฝาก (K) D = 𝑃𝑃 𝑅𝑅 , D = PK K = 100 10 = 10 D = 100 10% = 1,000 เงินฝากเพิ่มขึ้น 10 เท่าของเงินฝากขั้นแรก
  • 37. การทําลายเงินฝาก ◦ เมื่อมีการถอนเงิน นาย ก ถอนเงิน 100 บาท ถ้า R = 10% ปริมาณเงินจะลดลงทั้งหมด 1,000 บาท การทําลายเงินฝาก = จํานวนเงินถอน อัตราเงินสดสํารองตามกฎหมาย
  • 38. ธนาคารกลาง หรือ ธนาคารแห่งประเทศไทย ◦ เป็ นนายธนาคารของรัฐบาล ◦ เป็ นนายธนาคารของธนาคารพาณิชย์ ◦ ออกธนบัตร ◦ รักษาเงินทุนสํารองระหว่างประเทศ ◦ ควบคุมปริมาณเงินสดและเครดิต ◦ ควบคุมธนาคารพาณิชย์ ◦ เป็ นแหล่งให้กู้แหล่งสุดท้าย ◦ เป็ นตัวแทนในการร่วมมือกับองค์กรระหว่างประเทศ
  • 40. นโยบายการเงิน นโยบายที่ธนาคารกลางใช้เป็นเครื่องมือควบคุม ปริมาณเงิน อัตราแลกเปลี่ยน และอัตราดอกเบี้ย ธนาคารกลางจะประกาศนโยบายทางการเงิน ออกมา เพื่อไม่ให้เกิดเหตุการณ์เงินฝืดหรือเงินเฟ้อมาก เกินไป โดยนโยบายการเงินหลักๆแบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ ◦ นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย ทําให้ปริมาณเงินมี ขนาดใหญ่ขึ้น ◦ นโยบายการเงินแบบเข้มงวด ทําให้ปริมาณเงินเล็กลง ปริมาณเงินมาก ใช ้จ่ายมาก GDP มาก ลูกโป่งตึงมาก ลดปริมาณเงิน นโยบายการเงิน แบบเข้มงวด ปริมาณเงินน้อย ใช ้จ่ายน้อย GDP น้อย ลูกโป่งแฟบ เพิ่มปริมาณเงิน นโยบายการเงิน แบบผ่อนคลาย
  • 41. เครื่องมือนโยบายการเงิน 1. การควบคุมทางปริมาณหรือโดยทั่วไป (Quantitative or general control) 2. การควบคุมทางคุณภาพหรือการควบคุมเฉพาะอย่าง (Quanlitative or selective control) 3. การชักชวนให้ปฏิบัติตาม (Moral Suasion)
  • 42. 1. การควบคุมทางปริมาณหรือโดยทั่วไป (Quantitative or general control) 1) การซื้อขายหลักทรัพย์โดยเปิดเผย (Open-market operations) 2) การเปลี่ยนแปลงอัตราเงินสํารองตามกฎหมาย (Changing reserve requirement) 3) การเปลี่ยนแปลงอัตรารับช่วงซื้อลด (Changing the rediscount rate) 4) การเปลี่ยนแปลงอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน (Changing the bank rate)
  • 44. 2) Changing reserve requirement เดิม R = 20% ใหม่ R = 10% สํารองส่วนเกิน เพิ่มขึ้น ธนาคารพาณิชย์ ให้กู้ยืมเพิ่มขึ้น ปริมาณเงิน ในระบบเพิ่มขึ้น R = 25% สํารองส่วนเกิน ลดลง ธนาคารพาณิชย์ ให้กู้ยืมลดลง ปริมาณเงิน ในระบบลดลง
  • 45. 2)Changing reserve requirement (ต่อ) เดิม R = 20% และ P = 100 บาท ใหม่ R = 10% R = 25% D = 1 R x P = 1 0.2 x 100 = 500 D = 1 0.1 x 100 = 1,000 (D เพิ่มขึ้น) D = 1 0.25 x 100 = 400 (D ลดลง)
  • 46. 3) Changing the rediscount rate นาย ก. มีตั๋วเงินมูลค่า 100 บาท นาย ก. ได้เงิน 90 บาท ธ.พาณิชย์คิด อัตราส่วนลด (Discount Rate) 10% ธ.พาณิชย์ขายตั๋วเงินให้ธ.กลาง นาย ก. ขายตั๋วเงินให้ธ.พาณิชย์ ธ.กลางคิด อัตรารับช่วงซื้อลด (Rediscount Rate) 5% ธ.พาณิชย์ได้เงิน 95 บาท ธ.พาณิชย์นําเงินไปปล่อยกู้ได้
  • 47. 3) Changing the rediscount rate (ต่อ) Discount Rate Rediscount Rate > ส่วนต่าง คือ กําไรของธนาคารพาณิชย์
  • 48. 3) Changing the rediscount rate (ต่อ) เดิม Rediscount Rate = 5% , Discount Rate = 10% ใหม่ Rediscount Rate = 8% (เพิ่มขึ้น) ธ.พาณิชย์ลดการขาย ตั๋วเงินให้ ธ.กลาง ปริมาณเงินให้กู้ลดลง D ลดลง ธ.พาณิชย์เพิ่ม Discount Rate ลูกค้านําตั๋วเงินมาขายลดลง D ลดลง
  • 49. 4) Changing the bank rate อัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน (bank rate) • อัตราดอกเบี้ยที่ธนาคารกลางคิดจาก ธนาคารพาณิชย์
  • 50. 4) Changing the bank rate (ต่อ) ธ.กลางลดอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน ธ.พาณิชย์กู้ได้มากขึ้น ธ.พาณิชย์ปล่อยกู้หรือให้สินเชื่อมากขึ้น D เพิ่มขึ้น • ขึ้นอยู่กับการตอบสนองของธนาคารพาณิชย์
  • 51. 2. การควบคุมทางคุณภาพหรือควบคุมเฉพาะอย่าง 1) การควบคุมเครดิตเพื่อการบริโภค 2) การควบคุมเครดิตเพื่อการเก็งกําไรในการซื้อขายหลักทรัพย์
  • 53. 1) การควบคุมเครดิตเพื่อการบริโภค (ต่อ) • ลดปริมาณเงิน เพิ่มเงินดาวน์ ลดจํานวนงวดในการผ่อน (ใช้เงินมากขึ้นในการแต่ละงวด) + ซื้อสินค้าลดลง การกู้ยืมลดลง D ลดลง
  • 54. 2) การควบคุมเครดิตเพื่อการเก็งกําไรในการซื้อขายหลักทรัพย์ • Margin Margin = 40% ชําระเงินสด 40% ของราคาหลักทรัพย์ ที่เหลือ 60% กู้จากบริษัทนายหน้า โดยเอาหลักทรัพย์นั้นคํ้าประกัน
  • 57. เศรษฐกิจขยายตัวมาก เศรษฐกิจตกตํ่ามาก นโยบายการเงิน : ลดปริมาณเงิน : แบบเข้มงวด นโยบายการเงิน : เพิ่มปริมาณเงิน : แบบผ่อนคลาย เชิงปริมาณ เชิงปริมาณ 1. ธ.กลางขายหลักทรัพย์ 1. ธ.กลางรับซื้อหลักทรัพย์ 2. เพิ่มอัตราเงินสดสํารอง ตามกฏหมาย 2. ลดอัตราเงินสดสํารอง ตามกฏหมาย 3. เพิ่มอัตรารับช่วงซื้อลด 3. ลดอัตรารับช่วงซื้อลด 4. เพิ่มอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน 4. ลดอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน เชิงคุณภาพ เชิงคุณภาพ 1. เพิ่มเงินดาวน์ + ลดปีผ่อน 1. ลดเงินดาวน์ + เพิ่มปีผ่อน 2. เพิ่ม Margin 2. ลด Margin
  • 59. งานกลุ่ม ◦ แบ่งเป็ น 4 กลุ่ม (ห้องละ 2 กลุ่ม) ◦ ค้นหาข้อมูลการใช ้นโยบายการเงินที่ผ่านมาของรัฐบาลไทย มา 1 เหตุการณ์ ◦ นําเสนอ หัวข้อ “นโยบายการเงินที่ส่งผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ” โดย ตัวแทนกลุ่ม หน้าชั้นเรียน พร ้อมตอบข้อสักถามของอาจารย์และเพื่อนๆ ใน คาบต่อไป