SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  16
Télécharger pour lire hors ligne
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๔) 1
2
เนื้อหาแนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย
ค�ำจ�ำกัดความ
	 โรคที่มีความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายชนิดที่มีอาการแสดง
ทางจมูก เกิดจากได้รับสารก่อภูมิแพ้เข้าไป ท�ำปฏิกิริยากับ IgE ชนิดจ�ำเพาะต่อสารก่อ
ภูมิแพ้นั้นแล้วเกิดการอักเสบของเยื่อบุจมูก ท�ำให้มีอาการคัน จาม น�้ำมูกไหล และคัด
จมูก ตั้งแต่เป็นน้อยจนถึงเป็นมาก ซึ่งอาจหายได้เองหรือหลังได้รับการรักษา  อาการ
ดังกล่าวท�ำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยแย่ลง ทั้งการนอน การท�ำงานหรือการเรียน
การแบ่งชนิดและความรุนแรง
	 •	การแบ่งชนิดตามความบ่อยของอาการ ได้แก่
	 	 1.	 Intermittent (อาการเป็นช่วงๆ) หมายถึง มีอาการน้อยกว่า 4 วัน
	 	 	 ต่อสัปดาห์ หรือมีอาการติดต่อกันน้อยกว่า 4 สัปดาห์
	 	 2.	 Persistent (อาการเป็นคงที่) หมายถึง มีอาการมากกว่า 4 วัน
	 	 	 ต่อสัปดาห์ และมีอาการติดต่อกันนานกว่า 4 สัปดาห์
	 • การแบ่งความรุนแรงของอาการ แบ่งออกเป็น 2 ระดับ ได้แก่
	 	 1.	 อาการน้อย (mild) คือ 
     	 	 	 • สามารถนอนหลับได้ตามปกติ
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๔) 3
     	 	 	 • ไม่มีผลต่อกิจวัตรประจ�ำวัน  การเล่นกีฬา และ การใช้เวลาว่าง
     	 	 	 • ไม่มีปัญหาต่อการท�ำงานหรือการเรียน
     	 	 	 • อาการไม่ท�ำให้ผู้ป่วยรู้สึกร�ำคาญ
	 	 2.	 อาการปานกลางถึงมาก (moderate to severe)คือ มีอาการในข้อ 1 	
	 	 	 อย่างน้อยหนึ่งอาการ
การวินิจฉัยและวินิจฉัยแยกโรค
	 การซักประวัติและการตรวจร่างกายอย่างละเอียดบริเวณหูคอจมูก  โดยเฉพาะ
ในจมูกต้องท�ำทุกราย  การตรวจร่างกายบริเวณอื่นเช่นตา  ผิวหนัง  และปอดจ�ำเป็น
ส�ำหรับผู้ป่วยบางรายที่มีอาการร่วม การตรวจโพรงจมูกโดยการส่องกล้อง (nasal
endoscopy) ไม่จ�ำเป็นต้องท�ำทุกราย	
	 ค�ำแนะน�ำระดับหนักแน่น ระดับความน่าเชื่อถือของหลักฐานต�่ำ [strong
recommendation, low quality of evidence]
ค�ำแนะน�ำส�ำหรับการตรวจพิเศษ
	 	 1.	 การทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนัง ควรท�ำในผู้ป่วยที่มีประวัติสงสัยว่าจะ	
	 	 	 เป็นโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ และมีอาการปานกลางถึงรุนแรงหรือผู้ป่วย	
	 	 	 ต้องการทดสอบหรือผู้ป่วยที่ต้องการรักษาด้วยวัคซีน(allergen immu-	
	 	 	 notherapy, อิมมูนบ�ำบัด)  
			วิธีที่แนะน�ำคือ วิธีสะกิด ส�ำหรับการฉีดเข้าในผิวหนังให้ท�ำเฉพาะราย
			ที่ท�ำการทดสอบ โดยวิธีสะกิดแล้วได้ผลลบ
4
	 	 2.	 การตรวจหา serum specific IgE เนื่องจากค่าใช้จ่ายสูง จึงควรพิจารณา
	 	 	 ท�ำเฉพาะรายที่ไม่สามารถท�ำการทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนังได้
	 	 3.	 การส่งถ่ายภาพรังสี ให้พิจารณาท�ำเฉพาะรายที่สงสัยว่าอาจมีไซนัส
	 	 	 อักเสบร่วมด้วยและมีปัญหาในการวินิจฉัย			
		ค�ำแนะน�ำระดับหนักแน่น ระดับความน่าเชื่อถือของหลักฐานต�่ำ [strong
recommendation, low quality of evidence]
การรักษา
	 หลักในการรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย ได้แก่
	 	 •	 การให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติในเรื่องการดูแลรักษาสุขภาพตนเอง 	
	 	 	 (Patient education & general  health measures)
	 	 •	 การก�ำจัดหลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้และสารระคาย / การควบคุม
	 	 	 สิ่งแวดล้อม (Allergen avoidance and environmental control)
	 	 •	 การรักษาด้วยยา (Pharmacotherapy)
	 	 •	 การรักษาด้วยวัคซีน (Allergen specific immunotherapy)
การก�ำจัดหลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้และสารระคาย/การควบคุมสิ่งแวดล้อม
มีค�ำแนะน�ำดังนี้
1. การใช้ผ้าคลุมกันไรฝุ่น
	 ค�ำแนะน�ำส�ำหรับการใช้ผ้าคลุมกันไรฝุ่น
	 การใช้ผ้าคลุมกันไรฝุ่นไม่สามารถลดอาการทางจมูกในโรคจมูกอักเสบ
ภูมิแพ้แต่สามารถลดปริมาณสารก่อภูมิแพ้ของไรฝุ่นได้
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๔) 5
	 ค�ำแนะน�ำระดับอ่อน ระดับความน่าเชื่อถือของหลักฐานสูง [weak recom-
mendation, high quality of evidence]
2. การก�ำจัดแมลงสาบ
	 ค�ำแนะน�ำส�ำหรับการก�ำจัดแมลงสาบ
	 วิธีก�ำจัดแมลงสาบที่ได้ผลดีที่สุดในการลดจ�ำนวนและปริมาณสารก่อภูมิแพ้
แมลงสาบคือใช้กับดักที่มียาฆ่าแมลงสาบ
	 ค�ำแนะน�ำระดับอ่อน ระดับความน่าเชื่อถือของหลักฐานปานกลาง [weak
recommendation, moderate quality of evidence]
การรักษาด้วยยา
	 ยาที่ใช้รักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้มีดังนี้
1. ยาต้านฮิสทามีน (Antihistamines)
		1.1	 ยาต้านฮิสทามีนชนิดกิน (oral H1-antihistamine)
	 ยาต้านฮิสทามีนรุ่นที่ 1  มีผลข้างเคียง (เช่น อาการง่วงนอน, อาการปากแห้ง,
คอแห้ง  เสมหะ และน�้ำมูกข้นเหนียว ซึ่งเป็น anticholinergic effects , fatigue และ
irritability โดยเฉพาะในเด็กเล็ก) มากกว่า ยาต้านฮิสทามีนรุ่นที่ 2 จึงแนะน�ำให้ใช้
รุ่นที่ 2 มากกว่า   
	 ข้อบ่งชี้ในการใช้ยาต้านฮิสทามีนคือผู้ป่วยโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ ที่มีอาการ
คัน, จาม, น�้ำมูกไหล ซึ่งมีอาการเป็นช่วงๆ หรือมีอาการไม่มาก ถ้ามีอาการเป็นคงที่
หรือมีอาการปานกลาง-มาก มักให้ร่วมกับยาชนิดอื่น
6
	 1.2	 ยาต้านฮิสทามีนชนิดเฉพาะที่ (topical H1-antihistamine))
	 ปัจจุบันยาต้านฮิสทามีนพ่นจมูกไม่มีจ�ำหน่ายในประเทศไทย
	 1.3	 ยาต้านฮิสทามีนผสมกับยาหดหลอดเลือด (H1- antihistamine 		
			 +decongestant)
	 จุดประสงค์ของการผสมยาทั้ง 2 ชนิดเข้าด้วยกัน คือ ช่วยบรรเทาอาการคัด
จมูกของผู้ป่วยโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ได้เพิ่มขึ้น  ซึ่งยาต้านฮิสทามีนมีฤทธิ์ดังกล่าวน้อย
ยาต้านฮิสทามีนผสมกับยาหดหลอดเลือดที่เป็น fixed dose combination ไม่แนะน�ำให้
ใช้ต่อเนื่องเป็นประจ�ำ เนื่องจากอาจมีผลที่ไม่พึงประสงค์จาก decongestant
คําแนะนําสําหรับการรักษาด้วยยาต้านฮิสทามีน
	 แนะน�ำให้ใช้ยาต้านฮิสทามีนรุ่นที่ 2   ในการรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้
เนื่องจากได้ผลดี มีความปลอดภัย  ในเด็กอายุต�่ำกว่า 2 ปี ควรใช้ด้วยความระมัดระวัง
โดยควรพิจารณาระหว่างผลที่ได้กับผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น
	 ค�ำแนะน�ำระดับหนักแน่น ระดับความน่าเชื่อถือของหลักฐานสูง [strong
recommendation, high quality of evidence]
2. ยาสตีรอยด์พ่นจมูก (Nasal corticosteroids)
	 ยาสตีรอยด์พ่นจมูกเป็นยาที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุมอาการของ
โรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ มีความปลอดภัยสูงในขนาดยาที่ใช้ในการรักษา ควรเลือกใช้ยา
สตีรอยด์พ่นจมูกเป็นอันดับแรกในผู้ป่วยที่อาการเป็นคงที่ (persistent) และอาการ
ปานกลางถึงมากหรือมีอาการคัดจมูกมาก   
	 ค�ำแนะน�ำระดับหนักแน่น ระดับความน่าเชื่อถือของหลักฐานสูง [strong
recommendation, high quality of evidence]
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๔) 7
	 ยาสตีรอยด์พ่นจมูกสามารถใช้ได้อย่างปลอดภัยในเด็กอายุมากกว่าหรือ
เท่ากับ 2 ปี แต่ควรใช้ด้วยความระมัดระวังภายใต้ข้อบ่งชี้ และหยุดยาเมื่อหมดความ
จ�ำเป็น
              การให้ยาสตีรอยด์พ่นจมูกมีประสิทธิภาพในการรักษามากกว่าการให้ยาต้าน
ฮีสทามีนร่วมกับ antileukotrienes
ค�ำแนะน�ำระดับหนักแน่น ระดับความน่าเชื่อถือของหลักฐานสูง [strong
recommendation, high quality of evidence]
                การให้ยาต้านฮิสทามีนชนิดกินร่วมกับยาพ่นจมูกสตีรอยด์อาจท�ำให้ผลการ
รักษาดีขึ้น เร็วกว่าการให้ยาพ่นจมูกสตีรอยด์อย่างเดียว แต่ผลการรักษาในระยะยาว
ไม่ต่างกัน
	 ค�ำแนะน�ำระดับอ่อน ระดับความน่าเชื่อถือของหลักฐานปานกลาง [weak
recommendation, moderate quality of evidence]
3. Antileukotrienes 	
	 ได้รับการรับรองให้ใช้ในการรักษาโรคหืดและโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้
โดยพบว่าเมื่อใช้ montelukast อย่างเดียวมีฤทธิ์เท่าเทียมกับยาต้านฮิสทามีนรุ่นที่   2  
ถ้าใช้ยานี้ร่วมกับยาต้านฮิสทามีนจะได้ผลมากขึ้นกว่าการใช้ยานี้อย่างเดียว ยานี้มีฤทธิ์
น้อยกว่าการรักษาด้วยยาพ่นจมูกสตีรอยด์
4. Cromones (Sodium cromoglycate, nedocromil)
	 เป็นยาพ่นจมูกที่ปลอดภัยและมีผลข้างเคียงน้อย ปัจจุบันยานี้ไม่มีจ�ำหน่าย
ในประเทศไทย
8
5. ยาหดหลอดเลือด (Decongestants)
	 ใช้เพื่อลดอาการคัดจมูกเป็นหลัก ยาชนิดกินควรใช้อย่างระมัดระวัง  เนื่องจาก
อาจท�ำให้เกิด ผลข้างเคียงได้คือ กระสับกระส่าย หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ เวียนศีรษะ
ปวดหัว มือสั่น นอนไม่หลับ นอกจากนี้ควรหลีกเลี่ยงการใช้ในผู้ป่วยที่เป็นต้อหิน
ต่อมลูกหมากโต ไทรอยด์เป็นพิษ ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด หญิง
ตั้งครรภ์ ผู้ป่วยมีปัญหาทางจิต
	 ยาชนิดพ่น/หยอดทางจมูก ถ้าใช้ต่อเนื่องนานเกิน 5 วัน อาจท�ำให้เกิดอาการ
กลับมาคัดแน่นจมูกมากขึ้นหลังหยุดยา(rebound congestion)หรือที่เรียกว่า rhinitis
medicamentosa
	 ไม่แนะน�ำให้ใช้ยาหดหลอดเลือดทั้งสองชนิดในเด็กอายุต�่ำกว่า 2 ปี
6. Topical anticholinergic (ipratropium bromide)
	 ใช้ลดอาการน�้ำมูกไหล ปัจจุบันไม่มีตัวแทนจ�ำหน่ายในประเทศไทย
การรักษาด้วยวัคซีน (Allergen immunotherapy)
ค�ำแนะน�ำส�ำหรับการรักษาด้วยวัคซีน
	 การรักษาด้วยวัคซีนเป็นการรักษาเสริมจากการแนะน�ำให้ผู้ป่วยก�ำจัด
หลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้ และสารระคายและรักษาด้วยยาในผู้ป่วยที่ตรวจพบมีการแพ้
สารก่อภูมิแพ้ชัดเจน 	
	 โดยจะรักษาเฉพาะในรายที่พิสูจน์ได้ว่าเป็น IgE mediated disease ที่มีอาการ
เป็นเวลานานหรือในรายที่รักษาด้วยยาไม่ได้ผลหรือรักษาด้วยยาแล้วมีผลข้างเคียง
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๔) 9
	 ค�ำแนะน�ำระดับอ่อน ระดับความน่าเชื่อถือของหลักฐานต�่ำ [weak recom-
mendation, low quality of evidenee]
	 วิธีรักษาด้วยวัคซีน แนะน�ำให้ใช้วิธีฉีดใต้ผิวหนังเป็นอันดับแรก การให้วัคซีน
เฉพาะที่ อาจพิจารณาให้เฉพาะรายที่มีอาการข้างเคียงจากการให้วัคซีนชนิดฉีดหรือผู้
ป่วยปฏิเสธการฉีดยา	
	 ในการรักษาด้วยวัคซีน แพทย์จะต้องพิจารณาถึงค่าใช้จ่ายและความสม�่ำเสมอ
ในการมารับการรักษาด้วย
ข้อบ่งชี้ในการส่งต่อผู้ป่วยให้แพทย์ผู้ช�ำนาญเฉพาะทางโรคภูมิแพ้ หรือโสต ศอ
นาสิกแพทย์
	 	 1.	 เมื่อต้องการ การวินิจฉัยที่แน่นอน เช่น ท�ำการทดสอบภูมิแพ้
	 	 	 ทางผิวหนัง
	 	 2.	 การรักษาด้วยยาได้ผลไม่ดีพอ
	 	 3.	 รักษาเป็นเวลานานเกิน 3 เดือน แล้วไม่ดีขึ้น
	 	 4.	 ต้องรับการผ่าตัดรักษาโรคร่วมบางชนิด
	 	 5.	 มี co-morbidity หรือมีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้น
10
การรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ที่เป็นกรณีเฉพาะ (Special consideration)
1. หญิงตั้งครรภ์
	 แนะน�ำให้หลีกเลี่ยงการใช้ยาติดต่อกันใน 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์
ควบคุมอาการด้วยการใช้น�้ำเกลืออุ่น ๆ พ่น/ล้างจมูก และหลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้และ
สารระคายเคืองจมูก หากยังไม่สามารถควบคุมอาการได้ ผู้ป่วยสามารถใช้ยาต้าน
ฮิสทามีน และยาสตีรอยด์พ่นจมูกเป็นครั้งคราว
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๔) 11
กลุ่มยารักษาโรคจมูกอักเสบ และประเภทของยาตามความเสี่ยงในผู้ป่วยตั้งครรภ์
12
หมายเหตุ :	B = ไม่พบความเสี่ยงในมนุษย์ มี  2 ความหมาย คือ
	 	 1.	 จากการศึกษาโดยมีกลุ่มควบคุมในหญิงมีครรภ์ ไม่พบความเสี่ยงต่อ	
	 	 	 ทารกในครรภ์ แม้พบความเสี่ยงในสัตว์ทดลอง หรือ
	 	2.	 การศึกษาโดยมีกลุ่มควบคุมในหญิงมีครรภ์มีไม่เพียงพอ แต่การศึกษา	
	 	 	 ในสัตว์ทดลองไม่   พบผลข้างเคียง ความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์น้อย
	 	 	 มากแต่ยังมีโอกาสเกิดขึ้นได้
	 C = ความเสี่ยงอาจเกิดขึ้นได้ มี 2 ความหมาย คือ
	 	1.	 จากการศึกษาในสัตว์ทดลองพบผลข้างเคียงต่อตัวอ่อน แต่ยังไม่มีการ	
	 	 	 ศึกษาโดยมีกลุ่มควบคุมในมนุษย์ หรือ
	 	 2.	 ยังไม่มีการศึกษาทั้งในสตรีมีครรภ์และสัตว์ทดลอง จึงควรใช้ยากลุ่มนี้	
	 	 	 เมื่อพิจารณาแล้วว่าเกิดประโยชน์มากกว่าความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๔) 13
2. หญิงให้นมบุตร
	 ยาตานฮิสทามีนรุนที่ 2 ได้แก่ loratadine, desloratadine และ fexofenadine ผ่านสู่
น�้ำนมในปริมาณน้อยสามารถใช้ได้ในหญิงให้นมบุตร โดยเฉพาะ loratadine เนื่องจากมี
รายงานว่า ขับออกในน�้ำนมเพียงร้อยละ 0.01 เมื่อให้ยาขนาด 4 เท่าของขนาดปกติ ยาตาน
ฮิสทามีนรุนที่ 1 เช่น brompheniramine, chlorpheniramine, diphenhydramine ไมแนะ
นําใหใช้
	 ยาหดหลอดเลือดชนิดกิน เช่น pseudoephedrine สามารถใช้ได้ในระยะสั้น   
	 ยาสตีรอยด์ ชนิดกินพบว่าขับออกมาทางน�้ำนมได้ จึงไม่แนะน�ำ  ส่วนยาสตีรอยด์
พนจมูก  แนะน�ำให้ใช้ได้ในการรักษา แต่ต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง
3. ผู้สูงอายุ
	 แนะน�ำให้เลือกใช้ยาสตีรอยด์พ่นจมูกหรือยาต้านฮิสทามีนรุ่นที่ 2
4. นักกีฬา
	 แนะน�ำให้เลือกใช้ยาต้านฮิสทามีนรุ่นที่2นอกจากนี้สามารถใช้antileukotrienes,
topical ipratropium bromide ห้ามใช้ ephedrine และหลีกเลี่ยงการใช้ pseudoephedrine,
ส่วนยาสตีรอยด์ชนิดกิน จัดอยู่ในกลุ่มห้ามใช้เช่นกัน แต่ยาสตีรอยด์พ่นจมูก  สามารถใช้ได้
โดยไม่จ�ำเป็นต้องแจ้งต่อคณะกรรมการแข่งขัน
14 แผนภูมิแนวทางการรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ด้วยยา
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๔) 15
หมายเหตุ*ใช้ยาต้านฮิสทามีนก่อนantileukotrienesยกเว้นเมื่อผู้ป่วยมีโรคหืดหรือข้อบ่งชี้อื่น
16

Contenu connexe

Tendances

Clinical Practice Guideline for Acne โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะ
Clinical Practice Guideline for Acne  โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะClinical Practice Guideline for Acne  โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะ
Clinical Practice Guideline for Acne โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะUtai Sukviwatsirikul
 
Management of acute pharyngitis
Management of acute pharyngitisManagement of acute pharyngitis
Management of acute pharyngitisHataitap Chonchep
 
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน sucheera Leethochawalit
 
แนวทางการรักษาสิว 2010
แนวทางการรักษาสิว 2010แนวทางการรักษาสิว 2010
แนวทางการรักษาสิว 2010Utai Sukviwatsirikul
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)BowBow580146
 
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก Utai Sukviwatsirikul
 
แบบบันทึกเคส ยะลา
แบบบันทึกเคส ยะลาแบบบันทึกเคส ยะลา
แบบบันทึกเคส ยะลาCotton On
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reactionAntibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reactionUtai Sukviwatsirikul
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบWan Ngamwongwan
 
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...MedicineAndHealth
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาRachanont Hiranwong
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...Rachanont Hiranwong
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว Utai Sukviwatsirikul
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายDuduan
 

Tendances (20)

Clinical Practice Guideline for Acne โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะ
Clinical Practice Guideline for Acne  โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะClinical Practice Guideline for Acne  โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะ
Clinical Practice Guideline for Acne โดย เพ็ญวดี ทิมพัฒนพงศ์และคณะ
 
Management of acute pharyngitis
Management of acute pharyngitisManagement of acute pharyngitis
Management of acute pharyngitis
 
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
 
แนวทางการรักษาสิว 2010
แนวทางการรักษาสิว 2010แนวทางการรักษาสิว 2010
แนวทางการรักษาสิว 2010
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
 
Rdu
RduRdu
Rdu
 
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
118+heap4+dltv54+550209+a+สไลด์ การปฐมพยาบาล (1 หน้า)
 
Cpg topical steroid usage
Cpg topical steroid usageCpg topical steroid usage
Cpg topical steroid usage
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
 
แบบบันทึกเคส ยะลา
แบบบันทึกเคส ยะลาแบบบันทึกเคส ยะลา
แบบบันทึกเคส ยะลา
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reactionAntibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
Antibiotic Guideline 2015-2016: Cross reaction
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
 
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
 
สอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลายสอนเตรียมสารละลาย
สอนเตรียมสารละลาย
 

Similaire à แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย 2554

Management of allergic rhinitis reviewed
Management of allergic rhinitis reviewedManagement of allergic rhinitis reviewed
Management of allergic rhinitis reviewedMint Yasmine
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองWan Ngamwongwan
 
มะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียงมะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียงWan Ngamwongwan
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
9789740333463
97897403334639789740333463
9789740333463CUPress
 
Current practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis managementCurrent practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis managementUtai Sukviwatsirikul
 
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis ManagementCurrent Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis ManagementUtai Sukviwatsirikul
 
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองWan Ngamwongwan
 
yaninsrivilasjournalmanager88976-217911-1-le3-221226090308-56a08112.pdf
yaninsrivilasjournalmanager88976-217911-1-le3-221226090308-56a08112.pdfyaninsrivilasjournalmanager88976-217911-1-le3-221226090308-56a08112.pdf
yaninsrivilasjournalmanager88976-217911-1-le3-221226090308-56a08112.pdfssuser208b1d
 
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11Aimmary
 

Similaire à แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย 2554 (20)

Management of allergic rhinitis reviewed
Management of allergic rhinitis reviewedManagement of allergic rhinitis reviewed
Management of allergic rhinitis reviewed
 
Allergic rhinitis
Allergic rhinitisAllergic rhinitis
Allergic rhinitis
 
Cpg asthma in children 2551
Cpg asthma in children 2551Cpg asthma in children 2551
Cpg asthma in children 2551
 
Skin topic
Skin topicSkin topic
Skin topic
 
Cpg Allergic Rhinitis 2011
Cpg  Allergic Rhinitis 2011Cpg  Allergic Rhinitis 2011
Cpg Allergic Rhinitis 2011
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 
มะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียงมะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียง
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
 
Allergic rhinitis cpg
Allergic rhinitis cpgAllergic rhinitis cpg
Allergic rhinitis cpg
 
Respiratory1 2
Respiratory1 2Respiratory1 2
Respiratory1 2
 
9789740333463
97897403334639789740333463
9789740333463
 
Current practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis managementCurrent practice and guidance in allergic rhinitis management
Current practice and guidance in allergic rhinitis management
 
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis ManagementCurrent Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
Current Practice and Guidance in Allergic Rhinitis Management
 
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
โรคที่มีสาเหตุเนื่องจากบุหรี่
 
N sdis 78_60_9
N sdis 78_60_9N sdis 78_60_9
N sdis 78_60_9
 
โรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพองโรคถุงลมโป่งพอง
โรคถุงลมโป่งพอง
 
yaninsrivilasjournalmanager88976-217911-1-le3-221226090308-56a08112.pdf
yaninsrivilasjournalmanager88976-217911-1-le3-221226090308-56a08112.pdfyaninsrivilasjournalmanager88976-217911-1-le3-221226090308-56a08112.pdf
yaninsrivilasjournalmanager88976-217911-1-le3-221226090308-56a08112.pdf
 
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11
 
Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11Final measle 30 07-11
Final measle 30 07-11
 

Plus de Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesUtai Sukviwatsirikul
 

Plus de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptives
 

แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย 2554

  • 2. 2 เนื้อหาแนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย ค�ำจ�ำกัดความ โรคที่มีความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายชนิดที่มีอาการแสดง ทางจมูก เกิดจากได้รับสารก่อภูมิแพ้เข้าไป ท�ำปฏิกิริยากับ IgE ชนิดจ�ำเพาะต่อสารก่อ ภูมิแพ้นั้นแล้วเกิดการอักเสบของเยื่อบุจมูก ท�ำให้มีอาการคัน จาม น�้ำมูกไหล และคัด จมูก ตั้งแต่เป็นน้อยจนถึงเป็นมาก ซึ่งอาจหายได้เองหรือหลังได้รับการรักษา อาการ ดังกล่าวท�ำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยแย่ลง ทั้งการนอน การท�ำงานหรือการเรียน การแบ่งชนิดและความรุนแรง • การแบ่งชนิดตามความบ่อยของอาการ ได้แก่ 1. Intermittent (อาการเป็นช่วงๆ) หมายถึง มีอาการน้อยกว่า 4 วัน ต่อสัปดาห์ หรือมีอาการติดต่อกันน้อยกว่า 4 สัปดาห์ 2. Persistent (อาการเป็นคงที่) หมายถึง มีอาการมากกว่า 4 วัน ต่อสัปดาห์ และมีอาการติดต่อกันนานกว่า 4 สัปดาห์ • การแบ่งความรุนแรงของอาการ แบ่งออกเป็น 2 ระดับ ได้แก่ 1. อาการน้อย (mild) คือ  • สามารถนอนหลับได้ตามปกติ แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๔)
  • 3. แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๔) 3      • ไม่มีผลต่อกิจวัตรประจ�ำวัน การเล่นกีฬา และ การใช้เวลาว่าง      • ไม่มีปัญหาต่อการท�ำงานหรือการเรียน      • อาการไม่ท�ำให้ผู้ป่วยรู้สึกร�ำคาญ 2. อาการปานกลางถึงมาก (moderate to severe)คือ มีอาการในข้อ 1 อย่างน้อยหนึ่งอาการ การวินิจฉัยและวินิจฉัยแยกโรค การซักประวัติและการตรวจร่างกายอย่างละเอียดบริเวณหูคอจมูก โดยเฉพาะ ในจมูกต้องท�ำทุกราย การตรวจร่างกายบริเวณอื่นเช่นตา ผิวหนัง และปอดจ�ำเป็น ส�ำหรับผู้ป่วยบางรายที่มีอาการร่วม การตรวจโพรงจมูกโดยการส่องกล้อง (nasal endoscopy) ไม่จ�ำเป็นต้องท�ำทุกราย ค�ำแนะน�ำระดับหนักแน่น ระดับความน่าเชื่อถือของหลักฐานต�่ำ [strong recommendation, low quality of evidence] ค�ำแนะน�ำส�ำหรับการตรวจพิเศษ 1. การทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนัง ควรท�ำในผู้ป่วยที่มีประวัติสงสัยว่าจะ เป็นโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ และมีอาการปานกลางถึงรุนแรงหรือผู้ป่วย ต้องการทดสอบหรือผู้ป่วยที่ต้องการรักษาด้วยวัคซีน(allergen immu- notherapy, อิมมูนบ�ำบัด) วิธีที่แนะน�ำคือ วิธีสะกิด ส�ำหรับการฉีดเข้าในผิวหนังให้ท�ำเฉพาะราย ที่ท�ำการทดสอบ โดยวิธีสะกิดแล้วได้ผลลบ
  • 4. 4 2. การตรวจหา serum specific IgE เนื่องจากค่าใช้จ่ายสูง จึงควรพิจารณา ท�ำเฉพาะรายที่ไม่สามารถท�ำการทดสอบภูมิแพ้ทางผิวหนังได้ 3. การส่งถ่ายภาพรังสี ให้พิจารณาท�ำเฉพาะรายที่สงสัยว่าอาจมีไซนัส อักเสบร่วมด้วยและมีปัญหาในการวินิจฉัย ค�ำแนะน�ำระดับหนักแน่น ระดับความน่าเชื่อถือของหลักฐานต�่ำ [strong recommendation, low quality of evidence] การรักษา หลักในการรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย ได้แก่ • การให้ความรู้แก่ผู้ป่วยและญาติในเรื่องการดูแลรักษาสุขภาพตนเอง (Patient education & general health measures) • การก�ำจัดหลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้และสารระคาย / การควบคุม สิ่งแวดล้อม (Allergen avoidance and environmental control) • การรักษาด้วยยา (Pharmacotherapy) • การรักษาด้วยวัคซีน (Allergen specific immunotherapy) การก�ำจัดหลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้และสารระคาย/การควบคุมสิ่งแวดล้อม มีค�ำแนะน�ำดังนี้ 1. การใช้ผ้าคลุมกันไรฝุ่น ค�ำแนะน�ำส�ำหรับการใช้ผ้าคลุมกันไรฝุ่น การใช้ผ้าคลุมกันไรฝุ่นไม่สามารถลดอาการทางจมูกในโรคจมูกอักเสบ ภูมิแพ้แต่สามารถลดปริมาณสารก่อภูมิแพ้ของไรฝุ่นได้
  • 5. แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๔) 5 ค�ำแนะน�ำระดับอ่อน ระดับความน่าเชื่อถือของหลักฐานสูง [weak recom- mendation, high quality of evidence] 2. การก�ำจัดแมลงสาบ ค�ำแนะน�ำส�ำหรับการก�ำจัดแมลงสาบ วิธีก�ำจัดแมลงสาบที่ได้ผลดีที่สุดในการลดจ�ำนวนและปริมาณสารก่อภูมิแพ้ แมลงสาบคือใช้กับดักที่มียาฆ่าแมลงสาบ ค�ำแนะน�ำระดับอ่อน ระดับความน่าเชื่อถือของหลักฐานปานกลาง [weak recommendation, moderate quality of evidence] การรักษาด้วยยา ยาที่ใช้รักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้มีดังนี้ 1. ยาต้านฮิสทามีน (Antihistamines) 1.1 ยาต้านฮิสทามีนชนิดกิน (oral H1-antihistamine) ยาต้านฮิสทามีนรุ่นที่ 1 มีผลข้างเคียง (เช่น อาการง่วงนอน, อาการปากแห้ง, คอแห้ง เสมหะ และน�้ำมูกข้นเหนียว ซึ่งเป็น anticholinergic effects , fatigue และ irritability โดยเฉพาะในเด็กเล็ก) มากกว่า ยาต้านฮิสทามีนรุ่นที่ 2 จึงแนะน�ำให้ใช้ รุ่นที่ 2 มากกว่า ข้อบ่งชี้ในการใช้ยาต้านฮิสทามีนคือผู้ป่วยโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ ที่มีอาการ คัน, จาม, น�้ำมูกไหล ซึ่งมีอาการเป็นช่วงๆ หรือมีอาการไม่มาก ถ้ามีอาการเป็นคงที่ หรือมีอาการปานกลาง-มาก มักให้ร่วมกับยาชนิดอื่น
  • 6. 6 1.2 ยาต้านฮิสทามีนชนิดเฉพาะที่ (topical H1-antihistamine)) ปัจจุบันยาต้านฮิสทามีนพ่นจมูกไม่มีจ�ำหน่ายในประเทศไทย 1.3 ยาต้านฮิสทามีนผสมกับยาหดหลอดเลือด (H1- antihistamine +decongestant) จุดประสงค์ของการผสมยาทั้ง 2 ชนิดเข้าด้วยกัน คือ ช่วยบรรเทาอาการคัด จมูกของผู้ป่วยโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ได้เพิ่มขึ้น ซึ่งยาต้านฮิสทามีนมีฤทธิ์ดังกล่าวน้อย ยาต้านฮิสทามีนผสมกับยาหดหลอดเลือดที่เป็น fixed dose combination ไม่แนะน�ำให้ ใช้ต่อเนื่องเป็นประจ�ำ เนื่องจากอาจมีผลที่ไม่พึงประสงค์จาก decongestant คําแนะนําสําหรับการรักษาด้วยยาต้านฮิสทามีน แนะน�ำให้ใช้ยาต้านฮิสทามีนรุ่นที่ 2 ในการรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ เนื่องจากได้ผลดี มีความปลอดภัย ในเด็กอายุต�่ำกว่า 2 ปี ควรใช้ด้วยความระมัดระวัง โดยควรพิจารณาระหว่างผลที่ได้กับผลข้างเคียงที่อาจเกิดขึ้น ค�ำแนะน�ำระดับหนักแน่น ระดับความน่าเชื่อถือของหลักฐานสูง [strong recommendation, high quality of evidence] 2. ยาสตีรอยด์พ่นจมูก (Nasal corticosteroids) ยาสตีรอยด์พ่นจมูกเป็นยาที่มีประสิทธิภาพสูงในการควบคุมอาการของ โรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ มีความปลอดภัยสูงในขนาดยาที่ใช้ในการรักษา ควรเลือกใช้ยา สตีรอยด์พ่นจมูกเป็นอันดับแรกในผู้ป่วยที่อาการเป็นคงที่ (persistent) และอาการ ปานกลางถึงมากหรือมีอาการคัดจมูกมาก ค�ำแนะน�ำระดับหนักแน่น ระดับความน่าเชื่อถือของหลักฐานสูง [strong recommendation, high quality of evidence]
  • 7. แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๔) 7 ยาสตีรอยด์พ่นจมูกสามารถใช้ได้อย่างปลอดภัยในเด็กอายุมากกว่าหรือ เท่ากับ 2 ปี แต่ควรใช้ด้วยความระมัดระวังภายใต้ข้อบ่งชี้ และหยุดยาเมื่อหมดความ จ�ำเป็น การให้ยาสตีรอยด์พ่นจมูกมีประสิทธิภาพในการรักษามากกว่าการให้ยาต้าน ฮีสทามีนร่วมกับ antileukotrienes ค�ำแนะน�ำระดับหนักแน่น ระดับความน่าเชื่อถือของหลักฐานสูง [strong recommendation, high quality of evidence] การให้ยาต้านฮิสทามีนชนิดกินร่วมกับยาพ่นจมูกสตีรอยด์อาจท�ำให้ผลการ รักษาดีขึ้น เร็วกว่าการให้ยาพ่นจมูกสตีรอยด์อย่างเดียว แต่ผลการรักษาในระยะยาว ไม่ต่างกัน ค�ำแนะน�ำระดับอ่อน ระดับความน่าเชื่อถือของหลักฐานปานกลาง [weak recommendation, moderate quality of evidence] 3. Antileukotrienes ได้รับการรับรองให้ใช้ในการรักษาโรคหืดและโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ โดยพบว่าเมื่อใช้ montelukast อย่างเดียวมีฤทธิ์เท่าเทียมกับยาต้านฮิสทามีนรุ่นที่ 2 ถ้าใช้ยานี้ร่วมกับยาต้านฮิสทามีนจะได้ผลมากขึ้นกว่าการใช้ยานี้อย่างเดียว ยานี้มีฤทธิ์ น้อยกว่าการรักษาด้วยยาพ่นจมูกสตีรอยด์ 4. Cromones (Sodium cromoglycate, nedocromil) เป็นยาพ่นจมูกที่ปลอดภัยและมีผลข้างเคียงน้อย ปัจจุบันยานี้ไม่มีจ�ำหน่าย ในประเทศไทย
  • 8. 8 5. ยาหดหลอดเลือด (Decongestants) ใช้เพื่อลดอาการคัดจมูกเป็นหลัก ยาชนิดกินควรใช้อย่างระมัดระวัง เนื่องจาก อาจท�ำให้เกิด ผลข้างเคียงได้คือ กระสับกระส่าย หัวใจเต้นเร็วผิดปกติ เวียนศีรษะ ปวดหัว มือสั่น นอนไม่หลับ นอกจากนี้ควรหลีกเลี่ยงการใช้ในผู้ป่วยที่เป็นต้อหิน ต่อมลูกหมากโต ไทรอยด์เป็นพิษ ความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือด หญิง ตั้งครรภ์ ผู้ป่วยมีปัญหาทางจิต ยาชนิดพ่น/หยอดทางจมูก ถ้าใช้ต่อเนื่องนานเกิน 5 วัน อาจท�ำให้เกิดอาการ กลับมาคัดแน่นจมูกมากขึ้นหลังหยุดยา(rebound congestion)หรือที่เรียกว่า rhinitis medicamentosa ไม่แนะน�ำให้ใช้ยาหดหลอดเลือดทั้งสองชนิดในเด็กอายุต�่ำกว่า 2 ปี 6. Topical anticholinergic (ipratropium bromide) ใช้ลดอาการน�้ำมูกไหล ปัจจุบันไม่มีตัวแทนจ�ำหน่ายในประเทศไทย การรักษาด้วยวัคซีน (Allergen immunotherapy) ค�ำแนะน�ำส�ำหรับการรักษาด้วยวัคซีน การรักษาด้วยวัคซีนเป็นการรักษาเสริมจากการแนะน�ำให้ผู้ป่วยก�ำจัด หลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้ และสารระคายและรักษาด้วยยาในผู้ป่วยที่ตรวจพบมีการแพ้ สารก่อภูมิแพ้ชัดเจน โดยจะรักษาเฉพาะในรายที่พิสูจน์ได้ว่าเป็น IgE mediated disease ที่มีอาการ เป็นเวลานานหรือในรายที่รักษาด้วยยาไม่ได้ผลหรือรักษาด้วยยาแล้วมีผลข้างเคียง
  • 9. แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๔) 9 ค�ำแนะน�ำระดับอ่อน ระดับความน่าเชื่อถือของหลักฐานต�่ำ [weak recom- mendation, low quality of evidenee] วิธีรักษาด้วยวัคซีน แนะน�ำให้ใช้วิธีฉีดใต้ผิวหนังเป็นอันดับแรก การให้วัคซีน เฉพาะที่ อาจพิจารณาให้เฉพาะรายที่มีอาการข้างเคียงจากการให้วัคซีนชนิดฉีดหรือผู้ ป่วยปฏิเสธการฉีดยา ในการรักษาด้วยวัคซีน แพทย์จะต้องพิจารณาถึงค่าใช้จ่ายและความสม�่ำเสมอ ในการมารับการรักษาด้วย ข้อบ่งชี้ในการส่งต่อผู้ป่วยให้แพทย์ผู้ช�ำนาญเฉพาะทางโรคภูมิแพ้ หรือโสต ศอ นาสิกแพทย์ 1. เมื่อต้องการ การวินิจฉัยที่แน่นอน เช่น ท�ำการทดสอบภูมิแพ้ ทางผิวหนัง 2. การรักษาด้วยยาได้ผลไม่ดีพอ 3. รักษาเป็นเวลานานเกิน 3 เดือน แล้วไม่ดีขึ้น 4. ต้องรับการผ่าตัดรักษาโรคร่วมบางชนิด 5. มี co-morbidity หรือมีภาวะแทรกซ้อนเกิดขึ้น
  • 10. 10 การรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ที่เป็นกรณีเฉพาะ (Special consideration) 1. หญิงตั้งครรภ์ แนะน�ำให้หลีกเลี่ยงการใช้ยาติดต่อกันใน 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์ ควบคุมอาการด้วยการใช้น�้ำเกลืออุ่น ๆ พ่น/ล้างจมูก และหลีกเลี่ยงสารก่อภูมิแพ้และ สารระคายเคืองจมูก หากยังไม่สามารถควบคุมอาการได้ ผู้ป่วยสามารถใช้ยาต้าน ฮิสทามีน และยาสตีรอยด์พ่นจมูกเป็นครั้งคราว
  • 11. แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๔) 11 กลุ่มยารักษาโรคจมูกอักเสบ และประเภทของยาตามความเสี่ยงในผู้ป่วยตั้งครรภ์
  • 12. 12 หมายเหตุ : B = ไม่พบความเสี่ยงในมนุษย์ มี 2 ความหมาย คือ 1. จากการศึกษาโดยมีกลุ่มควบคุมในหญิงมีครรภ์ ไม่พบความเสี่ยงต่อ ทารกในครรภ์ แม้พบความเสี่ยงในสัตว์ทดลอง หรือ 2. การศึกษาโดยมีกลุ่มควบคุมในหญิงมีครรภ์มีไม่เพียงพอ แต่การศึกษา ในสัตว์ทดลองไม่ พบผลข้างเคียง ความเสี่ยงต่อทารกในครรภ์น้อย มากแต่ยังมีโอกาสเกิดขึ้นได้ C = ความเสี่ยงอาจเกิดขึ้นได้ มี 2 ความหมาย คือ 1. จากการศึกษาในสัตว์ทดลองพบผลข้างเคียงต่อตัวอ่อน แต่ยังไม่มีการ ศึกษาโดยมีกลุ่มควบคุมในมนุษย์ หรือ 2. ยังไม่มีการศึกษาทั้งในสตรีมีครรภ์และสัตว์ทดลอง จึงควรใช้ยากลุ่มนี้ เมื่อพิจารณาแล้วว่าเกิดประโยชน์มากกว่าความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น
  • 13. แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๔) 13 2. หญิงให้นมบุตร ยาตานฮิสทามีนรุนที่ 2 ได้แก่ loratadine, desloratadine และ fexofenadine ผ่านสู่ น�้ำนมในปริมาณน้อยสามารถใช้ได้ในหญิงให้นมบุตร โดยเฉพาะ loratadine เนื่องจากมี รายงานว่า ขับออกในน�้ำนมเพียงร้อยละ 0.01 เมื่อให้ยาขนาด 4 เท่าของขนาดปกติ ยาตาน ฮิสทามีนรุนที่ 1 เช่น brompheniramine, chlorpheniramine, diphenhydramine ไมแนะ นําใหใช้ ยาหดหลอดเลือดชนิดกิน เช่น pseudoephedrine สามารถใช้ได้ในระยะสั้น ยาสตีรอยด์ ชนิดกินพบว่าขับออกมาทางน�้ำนมได้ จึงไม่แนะน�ำ ส่วนยาสตีรอยด์ พนจมูก แนะน�ำให้ใช้ได้ในการรักษา แต่ต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง 3. ผู้สูงอายุ แนะน�ำให้เลือกใช้ยาสตีรอยด์พ่นจมูกหรือยาต้านฮิสทามีนรุ่นที่ 2 4. นักกีฬา แนะน�ำให้เลือกใช้ยาต้านฮิสทามีนรุ่นที่2นอกจากนี้สามารถใช้antileukotrienes, topical ipratropium bromide ห้ามใช้ ephedrine และหลีกเลี่ยงการใช้ pseudoephedrine, ส่วนยาสตีรอยด์ชนิดกิน จัดอยู่ในกลุ่มห้ามใช้เช่นกัน แต่ยาสตีรอยด์พ่นจมูก สามารถใช้ได้ โดยไม่จ�ำเป็นต้องแจ้งต่อคณะกรรมการแข่งขัน
  • 15. แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๕๔) 15 หมายเหตุ*ใช้ยาต้านฮิสทามีนก่อนantileukotrienesยกเว้นเมื่อผู้ป่วยมีโรคหืดหรือข้อบ่งชี้อื่น
  • 16. 16