SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  3
Télécharger pour lire hors ligne
แนวคิด “กินเพื่อสุขภาพ” ไม่ใช่สิ่งที่ห่างไกลไปจากสารับอาหารของคนไทย ยิ่งไปกว่า
นั้น ภาพลักษณ์ของ “อาหารไทย” ที่ขจรขจายไปสู่ดินแดนทุกทวีปทั่วโลก โดยขณะนี้มีจานวน
ร้านอาหารไทยเกือบ ๒๐,๐๐๐ ร้านในต่างแดนนั้น มีพี้นฐานความนิยมมาจากการเป็นอาหาร
บารุงสุขภาพ
กระนั้น อาหารปกติในชีวิตประจาวันไม่อาจตอบสนองความต้องการมี “สุขภาพดี” ในระดับที่
คนไทยยุคปัจจุบันคาดหวังได้
ทุกวันนี้ คนไทยนับล้านหวังพึ่งอาหารอีกรูปแบบหนึ่งเพื่อผลในการบารุงสุขภาพ เรียกรวมๆ ได้
ว่า ผลิ ต ภัณ ฑ์ อาหารเพื่อสุ ข ภาพ ที่ห มายความรวมได้ว่า เป็ นสารอาหารในปริ มาณเข้ มข้น อัน มี
ความสาคัญและจาเป็นต่อสุขภาพร่างกาย ได้แก่ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน เกลือแร่ และ
รวมถึงสารอาหารพวกช่วยย่อยเอนไซม์และกากใย โดยผลิตขึ้นในรูปผง เกล็ด เม็ด แคปซูล และของเหลว
เพื่อประโยชน์ในการรับประทานเพิ่มเติม ป้องกัน หรือบาบัด ส่วนใหญ่มักจะเป็นอาหารที่สกัดหรือ
สังเคราะห์จากผลิตภัณฑ์ทั้งพืชและสัตว์ในธรรมชาติ โดยที่มีการพิสูจน์ทดลองให้ผู้บริโภคเชื่อได้ว่าจะไม่
ส่งผลข้างเคียงร้ายแรงต่อร่างกาย สามารถบริโภคได้บ่อยครั้งกว่ายา
อาหารประเภทนี้เป็นที่นิยมสูงขึ้นเรื่อยๆ โดยข้อมูลในปี ๒๕๕๑ มูลค่าตลาดอาหารเสริมเพื่อ
สุขภาพในบ้านเราจะมีมูลค่าถึง ๘,๐๐๐ ล้านบาท ยังไม่รวมกับสินค้าประเภทเครื่องออกกาลังกายอีก
๒,๐๐๐ ล้านบาท ตามที่มีข้อมูลอ้างอิงได้ว่าในทวีปเอเชีย โดยเฉพาะประเทศญี่ปุ่น อาหารเพื่อสุขภาพ
ประสบความสาเร็จอย่างต่อเนื่องและยังจะเติบโตได้ดีกว่าตลาดในสหรัฐอเมริกาและยุโรป
ประเภทของอาหารเพื่อสุขภาพที่ คนไทยนิยมกันมากก็คือ เครื่องดื่ม โดยที่ในแต่ละปีได้มีการ
แข่งขันกันมากขึ้น เห็นได้จากความหลากหลายของทั้งประเภทเครื่องดื่ม อาหารหรือขนมขบเคี้ยว เพราะ
นอกจากเครื่องดื่มบารุงสุขภาพที่สร้างจุดขายด้วยการเติมสารที่ให้ประโยชน์นานาชนิดลงไปแล้ว ยังมี

๑
อาหารจานด่วนอย่ า งไก่ อบที่ เน้ น เครื่ อ งเทศ สมุน ไพรไทย และแม้ก ระทั่ งหมากฝรั่ ง ก็ ยั งมี ก ารเติ ม
สารอาหารบางชนิดลงไปด้วย
ทุกวันนี้ บนฉลาก ข้างกล่องหรือบรรจุภัณฑ์ขนาดต่างๆ จึงเต็มไปด้วยข้อมูลเพื่อการตัดสินใจใน
การเลือกซื้ออาหารเพื่อสุขภาพ ผ่านศัพท์แสงที่เป็นชื่อของสารอาหารนานาชนิด ตัวอย่างเช่น กากใย เลซิ
ติน คอลลาเจน เกสรผึ้ง สาหร่ายเกลียวทอง คลอโรฟิล จมูกข้าวสาลี บริวเวอร์ยีสต์ ฯลฯ
ทัศนคติและพฤติกรรมของผู้บริโภคต่ออาหารสร้างสุขภาพ โดย กนิษฐา หมู่งูเหลือม
และ วัฒนธรรมบริโภคนิยมกับอาหารเพื่อสุขภาพในบริบทสังคมเมือง โดย ธนภูมิ อติเวทิน๒
เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยที่ให้ความสนใจต่อที่มา พัฒนาการ และเงื่อนไขปัจจัยที่ทาให้คนไทยยุคปัจจุบัน
หันมานิยมและพึ่งพาอาหารสุขภาพมาถึงเพียงนี้
ผู้วิจั ย ทั้ งสองวิ เคราะห์ ตรงกั น ว่ า ผู้บ ริ โภคส่ วนใหญ่ ในปั จ จุ บั น ปรั บ มุมมองใหม่ว่าการดูแ ล
สุขภาพเป็นการลดความสี่ยง หรือช่วยป้องกันการเกิดโรคได้มากกว่า เพราะการดูแลสุขภาพมิใช่เพียงแค่
การไม่เป็นโรค แต่คือการทาให้สุขภาพกายดีและสุขภาพใจสมบูรณ์ ด้วยการออกกาลังกาย งดเหล้าบุหรี่
มีเวลาพักผ่อน รวมทั้งการเลือกกินอาหารที่ดี และเมื่อผู้บริโภคใส่ใจในเรื่องอาหารมากขึ้น จึงส่งผลให้
ตลาดอาหารเพื่อสุขภาพขยายตัวเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง
งานของกนิษฐาซึ่งเรียกอาหารกลุ่มนี้ว่า “อาหารสร้างสุขภาพ” ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ โดย
การสารวจกลุ่มชายหญิงผู้ใส่ใจในสุขภาพวัย ๒๒–๔๙ ปี ที่อยู่ในกรุงเทพฯ จานวน ๔๐๐ คน พบว่าคน
กลุ่มใหญ่มีสถานภาพโสด และจบการศึกษาระดับปริญญาตรีมากที่สุด
ที่น่าสนใจคือ ผู้ที่ระบุว่าตนรู้จักอาหารสุขภาพลับมีความรู้อย่างผิวเผิน อย่างไรก็ตาม พวกเขาก็
รู้สึกดีเมื่อได้ดูแลสุขภาพตนเองด้วยการกินอาหารสร้างสุขภาพ และเห็นว่าเทคโนโลยีสมัยใหม่ได้ช่วยให้
เกิ ด การพั ฒ นาในวงการอาหารนี้ รวมทั้ ง เห็ น ว่ า อาหารสร้ า งสุ ข ภาพช่ ว ยป้ อ งกั น การเจ็ บ ป่ ว ยได้
กลุ่มเป้าหมายนี้ซื้อเครื่องดื่มประเภทนมถั่วเหลืองแคลเซียมสูงมาบริโภคมากกว่าและบ่อยครั้งกว่านม
ชนิดอื่น ส่วนเครื่องดื่มประเภทอื่นที่เลือกรองลงไปคือ น้าผลไม้ และเครื่องดื่มอื่นๆ เช่น ชาเขียวหรือ
เครื่องดื่มธัญญาหารสาเร็จรูปผสมใยอาหาร
ส่วนงานของธนภูมิ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์เจาะลึกกลุ่มผู้ใหญ่ชายหญิง วัย
๔๑–๕๕ ปีจานวน ๒๔ รายที่อยู่ในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล เขาแบ่งกลุ่มเป้าหมายออกเป็น ๓ กลุ่ม
ตามลักษณะอาชีพ คือ ข้าราชการ พนักงานบริษัทเอกชน และกลุ่มอาชีพอิสระ
ปัญหาเดียวกันที่คนวัยนี้ต้องเผชิญก็คือ ขาดเวลาพักผ่อนและขาดการออกกาลังกายที่จาเป็น
จากสาเหตุคือมีช่ วงเวลาการทางานที่ยาวนานมากกว่าซึ่งทาให้เกิดความเครียดตามมา คนกลุ่มนี้ มี
เป้าหมายบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพทั้งเพื่อการป้องกันและการรักษาโรค ดังนั้น สาหรับคนในวัยผู้ใหญ่จึง
มีความพร้อมที่จะลงทุนเพื่อสุขภาพ โดยการซื้ออาหารเพื่อสุขภาพแม้มีราคาสูง ยอมลงทุนด้านเวลาและ
ความเอาใจใส่ที่ต้องบริโภคอย่างต่อเนื่อง และหากิจกรรมในการเพิ่มศักยภาพร่างกายของตนเอง

๒
จากการศึกษาของธนภูมิ พบว่าวัฒนธรรมบริโภคนิยมมีอิทธิพลสูงมากต่อพฤติกรรมการบริโภค
อาหารเพื่อสุขภาพ โดยการที่คนๆ หนึ่งจะตัดสินใจซื้ออาหารดังกล่าวขึ้นกับ ๒ ปัจจัยคือ ปัจจัยแวดล้อม
โดยเฉพาะคนใกล้ชิดที่มีส่วนสร้างแรงจูงใจ กับอีกปัจจัยหนึ่งคือ อิทธิพลของสื่อการโฆษณา
เป็นเรื่องน่าคิดว่าผู้บริโภคพากันให้ความสนใจต่ออาหารเพื่อสุขภาพที่มีหลักการว่าผลิตหรือ
สังเคราะห์มาจากธรรมชาติ ซึ่งสื่อนัยถึงความสะอาด บริสุทธิ์ ไม่เป็นอันตราย แต่ขณะเดียวกันผู้บริโภค
เองกลับมีวิถีการกินอยู่ที่ห่างไกลจากความเป็นธรรมชาติแม้เพียงเรื่องง่ายๆ ในชีวิตประจาวัน เช่น การกิน
วิตามินแทนที่จะกินผักผลไม้สด การเลือกใช้ลิฟต์แทนการขึ้นลงบันได หรือการจัดดอกไม้เทียมใส่ใน
แจกันแทนดอกไม้สด ทั้งที่ต้องการสร้างความชุ่มชื่นให้แก่จิตใจ เป็นต้น
งานวิจัยทั้งสองชิ้นนี้ได้ฝากประเด็นที่น่าสนใจและชวนให้ใคร่ครวญถึงชีวิตและจิตใจของคนไทย
เราในวันนี้ เพราะสิ่งที่เรากินนั้นคือคือเครื่องสะท้อนลึกไปถึงตัวตน ดังประโยคที่ว่า
“You are what you eat”
๑

กนิษฐา หมู่งูเหลือม. ทัศนคติและพฤติกรรมของผู้บริโภคต่ออาหารสร้างสุขภาพ. วิทยานิพนธ์
ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการการโฆษณา คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๑.
๒
ธนภู มิ อติ เ วทิ น . วั ฒ นธรรมบริ โภคนิ ย มกับ อาหารเพื่ อ สุ ขภาพในบริบ ทสั ง คมเมื อง.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต , สาขาวิชามานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ,
๒๕๔๓.

๓

Contenu connexe

Tendances

Columnis
ColumnisColumnis
Columnis
Sangsue
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
Phet103
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
sivakorn35
 
โครงงานดูแลสุขภาพ
โครงงานดูแลสุขภาพโครงงานดูแลสุขภาพ
โครงงานดูแลสุขภาพ
natthawat_fung
 
อาหารสุขภาพ 5
อาหารสุขภาพ 5อาหารสุขภาพ 5
อาหารสุขภาพ 5
Utai Sukviwatsirikul
 
ความทุกข์
ความทุกข์ความทุกข์
ความทุกข์
kawpod
 

Tendances (17)

Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 
Columnis
ColumnisColumnis
Columnis
 
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23 การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
การดูแลสุขภาพ ธนภรณ์ ม.1 ห้อง 3 เลขที่ 23
 
การดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพการดูแลสุขภาพ
การดูแลสุขภาพ
 
สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก
 สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก
สุขภาพดีด้วยโปรไบโอติก
 
50
5050
50
 
Nutrition
NutritionNutrition
Nutrition
 
โครงงานดูแลสุขภาพ
โครงงานดูแลสุขภาพโครงงานดูแลสุขภาพ
โครงงานดูแลสุขภาพ
 
อาหารสุขภาพ 5
อาหารสุขภาพ 5อาหารสุขภาพ 5
อาหารสุขภาพ 5
 
Health1 1-2
Health1 1-2Health1 1-2
Health1 1-2
 
ความทุกข์
ความทุกข์ความทุกข์
ความทุกข์
 
Clu11
Clu11Clu11
Clu11
 
Clu11
Clu11Clu11
Clu11
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevt
 
อาหารชีวจิต
อาหารชีวจิตอาหารชีวจิต
อาหารชีวจิต
 
Presentation final project
Presentation final projectPresentation final project
Presentation final project
 

En vedette

Scapula & gh major project
Scapula & gh major projectScapula & gh major project
Scapula & gh major project
nickie3513
 
1.1.4. the principles_of_training
1.1.4. the principles_of_training1.1.4. the principles_of_training
1.1.4. the principles_of_training
mcorbett81
 
อาหารสุขภาพ 6
อาหารสุขภาพ 6อาหารสุขภาพ 6
อาหารสุขภาพ 6
Utai Sukviwatsirikul
 
9789740331766
97897403317669789740331766
9789740331766
CUPress
 
Blood group association
Blood group associationBlood group association
Blood group association
Raghu Veer
 
Health Course Chapter 1
Health Course Chapter 1Health Course Chapter 1
Health Course Chapter 1
krobinette
 

En vedette (20)

Scapula & gh major project
Scapula & gh major projectScapula & gh major project
Scapula & gh major project
 
1.1.4. the principles_of_training
1.1.4. the principles_of_training1.1.4. the principles_of_training
1.1.4. the principles_of_training
 
อาหารสุขภาพ 6
อาหารสุขภาพ 6อาหารสุขภาพ 6
อาหารสุขภาพ 6
 
9789740331766
97897403317669789740331766
9789740331766
 
Blood group association
Blood group associationBlood group association
Blood group association
 
Building climate change resilience in mountains: evidence from Bhutan, Guatem...
Building climate change resilience in mountains: evidence from Bhutan, Guatem...Building climate change resilience in mountains: evidence from Bhutan, Guatem...
Building climate change resilience in mountains: evidence from Bhutan, Guatem...
 
6 Steps for Healthy Living in Sri Lanka
6 Steps for Healthy Living in Sri Lanka6 Steps for Healthy Living in Sri Lanka
6 Steps for Healthy Living in Sri Lanka
 
Burn the fat
Burn the fatBurn the fat
Burn the fat
 
ข้อปฎิบัติผลิตภัณท์สุขภาพ
ข้อปฎิบัติผลิตภัณท์สุขภาพข้อปฎิบัติผลิตภัณท์สุขภาพ
ข้อปฎิบัติผลิตภัณท์สุขภาพ
 
Health Course Chapter 1
Health Course Chapter 1Health Course Chapter 1
Health Course Chapter 1
 
Body systems
Body systemsBody systems
Body systems
 
3 p.e. lm q2
3 p.e. lm q23 p.e. lm q2
3 p.e. lm q2
 
9789740335719
97897403357199789740335719
9789740335719
 
Health Science Chapter 1
Health Science Chapter 1Health Science Chapter 1
Health Science Chapter 1
 
Injury prevention
Injury preventionInjury prevention
Injury prevention
 
Improve Performance & Decrease Injury - A Sports Physiotherapy Update
Improve Performance & Decrease Injury - A Sports Physiotherapy UpdateImprove Performance & Decrease Injury - A Sports Physiotherapy Update
Improve Performance & Decrease Injury - A Sports Physiotherapy Update
 
Responsbibilities of-a-christian
Responsbibilities of-a-christianResponsbibilities of-a-christian
Responsbibilities of-a-christian
 
HERB
HERBHERB
HERB
 
Booker T Washington
Booker T WashingtonBooker T Washington
Booker T Washington
 
Biology notes - topic 7 [UNFINISHED]
Biology notes -  topic 7 [UNFINISHED]Biology notes -  topic 7 [UNFINISHED]
Biology notes - topic 7 [UNFINISHED]
 

Similaire à อาหารสุขภาพ 1

10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร
Panjaree Bungong
 
การดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเองการดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเอง
Da Arsisa
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
Panjaree Bungong
 
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติก
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติกโครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติก
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติก
iooido
 
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติก
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติกโครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติก
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติก
iooido
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
Raveewin Bannsuan
 

Similaire à อาหารสุขภาพ 1 (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพแผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
แผนการเรียนรู้ เรื่อง โภชนาการกับสุขภาพ
 
อาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดอาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือด
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
การดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเองการดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเอง
 
การดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเองการดูแลสุขภาพตนเอง
การดูแลสุขภาพตนเอง
 
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
10 สุดยอดอาหารที่ควรทานทุก
 
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติก
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติกโครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติก
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติก
 
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติก
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติกโครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติก
โครงงานครั้งที่ 2.ppt โพรไบโอติก
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
 
Being healthy and happy life would designed by yourself
Being healthy and happy life would designed by yourselfBeing healthy and happy life would designed by yourself
Being healthy and happy life would designed by yourself
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
 
hypertension guidebook
hypertension guidebookhypertension guidebook
hypertension guidebook
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.
กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.
กฎหมายเกี่ยวกับผู้บริโภค อย.
 
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัยองค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย
 

Plus de Utai Sukviwatsirikul

Plus de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

อาหารสุขภาพ 1

  • 1. แนวคิด “กินเพื่อสุขภาพ” ไม่ใช่สิ่งที่ห่างไกลไปจากสารับอาหารของคนไทย ยิ่งไปกว่า นั้น ภาพลักษณ์ของ “อาหารไทย” ที่ขจรขจายไปสู่ดินแดนทุกทวีปทั่วโลก โดยขณะนี้มีจานวน ร้านอาหารไทยเกือบ ๒๐,๐๐๐ ร้านในต่างแดนนั้น มีพี้นฐานความนิยมมาจากการเป็นอาหาร บารุงสุขภาพ กระนั้น อาหารปกติในชีวิตประจาวันไม่อาจตอบสนองความต้องการมี “สุขภาพดี” ในระดับที่ คนไทยยุคปัจจุบันคาดหวังได้ ทุกวันนี้ คนไทยนับล้านหวังพึ่งอาหารอีกรูปแบบหนึ่งเพื่อผลในการบารุงสุขภาพ เรียกรวมๆ ได้ ว่า ผลิ ต ภัณ ฑ์ อาหารเพื่อสุ ข ภาพ ที่ห มายความรวมได้ว่า เป็ นสารอาหารในปริ มาณเข้ มข้น อัน มี ความสาคัญและจาเป็นต่อสุขภาพร่างกาย ได้แก่ โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต วิตามิน เกลือแร่ และ รวมถึงสารอาหารพวกช่วยย่อยเอนไซม์และกากใย โดยผลิตขึ้นในรูปผง เกล็ด เม็ด แคปซูล และของเหลว เพื่อประโยชน์ในการรับประทานเพิ่มเติม ป้องกัน หรือบาบัด ส่วนใหญ่มักจะเป็นอาหารที่สกัดหรือ สังเคราะห์จากผลิตภัณฑ์ทั้งพืชและสัตว์ในธรรมชาติ โดยที่มีการพิสูจน์ทดลองให้ผู้บริโภคเชื่อได้ว่าจะไม่ ส่งผลข้างเคียงร้ายแรงต่อร่างกาย สามารถบริโภคได้บ่อยครั้งกว่ายา อาหารประเภทนี้เป็นที่นิยมสูงขึ้นเรื่อยๆ โดยข้อมูลในปี ๒๕๕๑ มูลค่าตลาดอาหารเสริมเพื่อ สุขภาพในบ้านเราจะมีมูลค่าถึง ๘,๐๐๐ ล้านบาท ยังไม่รวมกับสินค้าประเภทเครื่องออกกาลังกายอีก ๒,๐๐๐ ล้านบาท ตามที่มีข้อมูลอ้างอิงได้ว่าในทวีปเอเชีย โดยเฉพาะประเทศญี่ปุ่น อาหารเพื่อสุขภาพ ประสบความสาเร็จอย่างต่อเนื่องและยังจะเติบโตได้ดีกว่าตลาดในสหรัฐอเมริกาและยุโรป ประเภทของอาหารเพื่อสุขภาพที่ คนไทยนิยมกันมากก็คือ เครื่องดื่ม โดยที่ในแต่ละปีได้มีการ แข่งขันกันมากขึ้น เห็นได้จากความหลากหลายของทั้งประเภทเครื่องดื่ม อาหารหรือขนมขบเคี้ยว เพราะ นอกจากเครื่องดื่มบารุงสุขภาพที่สร้างจุดขายด้วยการเติมสารที่ให้ประโยชน์นานาชนิดลงไปแล้ว ยังมี ๑
  • 2. อาหารจานด่วนอย่ า งไก่ อบที่ เน้ น เครื่ อ งเทศ สมุน ไพรไทย และแม้ก ระทั่ งหมากฝรั่ ง ก็ ยั งมี ก ารเติ ม สารอาหารบางชนิดลงไปด้วย ทุกวันนี้ บนฉลาก ข้างกล่องหรือบรรจุภัณฑ์ขนาดต่างๆ จึงเต็มไปด้วยข้อมูลเพื่อการตัดสินใจใน การเลือกซื้ออาหารเพื่อสุขภาพ ผ่านศัพท์แสงที่เป็นชื่อของสารอาหารนานาชนิด ตัวอย่างเช่น กากใย เลซิ ติน คอลลาเจน เกสรผึ้ง สาหร่ายเกลียวทอง คลอโรฟิล จมูกข้าวสาลี บริวเวอร์ยีสต์ ฯลฯ ทัศนคติและพฤติกรรมของผู้บริโภคต่ออาหารสร้างสุขภาพ โดย กนิษฐา หมู่งูเหลือม และ วัฒนธรรมบริโภคนิยมกับอาหารเพื่อสุขภาพในบริบทสังคมเมือง โดย ธนภูมิ อติเวทิน๒ เป็นส่วนหนึ่งของงานวิจัยที่ให้ความสนใจต่อที่มา พัฒนาการ และเงื่อนไขปัจจัยที่ทาให้คนไทยยุคปัจจุบัน หันมานิยมและพึ่งพาอาหารสุขภาพมาถึงเพียงนี้ ผู้วิจั ย ทั้ งสองวิ เคราะห์ ตรงกั น ว่ า ผู้บ ริ โภคส่ วนใหญ่ ในปั จ จุ บั น ปรั บ มุมมองใหม่ว่าการดูแ ล สุขภาพเป็นการลดความสี่ยง หรือช่วยป้องกันการเกิดโรคได้มากกว่า เพราะการดูแลสุขภาพมิใช่เพียงแค่ การไม่เป็นโรค แต่คือการทาให้สุขภาพกายดีและสุขภาพใจสมบูรณ์ ด้วยการออกกาลังกาย งดเหล้าบุหรี่ มีเวลาพักผ่อน รวมทั้งการเลือกกินอาหารที่ดี และเมื่อผู้บริโภคใส่ใจในเรื่องอาหารมากขึ้น จึงส่งผลให้ ตลาดอาหารเพื่อสุขภาพขยายตัวเติบโตขึ้นอย่างต่อเนื่อง งานของกนิษฐาซึ่งเรียกอาหารกลุ่มนี้ว่า “อาหารสร้างสุขภาพ” ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ โดย การสารวจกลุ่มชายหญิงผู้ใส่ใจในสุขภาพวัย ๒๒–๔๙ ปี ที่อยู่ในกรุงเทพฯ จานวน ๔๐๐ คน พบว่าคน กลุ่มใหญ่มีสถานภาพโสด และจบการศึกษาระดับปริญญาตรีมากที่สุด ที่น่าสนใจคือ ผู้ที่ระบุว่าตนรู้จักอาหารสุขภาพลับมีความรู้อย่างผิวเผิน อย่างไรก็ตาม พวกเขาก็ รู้สึกดีเมื่อได้ดูแลสุขภาพตนเองด้วยการกินอาหารสร้างสุขภาพ และเห็นว่าเทคโนโลยีสมัยใหม่ได้ช่วยให้ เกิ ด การพั ฒ นาในวงการอาหารนี้ รวมทั้ ง เห็ น ว่ า อาหารสร้ า งสุ ข ภาพช่ ว ยป้ อ งกั น การเจ็ บ ป่ ว ยได้ กลุ่มเป้าหมายนี้ซื้อเครื่องดื่มประเภทนมถั่วเหลืองแคลเซียมสูงมาบริโภคมากกว่าและบ่อยครั้งกว่านม ชนิดอื่น ส่วนเครื่องดื่มประเภทอื่นที่เลือกรองลงไปคือ น้าผลไม้ และเครื่องดื่มอื่นๆ เช่น ชาเขียวหรือ เครื่องดื่มธัญญาหารสาเร็จรูปผสมใยอาหาร ส่วนงานของธนภูมิ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์เจาะลึกกลุ่มผู้ใหญ่ชายหญิง วัย ๔๑–๕๕ ปีจานวน ๒๔ รายที่อยู่ในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑล เขาแบ่งกลุ่มเป้าหมายออกเป็น ๓ กลุ่ม ตามลักษณะอาชีพ คือ ข้าราชการ พนักงานบริษัทเอกชน และกลุ่มอาชีพอิสระ ปัญหาเดียวกันที่คนวัยนี้ต้องเผชิญก็คือ ขาดเวลาพักผ่อนและขาดการออกกาลังกายที่จาเป็น จากสาเหตุคือมีช่ วงเวลาการทางานที่ยาวนานมากกว่าซึ่งทาให้เกิดความเครียดตามมา คนกลุ่มนี้ มี เป้าหมายบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพทั้งเพื่อการป้องกันและการรักษาโรค ดังนั้น สาหรับคนในวัยผู้ใหญ่จึง มีความพร้อมที่จะลงทุนเพื่อสุขภาพ โดยการซื้ออาหารเพื่อสุขภาพแม้มีราคาสูง ยอมลงทุนด้านเวลาและ ความเอาใจใส่ที่ต้องบริโภคอย่างต่อเนื่อง และหากิจกรรมในการเพิ่มศักยภาพร่างกายของตนเอง ๒
  • 3. จากการศึกษาของธนภูมิ พบว่าวัฒนธรรมบริโภคนิยมมีอิทธิพลสูงมากต่อพฤติกรรมการบริโภค อาหารเพื่อสุขภาพ โดยการที่คนๆ หนึ่งจะตัดสินใจซื้ออาหารดังกล่าวขึ้นกับ ๒ ปัจจัยคือ ปัจจัยแวดล้อม โดยเฉพาะคนใกล้ชิดที่มีส่วนสร้างแรงจูงใจ กับอีกปัจจัยหนึ่งคือ อิทธิพลของสื่อการโฆษณา เป็นเรื่องน่าคิดว่าผู้บริโภคพากันให้ความสนใจต่ออาหารเพื่อสุขภาพที่มีหลักการว่าผลิตหรือ สังเคราะห์มาจากธรรมชาติ ซึ่งสื่อนัยถึงความสะอาด บริสุทธิ์ ไม่เป็นอันตราย แต่ขณะเดียวกันผู้บริโภค เองกลับมีวิถีการกินอยู่ที่ห่างไกลจากความเป็นธรรมชาติแม้เพียงเรื่องง่ายๆ ในชีวิตประจาวัน เช่น การกิน วิตามินแทนที่จะกินผักผลไม้สด การเลือกใช้ลิฟต์แทนการขึ้นลงบันได หรือการจัดดอกไม้เทียมใส่ใน แจกันแทนดอกไม้สด ทั้งที่ต้องการสร้างความชุ่มชื่นให้แก่จิตใจ เป็นต้น งานวิจัยทั้งสองชิ้นนี้ได้ฝากประเด็นที่น่าสนใจและชวนให้ใคร่ครวญถึงชีวิตและจิตใจของคนไทย เราในวันนี้ เพราะสิ่งที่เรากินนั้นคือคือเครื่องสะท้อนลึกไปถึงตัวตน ดังประโยคที่ว่า “You are what you eat” ๑ กนิษฐา หมู่งูเหลือม. ทัศนคติและพฤติกรรมของผู้บริโภคต่ออาหารสร้างสุขภาพ. วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการการโฆษณา คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๕๑. ๒ ธนภู มิ อติ เ วทิ น . วั ฒ นธรรมบริ โภคนิ ย มกับ อาหารเพื่ อ สุ ขภาพในบริบ ทสั ง คมเมื อง. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต , สาขาวิชามานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , ๒๕๔๓. ๓