SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  76
Télécharger pour lire hors ligne
L/O/G/O
งบประมาณยืดหยุ่นและต้นทุนมาตรฐาน
(Flexible Budget and Standard
Costing)
การประเมินผลการดาเนินงาน
• ดูค่าผลต่างระหว่าง ผลการดาเนินงานจริง กับแผนการดาเนินงานที่
คาดหวังไว้
• ผลต่างที่น่าพอใจคือ F (Favorable) ผลต่างที่ไม่น่าพอใจคือ U
(Unfavorable)
• ใช้หลักการบริหารแบบมีข้อยกเว้นได้(Management by
Exception)
ประสิทธิผล (Effectiveness)
• ตั้งเป้าหมายกาไรไว้เท่ากับ 500,000 บาทต่อปี สามารถทากาไรได้
จริงเท่ากับ 700,000 บาทต่อปี
• ตั้งเป้าหมายให้บริการแก่สังคมและชุมชนไว้200 โครงการ แต่
ให้บริการสังคมและชุมชนได้จริง 290 โครงการ
ประสิทธิภาพ (Efficiency)
• การดาเนินงานที่ไม่มีประสิทธิภาพทาให้สูญเสียทรัพยากรในการ
ดาเนินงานอย่างสูญเปล่า
• การดาเนินงานจะไม่มีประสิทธิภาพถ้ากิจการมีการใช้ทรัพยากรในการ
ดาเนินงานมากกว่าที่จาเป็นต้องใช้
การประเมินความมีประสิทธิผล
บริษัทเอสเอ็มซี จากัด
การวิเคราะห์การดาเนินงาน
สาหรับเดือนสิงหาคม 25x9
รายการ ผลการดาเนินงานจริง งบประมาณหลัก ผลต่าง
หน่วยขาย 1,560 2,000 440 U
ยอดขาย 1,279,200 100.00% 1,600,000 100.00% 320,800 U
ค่าใช้จ่ายผันแปร 701,900 54.87% 900,000 56.25% 198,100 F
กาไรส่วนเกิน 577,300 25.12% 700,000 43.75% 122,700 U
• ตารางที่ 1 ข้อมูลการดาเนินงานจริงเปรียบเทียบกับงบประมาณ
บริษัทเอสเอ็มซี จากัด
การวิเคราะห์การดาเนินงาน
สาหรับเดือนสิงหาคม 25x9
รายการ ผลการดาเนินงาน
จริง
งบประมาณหลัก ผลต่าง
หน่วยขาย 1,560 2,000 440 U
กาไรส่วนเกิน 577,300 45.13% 700,000 43.75% 122,700 U
ค่าใช้จ่ายคงที่ 321,300 25.12% 300,000 18.75% 21,300 U
กาไรจากการ
ดาเนินงาน
256,000 20.01% 400,000 25.00% 144,000 U
ข้อมูลจริงกับงบประมาณหลัก
• ระดับกิจกรรมการดาเนินงานที่เกิดขึ้นจริงกับระดับกิจกรรมตามแผน
งบประมาณมีความแตกต่างกัน
• การเปรียบเทียบกันโดยตรงระหว่างข้อมูลการดาเนินงานที่เกิดขึ้นจริงกับ
งบประมาณหลักหรืองบประมาณคงที่ จะนามาสู่ความคลาดเคลื่อนอย่าง
มีนัยสาคัญได้
งบประมาณยืดหยุ่น (The Flexible
Budget)
• งบประมาณยืดหยุ่นเป็นงบประมาณอย่างหนึ่งที่ทา
การปรับปรุงมูลค่าของรายได้และค่าใช้จ่ายมายัง
ระดับกิจกรรมของหน่วยผลผลิตที่สามารถได้จริง
ตารางที่ 2 งบประมาณยืดหยุ่นเปรียบเทียบกับ
งบประมาณหลัก
รายการ งบประมาณยืดหยุ่น งบประมาณหลัก
หน่วยขาย 1,560 2,000
ยอดขาย 1,248,000 100.00% 1,600,000 100.00%
ค่าใช้จ่ายผันแปร 702,000 56.25% 900,000 56.25%
กาไรส่วนเกิน 546,000 43.75% 700,000 43.75%
ค่าใช้จ่ายคงที่ 300,000 24.04% 300,000 18.75%
กาไรจากการดาเนินงาน 246,000 19.71% 400,000 25.00%
การประเมินค่าประสิทธิภาพ
(Assessing Efficiency)
• ด้วยลักษณะของงบประมาณยืดหยุ่น สามารถจาแนกความ
แตกต่างระหว่างผลการดาเนินงานและงบประมาณหลัก
ออกเป็น 2 ส่วนคือ
– ผลต่างปริมาณการขาย (Sales Volume Variance)
– ผลต่างของงบประมาณยืดหยุ่น (Flexible Budget
Variance)
ตารางที่ 3 การประเมินค่าผลต่างปริมาณการขาย
บริษัทเอสเอ็มซี จากัด
การวิเคราะห์การดาเนินงาน (การประเมินค่าผลต่างปริมาณยอดขาย)
สาหรับเดือนสิงหาคม 25x9
รายการ งบประมาณยืดหยุ่น (1) งบประมาณหลัก (2) ผลต่าง (2) – (1)
หน่วยขาย 1,560 2,000 440
ยอดขาย 1,248,000 1,600,000 352,000
ค่าใช้จ่ายผันแปร 702,000 900,000 198,000
กาไรส่วนเกิน 546,000 700,000 154,000
ค่าใช้จ่ายคงที่ 300,000 300,000 0
กาไรจากการดาเนินงาน 246,000 400,000 154,000
ผลต่างปริมาณการขาย
ผลต่างของผลกาไรจากการดาเนินงานจากปริมาณ
การขาย
= จานวนเงินกาไรตามงบประมาณยืดหยุ่น –
จานวนเงินกาไรตามงบประมาณหลัก
= 246,000 บาท – 400,000 บาท
= -154,000 บาท ไม่น่าพอใจ
ผลต่างปริมาณยอดขาย
ผลต่างของผลกาไรจากการดาเนินงานจากปริมาณการ
ขาย
= (ปริมาณขายจริง – ปริมาณขายตามงบประมาณ) ×
กาไรส่วนเกินต่อหน่วยตามปริมาณหลัก
= (1,560 หน่วย – 2,000 หน่วย) × 350 บาทต่อหน่วย
= -154,000 บาท ไม่น่าพอใจ
ผลต่างงบประมาณยืดหยุ่น (Flexible
Budget Variance)
• เป็นผลต่างระหว่างผลการดาเนินงานจริงกับจานวนเงินตาม
งบประมาณยืดหยุ่น ณ ระดับผลผลิตจริง
ผลต่างงบประมาณยืดหยุ่น
= ผลการดาเนินงานจริง - ผลการดาเนินงานตาม
งบประมาณยืดหยุ่น
ตารางที่ 4 การประเมินค่าผลต่างงบประมาณยืดหยุ่น
บริษัทเอสเอ็มซี จากัด
การวิเคราะห์การดาเนินงาน (ผลต่างงบประมาณยืดหยุ่น)
สาหรับเดือนสิงหาคม 25x5
รายการ ผลการดาเนินงานจริง งบประมาณยืดหยุ่น ผลต่าง
หน่วยขาย 1,560 1,560 0
ยอดขาย 1,279,200 1,248,000 31,200 F
ค่าใช้จ่ายผันแปร 701,900 702,000 100 F
กาไรส่วนเกิน 577,300 546,000 31,300 F
ค่าใช้จ่ายคงที่ 321,300 300,000 21,300 U
กาไรจากการดาเนินงาน 256,000 246,000 10,000 F
ตารางที่ 5 การวิเคราะห์การดาเนินงาน
บริษัทเอสเอ็มซี จากัด
การวิเคราะห์การดาเนินงาน
สาหรับเดือนสิงหาคม 25x5
รายการ การ
ดาเนินงา
นจริง
ผลต่าง
งบประมาณ
ยืดหยุ่น
งบประมาณ
ยืดหยุ่น
ผลต่าง
ปริมาณ
ยอดขาย
งบประมาณ
หลัก
หน่วยงาน 1,560 0 1,560 440 U 2,00
ยอดขาย 1,279,200 31,200 F 1,248,000 352,000 U 1,600,00
ค่าใช้จ่ายผันแปร 701,900 100 F 702,000 198,000 F 900,00
กาไรส่วนเกิน 577,300 31,300 F 546,000 154,000 U 700,00
ตารางที่ 5 การวิเคราะห์การดาเนินงาน (ต่อ)
รายการ การ
ดาเนินงาน
จริง
ผลต่าง
งบประมาณ
ยืดหยุ่น
งบประมาณ
ยืดหยุ่น
ผลต่าง
ปริมาณ
ยอดขาย
งบประมาณ
หลัก
กาไรส่วนเกิน 577,300 31,300 F 546,000 154,000 U 700,000
ค่าใช้จ่ายคงที่ 321,300 21,300 U 300,000 0 300,000
กาไรจากการ
ดาเนินงาน
256,000 10,000 F 246,000 154,000 U 400,000
การวิเคราะห์ผลต่างกาไรจากการดาเนินงาน
ผลต่างกาไรจากการดาเนินงาน 144,000 บาท U
(400,000 บาท – 256,000 บาท)
ผลต่างงบประมาณยืดหยุ่น
= 256,000 บาท – 246,000 บาท
= 10,000 บาท F
ผลต่างปริมาณการขาย
= 246,000 บาท – 400,000 บาท
= -154,000 บาท U
ต้นทุนมาตรฐาน
• ตารางที่ 6 บัตรต้นทุนมาตรฐานต่อหน่วยผลิตภัณฑ์ AV12
รายการ ปริมาณ ต้นทุนต่อ
หน่วย
ต้นทุน
รวม
วัตถุดิบทางตรง :
วัตถุดิบ A 4 ปอนด์ 25 100
วัตถุดิบ P 1 ปอนด์ 40 40 140
ค่าแรงงานทางตรง 5 ชั่วโมง 40 200 200
ค่าใช้จ่ายการผลิต (ฐานชั่วโมงแรงงานทางตรง)
ต้นทุนมาตรฐาน
ผลิตภัณฑ์ AV12
รายการ ปริมาณ ต้นทุนต่อหน่วย ต้นทุนรวม
คชจ.ผลิตผันแปร 5 ชั่วโมง 12 60
คชจ.ผลิตคงที่ 5 ชั่วโมง 24 120 180
ต้นทุนมาตรฐานต่อ
หน่วย
520
ผลต่างวัตถุดิบทางตรง
• ผลต่างราคาวัตถุดิบทางตรง (Direct Materials
Price Variance)
• ผลต่างปริมาณการใช้วัตถุดิบทางตรง (Direct
Materials Usage Variance)
ผลต่างราคาวัตถุดิบทางตรง
ผลต่างราคาวัตถุดิบทางตรง
= (ราคาจ่ายซื้อจริงต่อหน่วยวัตถุดิบ – ราคา
มาตรฐานต่อหน่วยวัตถุดิบ)x ปริมาณวัตถุดิบที่
ซื้อจริง
= (ราคาจ่ายซื้อจริงต่อหน่วยวัตถุดิบ – ราคา
มาตรฐานต่อหน่วยวัตถุดิบ) x ปริมาณวัตถุดิบที่ซื้อ
จริง
= (26 บาท – 25 บาท) x 7,260 ปอนด์
= 1 บาท x 7,260 ปอนด์
= 7,260 บาท ไม่น่าพอใจ
ผลต่างราคาวัตถุดิบทางตรง A
ผลต่างปริมาณการใช้วัตถุดิบทางตรง
• ผลต่างปริมาณ (Quantity Variance) หรือผลต่างประสิทธิภาพ
(Efficiency Variance)
= (ปริมาณใช้จริง – ปริมาณมาตรฐานที่ยอมให้
สาหรับหน่วยผลิตจริง) × ราคามาตรฐานต่อ
หน่วยของวัตถุดิบ
ผลต่างการใช้วัตถุดิบทางตรง A
= (ปริมาณใช้จริง – ปริมาณมาตรฐานที่ยอมให้สาหรับ
หน่วยผลิตจริง) × ราคามาตรฐานต่อหน่วยของวัตถุดิบ
= (7,260 ปอนด์ – (1,560 หน่วย × 4 ปอนด์)) × 25 บาท
= 1,020 ปอนด์ × 25 บาท
= 25,500 บาท ไม่น่าพอใจ
ปริมาณจริง ×
ราคาจริง
ปริมาณจริง × ราคา
มาตรฐาน
ปริมาณมาตรฐานที่ยอมให้
สาหรับหน่วยผลิตจริง ×
ราคามาตรฐาน
7,260 ปอนด์ ×
26 บาท
7,260 ปอนด์ × 25
บาท
1,560 หน่วย × 4 ปอนด์×
25 บาท
188,760 บาท 181,500 บาท 156,000 บาท
ผลต่างราคาวัตถุดิบทางตรง
A = 7,260 บาท U (188,760 –
181,500)
ผลต่างการใช้วัตถุดิบทางตรง
A = 25,500 บาท U (181,500 –
156,000)
ผลต่างวัตถุดิบทางตรง
ผลต่างวัตถุดิบเมื่อปริมาณซื้อกับปริมาณใช้ต่างกัน
ปัจจัยนาเข้าที่
ต้นทุนจริง
ปัจจัยนาเข้าที่ต้นทุน
มาตรฐาน
ต้นทุนมาตรฐานสาหรับ
หน่วยผลิตจริง
ปริมาณมาตรฐานสาหรับ
หน่วยผลิตจริง × ราคา
มาตรฐาน
ปริมาณซื้อจริง ×
ราคามาตรฐาน
ปริมาณซื้อจริง ×
ราคาจริง
ผลต่างราคาวัตถุดิบ
ปริมาณใช้จริง x ราคามาตรฐาน
ผลต่างการใช้วัตถุดิบ
ผลต่างค่าแรงงานทางตรง
• ประกอบด้วย 2 ผลต่างย่อย คือ
• ผลต่างอัตราค่าแรงงาน (ราคา)
• ผลต่างประสิทธิภาพแรงงาน (ปริมาณการใช้)
การวิเคราะห์ผลต่างค่าแรงงานทางตรง
ค่าแรงงานทางตรง
จริง
เวลาจริง x อัตรา
มาตรฐาน
เวลามาตรฐานที่ยอม
ให้สาหรับหน่วยผลิต
จริง × อัตรามาตรฐาน
7,020 ชั่วโมง × 42
บาท
7,020 ชั่วโมง × 40
บาท
1,560 หน่วย × 5
ชั่วโมง × 40 บาท
294,840 บาท 280,800 บาท 312,000 บาท
ผลต่างอัตราค่าแรงงาน
= 14,040 บาท U (294,840
– 280,800)
ผลต่างประสิทธิภาพแรงงาน
= - 31,200 บาท F (280,800 –
312,000)
ผลต่างอัตราค่าแรงงานทางตรง
ผลต่างอัตราค่าแรงงานทางตรง
= (อัตราจ่ายจริงต่อชั่วโมง – อัตราตามมาตรฐานต่อ
ชั่วโมง) × เวลาทางานจริง
ผลต่างอัตราค่าแรงงานทางตรง
= (อัตราจ่ายจริงต่อชั่วโมง – อัตราตามมาตรฐาน
ต่อชั่วโมง) × เวลาทางานจริง
= (42 บาท – 40 บาท) × 7,020 ชั่วโมง
= 2 บาท × 7,020 ชั่วโมง
= 14,040 บาท ไม่น่าพอใจ
ผลต่างประสิทธิภาพแรงงาน
ผลต่างประสิทธิภาพแรงงาน
= (เวลาทางานจริง – เวลามาตรฐานที่ยอมให้สาหรับ
หน่วยผลิตจริง) × อัตราตามมาตรฐานต่อชั่วโมง
= (เวลาทางานจริง – เวลามาตรฐานที่ยอมให้สาหรับหน่วย
ผลิตจริง) x อัตรามาตรฐานต่อชั่วโมง
= [7,020 ชั่วโมง – (1,560 หน่วย × 5 ชั่วโมง)] × 40 บาท
= (7,020 ชั่วโมง – 7,800 ชั่วโมง) × 40 บาท
= 780 ชั่วโมง × 40 บาท
= - 31,200 บาท น่าพอใจ
ผลต่างประสิทธิภาพแรงงาน
ค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร
ต้นทุนมาตรฐานของค่าใช้จ่ายการผลิต
ค่าใช้จ่ายการผลิตจาแนกออกเป็น 2 ประเภท คือ
ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่
=
ค่าใช้จ่ายผลิตผันแปรรวมโดยประมาณ
ชั่วโมงแรงงานทางตรงรวมโดยประมาณ
=
𝟏𝟐𝟎,𝟎𝟎𝟎 บาท
(𝟐,𝟎𝟎𝟎 หน่วย ×𝟓 ชั่วโมง)
=
𝟏𝟐𝟎,𝟎𝟎𝟎 บาท
𝟏𝟎,𝟎𝟎𝟎 ชั่วโมงแรงงานทางตรง
= 12 บาทต่อชั่วโมงแรงงานทางตรง
อัตราค่าใช้จ่าย
ผลิตผันแปร
การคานวณอัตรามาตรฐานค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร
ผลต่างงบประมาณยืดหยุ่นค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร
• ค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปรรวมเกิดขึ้นจริง - จานวน
เงินรวมตามมาตรฐานของค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร
สาหรับหน่วยผลิตจริง
• ค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปรรวมเกิดขึ้นจริง - (ปริมาณ
มาตรฐานของฐานกิจกรรมที่ยอมให้สาหรับหน่วยผลิต
จริง × อัตรามาตรฐานค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร)
ผลต่างงบประมาณยืดหยุ่นค่าใช้จ่ายผลิตผันแปร
ผลต่างของค่าใช้จ่ายผลิตผันแปรหรือ ผลต่างงบประมาณยืดหยุ่นค่าใช้จ่ายผลิตผันแปร
=ค่าใช้จ่ายผลิตผันแปรรวมจริง – ปริมาณตามมาตรฐานของฐานกิจกรรมที่ยอมให้
สาหรับหน่วยผลิตจริง × อัตราค่าใช้จ่ายผลิตผันแปรตามมาตรฐาน
81,260 บาท – [(5 ชม. × 1,560 หน่วย) × 12 บาท
81,260 บาท – 93,600 บาท
– 12,340 บาท น่าพอใจ
ผลต่างงบประมาณยืดหยุ่นค่าใช้จ่ายโรงงานผันแปร
=-12,340 บาทF
งบประมาณยืดหยุ่นค่าใช้จ่ายโรงงานผันแปร
ชั่วโมงมาตรฐานที่ยอมให้
= 1,560 หน่วย × 5 ชั่วโมง = 7,800 ชั่วโมง
งบประมาณตามมาตรฐาน
= 7,800 ชั่วโมง × 12 บาท = 93,600 บาท
ค่าใช้จ่ายโรงงานผันแปรเกิดขึ้นจริง
81,260 บาท
ผลต่างงบประมาณยืดหยุ่นค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร
ประกอบด้วย 2 ผลต่างคือ
ผลต่างการจ่ายเงิน
(Variable Factory Overhead Spending Variance)
1
2
ผลต่างประสิทธิภาพ
(Variable Factory Overhead Efficiency Variance)
ผลต่างการจ่ายเงินค่าใช้จ่ายผลิตผันแปร
• ค่าใช้จ่ายผลิตผันแปรจริง –(ปริมาณฐาน
กิจกรรมจริง ×อัตรามาตรฐานค่าใช้จ่ายผลิตผัน
แปร
ผลต่างประสิทธิภาพค่าใช้จ่ายผลิตผันแปร
• (ปริมาณฐานกิจกรรมที่ใช้จริง – ปริมาณฐาน
กิจกรรมที่ยอมให้ตามมาตรฐานสาหรับ
• หน่วยผลิตจริง) × อัตรามาตรฐานค่าใช้จ่าย
การผลิตผันแปร
ค่าใช้จ่ายโรงงาน
ผันแปรที่เกิดขึ้น
จริง
ปริมาณกิจกรรมที่ยอมให้ตาม
มาตรฐาน × อัตราค่าใช้จ่าย
โรงงานผันแปรต่อหน่วยกิจกรรม
ปริมาณกิจกรรมจริง × อัตรา
ค่าใช้จ่ายโรงงานผันแปรต่อ
หน่วยกิจกรรม
ผลต่างการจ่ายเงิน ผลต่างประสิทธิภาพ
ผลต่างงบประมาณยืดหยุ่นค่าใช้จ่ายโรงงานผันแปร
ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร
ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร
ผลต่างการจ่ายเงินค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร
• ค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปรรวมที่เกิดขึ้นจริง - (ปริมาณฐานกิจกรรมที่ใช้
ในการผลิตจริง × อัตรามาตรฐานค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร
• 81,260 บาท - (7,020 ชั่วโมง × 12 บาท)
• 81,260 บาท - 84,240 บาท
• - 2,980 บาท (น่าพอใจ)
ผลต่างประสิทธิภาพค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร
• (ปริมาณฐานกิจกรรมที่ใช้จริง – ปริมาณฐานกิจกรรมที่ยอมให้ตาม
มาตรฐานสาหรับหน่วยผลิตจริง) × อัตรามาตรฐานค่าใช้จ่ายการผลิต
ผันแปร
• (7,020 ชั่วโมง - 7,800 ชั่วโมง) × 12 บาท
• - 780 ชั่วโมง × 12 บาท
• - 9,360 บาท (น่าพอใจ)
2006 2007 2008
ผลต่างประสิทธิภาพ
= 84,240 บาท – 93,600 บาท
= -9,360 บาทF
หรือ
= (7,020 ชั่วโมง – 7,800 ชั่วโมง) × 12 บาท
= -9,360 บาทF
ปริมาณกิจกรรมจริง × อัตรา
มาตรฐาน
ปริมาณกิจกรรมที่ยอมให้
ตามมาตรฐาน × อัตรามาตรฐาน
ค่าใช้จ่ายโรงงานผันแปรจริง
81,260 บาท 7,020 ชั่วโมง × 12 บาท 7,800 ชั่วโมง × 12 บาท
84,240 บาท 93,600 บาท
ผลต่างงบประมาณยืดหยุ่นค่าใช้จ่ายโรงงานผันแปร
= 93,600 บาท – 81,260 บาท = -12,340 บาทF
ผลต่างการจ่ายเงิน
= 81,260 บาท– 84,240
บาท
= -2,980 บาทF
ต้นทุนมาตรฐานสาหรับค่าใช้จ่าย
การผลิตคงที่
อัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่
=
งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่
ฐานกิจกรรมตามแผนงบประมาณ
=
=
=
งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่
ฐานกิจกรรมตามแผนงบประมาณ
𝟐𝟒𝟎, 𝟎𝟎𝟎 บาท
𝟐, 𝟎𝟎𝟎 หน่วย × 𝟓 ชั่วโมงแรงงาน
𝟐𝟒𝟎, 𝟎𝟎𝟎 บาท
𝟏𝟎, 𝟎𝟎𝟎 ชั่วโมง
24 บาทต่อชั่วโมงแรงงาน=
อัตราค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่คิดเข้างาน
ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่
= ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่เกิดขึ้นจริง –
ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ประยุกต์คิดเข้างาน
ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่
ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่จริง - ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่คิดเข้างาน
= 261,300 บาท – (1,560 หน่วย × 5 ชั่วโมง × 24 บาท)
= 74,100 บาท (ไม่น่าพอใจ)
= 261,300 บาท – 187,200 บาท
ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่
ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ
ผลต่างงบประมาณ (การจ่ายเงิน)
ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่
ผลต่างปริมาณการผลิต
ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่
= ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่เกิดขึ้นจริง –
งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่
ผลต่างงบประมาณ (การจ่ายเงิน) ค่าใช้จ่าย
การผลิตคงที่ (Fixed Manufacturing
Overhead Spending (Budget)
Variance)
= ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่เกิดขึ้นจริง – งบประมาณ
ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่
2005
2006
2007
ผลต่างงบประมาณ (การจ่ายเงิน) ค่าใช้จ่ายการผลิต
คงที่
= 261,300 บาท – 240,000 บาท
= 21,300 บาท (ไม่น่าพอใจ)
= งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ –
ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่คิดเข้างาน
ผลต่างปริมาณค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่
(Fixed Manufacturing Overhead
Production Volume Variance)
ผลต่างปริมาณค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่
= งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ – ค่าใช้จ่ายการผลิต
คงที่คิดเข้างาน
= 240,000 บาท – (1,560 หน่วย × 5 ชั่วโมง × 24 บาท)
= 240,000 บาท – 187,200 บาท
= 52,800 บาท (ไม่น่าพอใจ)
ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่
ค่าใช้จ่ายการผลิต
คงที่จริง
ค่าใช้จ่ายการผลิต
คงที่คิดเข้างาน
261,300 บาท
1,560 หน่วย× 5
ชั่วโมง × 24 ชั่วโมง
= 187,200 บาท
2,000หน่วย × 5
ชั่วโมง × 24 บาท
= 240,000 บาท
งบประมาณ
ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่
ผลต่างการจ่ายเงิน
= 261,300 บาท – 240,000 บาท
=21,300 บาท U
ผลต่างปริมาณการผลิต
= 240,000 บาท – 187,200 บาท
= 52,800 บาท U
ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่
ทางเลือกของผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิต
การวิเคราะห์ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตแบบ 4 ผลต่าง
การวิเคราะห์ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตแบบ 3 ผลต่าง
การวิเคราะห์ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตแบบ 2 ผลต่าง
การวิเคราะห์ผลต่างค่าใช้จ่ายโรงงานแบบ 3 ผลต่าง
1.ผลต่างการจ่ายเงินค่าใช้จ่ายการผลิต
(Manufacturing Overhead Spending)
2.ผลต่างประสิทธิภาพค่าใช้จ่ายการผลิต
(Manufacturing Overhead Efficiency)
3.ผลต่างปริมาณการผลิตค่าใช้จ่ายการผลิต
(Manufacturing Overhead Production Volume)
ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตแบบ 3 ผลต่าง
ผลต่างการจ่ายเงินค่าใช้จ่าย
การผลิตจะรวมผลต่างการ
จ่ายเงินค่าใช้จ่ายการผลิตผัน
แปรและผลต่างงบประมาณ
(การจ่ายเงิน) ค่าใช้จ่ายการ
ผลิตคงที่เข้าไว้ด้วยกัน
ในขณะที่ผลต่างอีก
2 ส่วนที่เหลือยังคง
ไม่เปลี่ยนแปลง
ผลต่างการจ่ายเงินค่าใช้จ่ายการผลิต
= ค่าใช้จ่ายการผลิตรวมที่เกิดขึ้นจริง – ค่าใช้จ่ายการผลิตรวมที่คาดว่าจะเกิดขึ้นที่
ระดับปริมาณฐานกิจกรรมจริง
= ค่าใช้จ่ายการผลิตรวมที่เกิดขึ้นจริง – [(ปริมาณฐานกิจกรรมจริง × อัตรา
มาตรฐานค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร) + งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่]
= (81,260 บาท + 261,300 บาท) – [(7,020 ชั่วโมง ×
12 บาท) + 240,000 บาท]
= 342,560 บาท – (84,240 บาท + 240,000 บาท)
= 342,560 บาท –324,240 บาท
= 18,320 บาท (ไม่น่าพอใจ)
ผลต่างประสิทธิภาพค่าใช้จ่ายการผลิต
= ค่าใช้จ่ายการผลิตรวมที่คาดว่าจะเกิดขึ้นที่ระดับปริมาณฐาน
กิจกรรมจริง – งบประมาณยืดหยุ่นค่าใช้จ่ายการผลิต
= [(ปริมาณกิจกรรมจริง × อัตรามาตรฐานค่าใช้จ่ายการผลิตผัน
แปร) + งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่] - [(ปริมาณ
กิจกรรมตามมาตรฐาน × อัตรามาตรฐานค่าใช้จ่ายการผลิตผัน
แปร) + งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่]
ผลต่างประสิทธิภาพค่าใช้จ่ายการผลิต
= [(ปริมาณกิจกรรมจริง × อัตรามาตรฐานค่าใช้จ่ายการผลิต
ผันแปร) + งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่] - [(ปริมาณ
กิจกรรมตามมาตรฐาน × อัตรามาตรฐานค่าใช้จ่ายการผลิตผัน
แปร) + งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่]
=[(7,020 ชั่วโมง × 12 บาท) + 240,000 บาท]
- [(7,800 ชั่วโมง × 12 บาท) + 240,000 บาท]
ผลต่างประสิทธิภาพค่าใช้จ่ายการผลิต
= [(ปริมาณกิจกรรมจริง × อัตรามาตรฐานค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร) +
งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่] - [(ปริมาณกิจกรรมตามมาตรฐาน
× อัตรามาตรฐานค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร) + งบประมาณค่าใช้จ่าย
การผลิตคงที่]
=(84,240 บาท + 240,000 บาท) - (93,600 บาท +
240,000 บาท)
=324,240 บาท –333,600 บาท
-9,360 บาท (น่าพอใจ)
=[(7,020 ชั่วโมง × 12 บาท) + 240,000 บาท] - [(7,800 ชั่วโมง × 12 บาท)
+ 240,000 บาท]
ผลต่างปริมาณการผลิตค่าใช้จ่ายการผลิต
= งบประมาณยืดหยุ่นค่าใช้จ่ายการผลิต – ต้นทุนมาตรฐานรวมของค่าใช้จ่าย
การผลิตคิดเข้างาน
= [(ปริมาณตามมาตรฐาน × อัตรามาตรฐานค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปรต่อ
หน่วย) + งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่] - [(ปริมาณกิจกรรมตาม
มาตรฐาน × อัตรามาตรฐานค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร) + [(ปริมาณกิจกรรม
ตามมาตรฐาน × อัตรามาตรฐานค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่)]
= [(7,800 ชั่วโมง × 12 บาท) + 240,000 บาท] - [(7,800 ชั่วโมง × 12
บาท) + [(7,800 ชั่วโมง × 24 บาท)]
= (93,600 บาท + 240,000 บาท) - (93,600 บาท + 187,200 บาท)
= 333,600 บาท - 280,800 บาท
= 52,800 บาท (ไม่น่าพอใจ)
การวิเคราะห์ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตแบบ 3 ผลต่าง
ค่าใช้จ่ายโรงงานคิดเข้างานต่าเกินไป 61,760 บาท
ผลต่างการจ่ายเงิน
18,320 บาท U
ผลต่างประสิทธิภาพ
9,360 บาท F
ผลต่างปริมาณการผลิต
52,800 บาท U
ผันแปร
คงที่
รวม
ค่าใช้จ่ายการ
ผลิตเกิดขึ้นจริง
81,260
261,300
342,560
จานวนเงินรวม
ตามมาตรฐาน ณ
กิจกรรมจริง
84,240
240,000
324,240
งบประมาณ
ยืดหยุ่นค่าใช้จ่าย
การผลิต
93,600
240,000
333,600
ค่าใช้จ่ายการ
ผลิตรวมคิดเข้า
งาน
93,600
187,200
280,800
1.ผลต่างงบประมาณยืดหยุ่นค่าใช้จ่ายการผลิต
(Manufacturing Overhead Flexible Budget) หรือผลต่างที่
ควบคุมได้
2.ผลต่างปริมาณการผลิตค่าใช้จ่ายการผลิต
(Manufacturing Overhead Production Volume)
ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตแบบ 2 ผลต่าง
=ค่าใช้จ่ายการผลิตรวมที่เกิดขึ้นจริง– งบประมาณยืดหยุ่น
ค่าใช้จ่ายการผลิตรวม
= ค่าใช้จ่ายการผลิตรวมที่เกิดขึ้นจริง – [(ปริมาณกิจกรรมตาม
มาตรฐาน ×อัตรามาตรฐานค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร) +
งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่]
= (81,260 บาท + 261,300 บาท) – [(7,800 ชั่วโมง × 12
บาท) + 240,000 บาท]
ผลต่างงบประมาณยืดหยุ่นค่าใช้จ่ายการผลิต
= (81,260 บาท + 261,300 บาท) – [(7,800 ชั่วโมง ×
12 บาท) + 240,000 บาท]
= 342,560 บาท – (93,600 บาท + 240,000 บาท)
= 342,560 บาท –333,600 บาท
= 8,960 บาท (ไม่น่าพอใจ)
ผลต่างงบประมาณยืดหยุ่นค่าใช้จ่ายการผลิต (ต่อ)
= งบประมาณยืดหยุ่นค่าใช้จ่ายการผลิต –ค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างาน
= [(ปริมาณตามมาตรฐาน × อัตรามาตรฐานค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร)
+ งบประมาณค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่] - [(ปริมาณกิจกรรมตาม
มาตรฐาน × อัตรามาตรฐานค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร) + [(ปริมาณ
กิจกรรมตามมาตรฐาน × อัตรามาตรฐานค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่)]
ผลต่างปริมาณการผลิตค่าใช้จ่ายการผลิต
= [(7,800 ชั่วโมงแรงงาน × 12 บาทต่อชั่วโมง) +240,000
บาท] - [(7,800 ชั่วโมงแรงงาน × 12 บาทต่อชั่วโมง) +
[(7,800 ชั่วโมงแรงงาน × 24 บาทต่อชั่วโมง)]
= (93,600 บาท + 240,000 บาท) - (93,600 บาท +
187,200 บาท)
= 333,600 บาท - 280,800 บาท
= 52,800 บาท (ไม่น่าพอใจ)
ผลต่างปริมาณการผลิตค่าใช้จ่ายการผลิต
ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตแบบ 2 ผลต่าง
เกิดขึ้นจริง งบประมาณยืดหยุ่น คิดเข้างาน
81,260
261,300
342,560
93,600
240,000
333,600
93,600
187,200
280,800
ผลต่างงบประมาณยืดหยุ่น
= 8,960 บาทU
ผลต่างปริมาณการผลิต
= 52,800 บาทU
ผลต่างรวมค่าใช้จ่ายการผลิต (ค่าใช้จ่ายการผลิตคิดเข้างานต่าเกินไป)
= 342,560 บาท - 280,800 บาท = 61,760 บาท
ผันแปร
คงที่
รวม
ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตแบบ 4 ผลต่าง
ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตแบบ 3 ผลต่าง
ผลต่างค่าใช้จ่ายการผลิตแบบ 2 ผลต่าง
L/O/G/O
www.themegallery.com
Thank You!

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
Ornkapat Bualom
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
Ornkapat Bualom
 
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
Utai Sukviwatsirikul
 
แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]
kvlovelove
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
Orawonya Wbac
 

Tendances (20)

คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจบริการ
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจบริการคู่มือการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจบริการ
คู่มือการเขียนแผนธุรกิจ ธุรกิจบริการ
 
09 ma
09 ma09 ma
09 ma
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
 
141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8
 
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการบทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
 
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงินMacro Economics c5 นโยบายการเงิน
Macro Economics c5 นโยบายการเงิน
 
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
 
สถิติสำหรับธุรกิจ
สถิติสำหรับธุรกิจสถิติสำหรับธุรกิจ
สถิติสำหรับธุรกิจ
 
การประเมินผล 4 มิติ
การประเมินผล 4 มิติการประเมินผล 4 มิติ
การประเมินผล 4 มิติ
 
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้นแผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
 
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
แผนธุรกิจร้านก๋วยเตี๋ยวลูกชิ้นปลา “ชามโต”
 
แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]แบบฟอร์มข..[1]
แบบฟอร์มข..[1]
 
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
หลักเศรษฐศาสตร์ เรื่องอรรถประโยชน์
 
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุบทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
 
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
 
05 ma
05 ma05 ma
05 ma
 
04 ma
04 ma04 ma
04 ma
 

En vedette

วิธีลดขนาดไฟล์ Microsoft word ให้เล็กลง
วิธีลดขนาดไฟล์ Microsoft word ให้เล็กลงวิธีลดขนาดไฟล์ Microsoft word ให้เล็กลง
วิธีลดขนาดไฟล์ Microsoft word ให้เล็กลง
พัน พัน
 

En vedette (20)

04 budget
04 budget04 budget
04 budget
 
02 abc
02 abc02 abc
02 abc
 
07 capital budgetting
07 capital budgetting07 capital budgetting
07 capital budgetting
 
06 costs and revenue for decision making
06 costs and revenue for decision making06 costs and revenue for decision making
06 costs and revenue for decision making
 
08 accounting for jit
08 accounting for jit08 accounting for jit
08 accounting for jit
 
09 pricing decision
09 pricing decision09 pricing decision
09 pricing decision
 
10evaluation & transfer pricing
10evaluation & transfer pricing10evaluation & transfer pricing
10evaluation & transfer pricing
 
Nrru 003
Nrru 003Nrru 003
Nrru 003
 
Nrru 004
Nrru 004Nrru 004
Nrru 004
 
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 pptสมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
 
พรหมวิหาร 4 สมถกัมมัฏฐาน ppt
พรหมวิหาร 4 สมถกัมมัฏฐาน pptพรหมวิหาร 4 สมถกัมมัฏฐาน ppt
พรหมวิหาร 4 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
Nrru 001
Nrru 001Nrru 001
Nrru 001
 
Nrru 002
Nrru 002Nrru 002
Nrru 002
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
วิธีลดขนาดไฟล์ Microsoft word ให้เล็กลง
วิธีลดขนาดไฟล์ Microsoft word ให้เล็กลงวิธีลดขนาดไฟล์ Microsoft word ให้เล็กลง
วิธีลดขนาดไฟล์ Microsoft word ให้เล็กลง
 
Calculated : Evaluating Brand Strategy
Calculated : Evaluating Brand StrategyCalculated : Evaluating Brand Strategy
Calculated : Evaluating Brand Strategy
 
Maryland's Community Development Budget
Maryland's Community Development BudgetMaryland's Community Development Budget
Maryland's Community Development Budget
 

Similaire à 05 standard cost & flexible budget (10)

ทดสอบการอัพโหลดครั้งที่3
ทดสอบการอัพโหลดครั้งที่3ทดสอบการอัพโหลดครั้งที่3
ทดสอบการอัพโหลดครั้งที่3
 
การผลิตและต้นทุนการผลิต
การผลิตและต้นทุนการผลิตการผลิตและต้นทุนการผลิต
การผลิตและต้นทุนการผลิต
 
Thai budget
Thai budgetThai budget
Thai budget
 
Thai budget
Thai budgetThai budget
Thai budget
 
รายได้มาจากไหน
รายได้มาจากไหนรายได้มาจากไหน
รายได้มาจากไหน
 
บัญชี
บัญชีบัญชี
บัญชี
 
SROI of Community Development
SROI of Community DevelopmentSROI of Community Development
SROI of Community Development
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
 
8 abc
8 abc8 abc
8 abc
 
8 abc
8 abc8 abc
8 abc
 

Plus de pop Jaturong

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
pop Jaturong
 

Plus de pop Jaturong (20)

3
33
3
 
5
55
5
 
4
44
4
 
2
22
2
 
1
11
1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security
 

05 standard cost & flexible budget