SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  5
Télécharger pour lire hors ligne
ความเป็นไปได้ในการลงทุนธุรกิจร้านสังฆภัณฑ์ในเขตเทศบาลเมืองบางศรีเมือง จังหวัดนนทบุรี : กรณีศึกษาผู้เดินทางมา
ทาบุญ ณ วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร (THE STUDY FOCUSED ON THE FEASIBILITY OF MONK SUPPLY
STORES IN BANGSRIMUANG MUNICIPALITY, NONTHABURI PROVINCE USED THOSE TRAVELLING TO
MAKE MERIT AT WAT CHALERM PRAKIAT WORAWIHARN AS A CASE STUDY TO STUDY PERSONAL
FACTORS)

โดย
ศุภกร เจียมธนทัต
การศึกษาความเป็นไปได้ของธุรกิจร้านสังฆภัณฑ์ในเขตเทศบาลเมืองบางศรีเมือง จังหวัดนนทบุรี: กรณีศึกษาผู้เดินทางมาทาบุญ ณ วัดเฉลิมพระเกียรติ
วรวิหาร ได้ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล พฤติกรรมผู้บริโภค การตัดสินใจซื้อ การศึกษาส่วนประสมทางการตลาด การศึกษาความเป็นไปได้ทางด้านเทคนิค ด้านการ
จัดการ และด้านการเงิน ศึกษาโดยวิเคราะห์ในด้านต่าง ๆ ได้แก่ ข้อมูลส่วนบุคคล พฤติกรรมการบริโภค ข้อมูลปัจจัยส่วนประสมการตลาด ความสนใจด้านบริการ
เสริมและความสนใจที่มีต่อโครงการ และวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการโดยใช้เครื่องมือชี้วัดทางการเงิน การวิเคราะห์โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูล
400 คน เฉพาะผู้ที่เดินทางมาทาบุญ ณ วัดเฉลิมพระเกียรติ ในระยะเวลา 1 เดือน ประมวลผลด้วยโปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติ โดยการวิเคราะห์ข้อมูลด้านความถี่
ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มประชากรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ ระหว่าง 20-29 ปี ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ พนักงานบริษัทเอกชน การศึกษาระดับ
ปริญญาตรี และซื้อสังฆภัณฑ์อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง มีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 500-1000 บาท และสินค้าที่นิยมซื้อประจาคือ ชุดไทยทาน สังฆทาน ธูปเทียน
ดอกไม้ และต้องการให้ร้านสังฆภัณฑ์มีสินค้าให้เลือกหลายระดับราคามีสินค้าให้เลือกหลายระดับราคา แหล่งที่ตั้งควรอยู่ใกล้วัด ตลาดชุมชน และเจ้าของร้านจะต้อง
มีความรู้ในเรื่องพิธีกรรมต่าง ๆ เพื่อเป็นที่ปรึกษาของลูกค้าได้งบประมาณลงทุนเริ่มแรกของโครงการเท่ากับ 627,000 บาท การวิเคราะห์ด้านการเงินของโครงการ
มูลค่าปัจจุบันของโครงการ (NPV) มีค่า 504,536.95 อัตราผลตอบแทนภายใน (IRR) มีค่าร้อยละ 39 ระยะเวลาคืนทุน เท่ากับ 1 ปี 10 เดือน 8 วัน จากผลการวิจัย
สรุปว่ายอมรับโครงการมีความน่าสนใจในการลงทุน และมีความเป็นไปได้ แต่ควรมีการเพิ่มบริการเสริมและกิจกรรมควบคู่ในธุรกิจ เพื่อเพิ่มยอดขายให้กับธุรกิจ
สังฆภัณฑ์ เช่น การรับจัดงานทาบุญและพิธีกรรมทางศาสนาแบบครบวงจร
The study focused on the feasibility of monk supply stores in Bangsrimuang Municipality, Nonthaburi Province. The objectines
study personal factors, consumer behavior, the decision to purchase, mixed market factors and to study the feasibility in terms of
techniques, management, and finances. Various aspects were analyzed including personal factors, (consumer behavior, mixed market
factors, interest in additional services and on the project, and feasibility study on the project using NPV IRR PB. A questionnaire was used
to collect information from 400 samples, specifically those travelling to make merit at WatChalermPrakiat in a one month period. Data
was analyzed using frequency and mean. From the study it was found that the majority of the sample was female, ages 20-29, with most
working in private companies, and with Bachelor’s degree level education and buy monk supplies at least once a month. Expenses are
500-1,000 Baht and the products most popular are gifts, offerings, candles and incense and flowers. They want the monk supply stores
to have different products to choose from at different prices. Store locations should be near temples, markets and the owners must be
knowledgeable in different ceremonies in order to provide advice to customers. The initial budget for the project is 627,000 Baht, with an
IRR of 39% in 1 year, 10 months and 8 days. From the results, this proves to be an interesting investment and is feasible. However,
additional services should be available as well as activities in order to increase sales of monk supplies such as organizing merit making
and religious ceremonies.
ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
ทาการศึกษาความเป็นไปได้การทาธุรกิจร้านสังฆภัณฑ์ ตั้งอยู่เลขที่ 89/7 ถนนวัดโบสถ์-ท่าน้านนท์ ห่างจากวัดเฉลิมพระเกียรติประมาณ 500 เมตร เป็นทางผ่านก่อนถึง
วัดเฉลิมพระเกียรติ ห่างจากที่ทาการบางศรีเมืองประมาณ 200 เมตร ผู้ศึกษาจึงมีความสนใจที่จะศึกษาถึงองค์ประกอบที่มีผลต่อการตัดสินใจก่อนการลงทุนทาธุรกิจประเภทร้าน
สังฆภัณฑ์ ทาธุรกิจร้านสังฆภัณฑ์ในเขตเทศบาลเมืองบางศรีเมือง อาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี: กรณีศึกษา
ผู้เดินทางมาทาบุญ ณ วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร
วัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาความเป็นไปได้การลงทุนร้านจาหน่ายเครื่องสังฆภัณฑ์ในเขตเทศบางเมือง
บางศรีเมือง จังหวัดนนทบุรี: กรณีศึกษาผู้เดินทางมาทาบุญ ณ วัดเฉลิมพระเกียตริวรวิหาร เพื่อประเมินผลโครงการว่ามีความน่าลงทุนหรือไม่ โดย
ประเมินผลใน 4 ด้านคือ ด้านการตลาด ด้านเทคนิค ด้านการจัดการ ด้านการเงิน
สมมติฐานของการวิจัย
มีความเป็นไปได้ในการลงทุนธุรกิจร้านสังฆภัณฑ์ในเขตเทศบาลเมืองบางศรีเมือง:กรณีศึกษาผู้ที่เดินทางมาทาบุญ ณ วัดเฉลิมพระเกียรติ
วรวิหาร โดยการวิเคราะห์ในด้านของพฤติกรรมผู้บริโภค และทฤษฎีการวิเคราะห์ความเป็นไปได้การลงทุน 4 ด้าน คือ การตลาด
เทคนิค การจัดการการเงิน แล้วทาการสรุปว่าจะยอมรับหรือปฏิเสธโครงการ

กรอบแนวคิดในการวิจัย
ตัวแปรต้น 1. วิเคราะห์ด้านการตลาด 2 วิเคราะห์ ด้านเทคนิค 3.วิเคราะห์ด้านการจัดการ 4.วิเคราะห์ด้านการเงิน
ตัวแปรตาม คือ ความเป็นไปได้ในการลงทุนธุรกิจร้านจาหน่ายสังฆภัณฑ์ในเขตเทศบาลเมืองบางศรีเมือง จังหวัดนนทบุรี:กรณีศึกษาผู้ที่เดินทางมาทาบุญ ณ วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร
วรรณกรรมหลัก
1.แนวคิดและทฤษฎีส่วนประสมทางการตลาดส่วนประสมทางการตลาด (Marketing Mix) หมายถึง กลุ่มของเครื่องมือทางการตลาดซึ่งธุรกิจใช้ร่วมกันในการวางแผนกลยุทธ์ เพื่อให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ทางการตลาดคือการตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค เครื่องมือการตลาด 4 ประการ ประกอบด้วย ผลิตภัณฑ์ (Product) ราคา (Price) การจัดจาหน่าย (Place or
Distribution) และการส่งเสริมการตลาด (Promotion) ซึ่งเรียกสั้น ๆ ว่า 4 P’s (Kotler, 2000)
2.แนวคิดและทฤษฎีอุปสงค์ (Demand) คาว่า “อุปสงค์” มีความหมายเฉพาะในวิชาเศรษฐศาสตร์ อาจให้คาจากัดความได้ว่าอุปสงค์ สาหรับสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง หมายถึง
จานวนต่าง ๆ ของสินค้าหรือบริการชนิดนั้นในระยะเวลาที่กาหนด (Perloff, 2004)
3.แนวคิดและทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)พฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer Behavier) หมายถึง พฤติกรรมซึ่งผู้บริโภคทาการค้นหา การซื้อ การใช้
การประเมินผล การใช้สอยผลิตภัณฑ์ และการบริการ ซึ่งคาดว่าจะสนองความต้องการของเขา (Schiffman & Kanuk, 1987, p. 5)
4.แนวคิดและทฤษฏีกระบวนการตัดสินใจของผู้ซื้อ ประกอบด้วย 5 กระบวนการ คือ ขั้นรับรู้ ค้นหาข้อมูล ประเมินทางเลือก ตัดสินใจเลือกทางที่ดีที่สุด ประเมินภายหลังเลือกซื้อ
5.แนวคิดและทฤษฏีเกี่ยวกับการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) นั้นมีจุดประสงค์ ก็เพื่อที่จะตอบคาถามว่าโครงการที่กาลังพิจารณาน่าที่
จะลงทุนและมีโอกาสทางการตลาดหรือไม่ ซึ่งในการดาเนินธุรกิจนั้นจาเป็นต้องสามารถตอบคาถามได้ในเวลาอันรวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อความได้เปรียบทางธุรกิจหากไม่สามารถหา
คาตอบได้ แสดงว่าการศึกษานั้นยังไม่สมบูรณ์ อาจจะช่วยธุรกิจไม่ได้หรือช่วยได้ก็ไม่ทันเวลา แต่ถ้าได้มีการทาการศึกษาความเป็นไปได้อย่างละเอียดและครบถ้วน จะทาให้นักลงทุนสามารถ
ตัดสินใจในการวางแผนธุรกิจได้ดี ดังนั้นการศึกษาความเป็นไปได้ที่ดีจะต้องมีข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาวิเคราะห์อย่างครบถ้วน ได้แก่ การวิเคราะห์ทางการเงิน การออกสัมภาษณ์ และการศึกษา
ข้อมูลเกี่ยวกับทางสถิติต่าง ๆ เพื่อที่จะให้ผลการศึกษามีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ศศินันท์ จิระฉัตรพัฒน์ (2554) ศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการลงทุนในธุรกิจจัดจาหน่ายเครื่องปรับอากาศในเขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒน์
ประสานมิตร ผลการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการลงทุนในด้านการเงินพบว่าธุรกิจมีความเป็นไปได้ในการลงทุน เพราะว่ามีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ มีค่า เท่ากับ 1,869,551 บาท อัตรา
ผลตอบแทนภายในโครงการ มีค่าเท่ากับร้อยละ 51.48 อัตราส่วนผลตอนแทนต่อต้นทุนของโครงการเท่ากับ 1.29 เท่า และระยะเวลาคืนทุนคิดลดเท่ากับ 1 ปี 11 เดือน ผลการวิเคราะห์
ความไวของโครงการ เมื่อกาหนดให้ค่าใช้จ่ายและผลตอบแทนเปลี่ยนแปลงไปจากยอดประมาณการโดยแบ่งการทดสอบออกเป็น 3 กรณี คือ กรณีที่ 1 ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานเพิ่มขึ้น
กรณีที่ 2 ผลตอบแทนของโครงการลดลง และกรณีที่ 3 ค่าใช้จ่ายการดาเนินงานเพิ่มขึ้น ขณะที่ผลตอบแทนของโครงการลดลง ผลปรากฏว่าโครงการธุรกิจจาหน่ายเครื่องปรับอากาศในเขต
มีนบุรี กรุงเทพฯ ยังสามารถลงทุนในโครงการได้ เนื่องจากมูลค่าปัจจุบันสุทธิของโครงการยังมีค่ามากกว่าศูนย์ อัตราผลตอบแทนภายในโครงการมีค่ามากว่าอัตราดอกเบี้ยที่กาหนดไว้เท่ากับ
ร้อยละ 7.84 อัตราส่วนผลตอบแทนต่อทุนของโครงการมีค่ามากว่า 1 ในทุกกรณี โครงการดังกล่าวจึงมีความเป็นไปได้และมีความน่าสนใจลงทุน
อรวดี รื่นรมย์ (2554) ทาการศึกษาความเป็นไปได้ของธุรกิจเบเกอรี่ในตาบลเชิงเนิน อาเภอเมือง จังหวัดระยอง พบว่า ผลตอบแทนภายใน (IRR) ของโครงการมีค่าร้อยละ 14 ผล
ที่ได้จะสูงกว่าอัตราดอกเบี้ยกู้ยืม และระยะคืนทุน เท่ากับ 2 ปี 6 เดือน โครงการมีความเป็นไปได้ในการลงทุน
วิธีดาเนินการวิจัย
กลุ่มประชากร
ประชากรในการศึกษาความเป็นไปได้ครั้งนี้คือประชากรที่เดินทางมาทาบุญ ณ วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร เขตเทศบาลเมืองบางศรีเมือง จังหวัดนนทบุรี
กลุ่มตัวอย่าง
ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คอ ประชากรในเทศบาลเมืองบางศรีเมือง จานวน 29,936 คน จานวนประชากรเทศบาลเมืองบางศรีเมือง (เทศบาลเมืองบางศรีเมือง, 2554)เนื่องจาก
ื
ทราบจานวนประชากรที่แท้จริง จึงได้ใช้วิธีการกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยสูตรการหาขนาดตัวอย่างที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (นราศรี ไววนิชกุล และชูศักดิ์ อุดมศรี, 2545 หน้า 133) ดังนี้
n = 29,936/ 1+(29,936) (0.05) 2
= 29,936/ 74.84 = 400 คน
ผลจากการคานวณจะได้ขนาดกลุมตัวอย่าง n = คน การวิจัยครั้งนี้ จึงใช้กลุ่มตัวอย่างจานวน 400 คน
่
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและผลวิเคราะห์ข้อมูล
การศึกษาครั้งนี้ในด้านข้อมูลต้นทุนผันแปรผู้วิจัยอ้างอิงข้อมูล จากเปิดร้านสังฆภัณฑ์ บริหารง่ายขายแล้วรวย 2552 ได้อ้างอิงจากหนังสือแล้วนาข้อมูลมาสรุปในประเด็นสาคัญ ใน
การประมาณการค่าใช้จ่าย ต้นทุน และการวางแผนการดาเนินงานใน 4 ด้าน คือ ด้านการตลาด ด้านเทคนิคการจัดการ การบริหารการเงิน และการเก็บแบบสอบถามจานวน 400 ชุด จากผู้ที่ซื้อ
สินค้าสังฆภัณฑ์ประจา มาทาการวิเคราะห์ด้านการตลาด พฤติกรรม ความสนใจที่กลุมตัวอย่างมีต่อโครงการที่ทาการวิจัย รวมถึงการวิเคราะห์มูลค่าปัจจุบันสุทธิ ระยะเวลาคืนทุน จุดคุ้มทุน
่
ความถี่ในการไปซื้อสินค้า สังฆภัณฑ์ที่ร้านจาหน่ายสินค้าเครื่องสังฆภัณฑ์
บ่อยกว่าสัปดาห์ละครั้ง
อย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง
ประมาณเดือนละ 2-3 ครั้ง
อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง
ประมาณ 3-6 เดือน ต่อ 1 ครั้ง
อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
ไม่แน่นอน
รวม
ค่าใช้จ่ายในการซื้อสังฆภัณฑ์ต่อครั้งโดยประมาณ
1. 100-500 บาท
2. 501-1,000 บาท
3. 1,000-2,000 บาท
4. 2,001-3,000 บาท
5. 3,001-4,000 บาท
6. 4,001 บาทขึ้นไป
รวม
ประเภทของสินค้าเครื่องสังฆภัณฑ์ที่ท่านเลือกซื้อ
(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
1. เครื่องทองเหลือง
2. ชุดสังฆทาน
3. รูปปั้นองค์เทพ
4. ธูปเทียน
5. เครื่องเบญจรงค์-เซรามิค
6. พระพุทธรูป พระประจาวันเกิด
7. เครื่องหอมเช่นน้าอบไทยน้ามันจัน
8. ดอกไม้สดพวงมาลัย
9. เครื่องอัฐบริขาร
10. อื่น ๆ

จานวน
17
12
44
120
109
41
57
400

ร้อยละ
4.25
3.00
11.00
30.00
27.25
10.25
14.25
100

จานวน
77
290
22
4
7
0
400
จานวน
จาก 400 คน
36
258*
30
213
15
46
56
174
58
10

ร้อยละ
19.25
72.50
5.50
1.00
1.75
0
100

ร้อยละ

ลาดับ

9.00
65.00
7.50
53.25
3.75
11.50
14.00
43.50
14.50
2.50

7
1
8
2
9
6
5
3
4
10

คาตอบ
วันจันทร์-ศุกร์
วันเสาร์-อาทิตย์
เทศกาลวันสาคัญ

จานวน
151
290
250

ร้อยละ
38.00
73.00
63.00

คาตอบ
1. อินเทอร์เน็ต
2. วิทยุ
3. หนังสือพิมพ์
4. ป้ายโฆษณา
5. เพื่อนหรือญาติ
6. อื่น ๆ
7. ไม่เคยได้รับ

จานวน
34
16
120.
30
95
75
30

ร้อยละ
8.50
4.00
30.00
7.50
23.75
18.75
7.50

คาตอบ
1. มีอย่างมาก
2. มีบ้าง
3. ไม่มีเลย
รวม

จานวน
203
147
50
400

ร้อยละ
50.75
36.75
12.50
100

ปัจจัยทาง
การตลาด
ด้านผลิตภัณฑ์

มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ค่าเฉลี่ย ลาดับ
(จานวน) (จานวน) (จานวน) (จานวน) จานวน แปลผล
ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ
ร้อยละ ร้อยละ

คุณภาพสินค้า

153
38.30
ความทันสมัยของ
73
สินค้า
18.30
สินค้าเป็นยีห้อที่รู้จัก 67
่
16.80
ความแตกต่างโดด
62
เด่นของผลิตภัณฑ์
15.50
การหีบห่อ
84
21.00
มีสินค้าให้เลือกครบ 143
ทุกประเภทที่ต้องการ 35.80
มีสินค้าให้เลือกหลาย 134
ระดับราคา
33.00

141
35.30
132
33.00
182
45.50
151
37.80
165
41.30
148
37.00
140
35.00

65
16.30
148
37.00
124
31.00
126
31.5
114
28.50
87
21.80
110
27.50

14
3.5
28
7.00
24
6.00
59
14.80
37
9.3
20
5.00
14
3.5

ปัจจัยทาง มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย
การตลาด
(จานวน) (จานวน) (จานวน) (จานวน)
ด้านผลิตภัณฑ์ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ
ร้อยละ
ความสามารถการหา
สินค้าตามความ
ต้องการของลูกค้า
การบริการจัดสินค้า
เป็นชุดตามความ
ต้องการของลูกค้า

102
25.50

160
40

120
30.00

12
3.0

113 166
28.30 41.50

82
20.50

27
6.8
19
4.80
3
0.80
2
0.5
00
00
2
0.50
2
0.5

น้อย ค่าเฉลี่ย
ที่สุด แปลผล
จานวน
ร้อยละ
6
3.85
1.5
มาก

27
6.8

ค่าเฉลี่
ย
มากที่สุด
ปัจจัยทางทางด้านราคา (จานวน)
ร้อยละ
ราคาสูงไม่เป็นไร
122
เน้นสินค้าคุณภาพดี
30.50
ราคาถูกกว่าร้านใน
89
ย่านเดียวกัน
22.30
ราคาสามารถต่อรองได้
93
23.30
มีป้ายราคาสินค้าชัดเจน 136
34.00
มีการรับชาระด้วย
58
บัตรเครดิต
14.50

มาก
(จานวน)
ร้อยละ
141
35.30
166
41.50
135
33.80
156
39.00
90
22.50
ค่าเฉลี่ย

3.94
มาก
3.53
มาก
3.71
มาก
3.54
มาก
3.74
มาก
4.02
มาก
3.97
มาก

12
3.00

3.86
มาก

6
9
7
8
5
1
2
ลาดับ

4
3

3.79
มาก
ปานกลาง
(จานวน)
ร้อยละ
115
28.80
111
27.80
108
27.00
62
15.50
91
22.80

น้อย
(จานวน)
ร้อยละ
14
3.50
32
8.0
58
14.50
36
9.0
59
14.80

น้อยที่สุด ค่าเฉลี่ย ลาดั
จานวน แปลผล บ
ร้อยละ
8
3.89
2
2.00
มาก
2
3.77
3
0.50
มาก
6
3.62
4
1.50
มาก
10
3.93
1
2.5
มาก
102
2.85
5
25.50 ปานกลาง
3.61
มาก
ด้านสถานที่และ
ช่องทางการ
จาหน่าย
ใกล้ชุมชน
ใกล้ตลาด
ใกล้วัด
จอดรถสะดวก
สั่งซื้อสินค้าทาง
โทรศัพท์ได้
สั่งซื้อสินค้าทางเว็บ
ไซด์ได้

ปัจจัยทางทางด้าน
การส่งเสริมการตลาด
และกิจกรรมควบคู่

มากที่สุด
(จานวน)
ร้อยละ
143
35.80
137
34.30
182
45.50
144
36.00
93
23.30
68
17.00

มากที่สุด
(จานวน)
ร้อยละ

ป้ายร้านสังเกตง่าย

127
31.80
การจัดแสดงสินค้าโดด 117
เด่นสะดุดตา
29.30
ผู้จาหน่ายมีความรู้เรื่อง 129
พิธีกรรม
32.30
การจัดทาเอกสารใน
133
เรื่องการทาบุญและ
33.30
พิธีกรรม
การบริการจัดส่งฟรี
116
29.00
การรับจัดงานทาบุญ
123
แบบครบวงจร ทุก
30.80
รูปแบบ
มีการจัดทาแคตตาล็อก 112
สินค้าให้ลูกค้า
28.00

มาก ปานกลาง
(จานวน) (จานวน)
ร้อยละ ร้อยละ
181
45.30
197
49.30
153
38.30
148
37.00
91
22.80
88
22.00
ค่าเฉลี่ย

2
1

รายการ
ค่าใช้จ่ายในการขายและการบริหารประจาต่อเดือน
1. เงินเดือนพนักงาน 1 คน
2. ค่าน้าประปา ค่าไฟฟ้า
3. ค่าโทรศัพท์และค่าใช้จ่ายในการสื่อสาร
4. ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ดต่อเดือน
รวมต้นทุนคงที่และค่าใช้จ่ายดาเนินการเริมต้น
่

4
5
6

ค่าเฉลี่ ลาดับ
ย
แปลผล

53.00
13.30
65
16.30
97
24.30
79
19.80

25
6.30
25
6.3
8
2.0
35
8.8

15
3.8
15
3.8
1
0.3
25
8.3

3.94
มาก
3.89
มาก
4.03
มาก
3.77
มาก

2

115
28.80
122
30.50

74
18.50
100
25.00

63
15.80
42
10.50

32
8.00
13
3.3

3.55
มาก
3.75
มาก

6

111
27.80
ค่าเฉลี่
ย

70
17.50

62
15.50

45
11.30

3.45
มาก
3.77
มาก

งบประมาณ (บาท)
10,000.00
2,000.00
2,000.00
5,000.00
227,000.00

ประมาณการงบกาไรขาดทุน 5 ปี
ปีที่ 1
ปีที่ 2
ปีที่ 3
ปีที่ 4
ปีที่ 5
2,588,040.0 2,846,844.00 3,131,528.40 3,444,681.24 3,789,149.36
0
1,990,800.0 2,189,880.00 2,408,868.00 2,649,754.80 2,914,730.28
0
597,240.00 656,964.00 722,660.40 794,926.44 874,419.08

ยอดขาย
ต้นทุนขาย
กาไรขั้นต้น
หัก ค่าใช้จ่ายในดาเนินงาน
ค่าเสื่อมราคา 20 % ต่อปี
ค่าวัสดุสิ้นเปลือง
ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร
รวมค่าใช้จ่าย
กาไรก่อนภาษี
ชาระภาษีเงินได้
กาไรหลังจ่ายภาษี

7

M
3.79
3.61
3.75
3.77

100-500/ 2 = 300 บาท

2
3

500-1,000/ 2 = 750 บาท
1,000-2,000/ 2 = 1,500
บาท
2,001-3,000/ 2 = 2,500
บาท
3,001-4,000/ 2 = 3,500
บาท

ลาดับที่
1
4
3
2

3
1
4

5

ระดับนัยสาคัญ
สาคัญมาก
สาคัญมาก
สาคัญมาก
สาคัญมาก
จานวนเงินเฉลี่ย
(BxC)

300

ค่าร้อยละของการซื้อสินค้า
C
จากตารางที่ 4-6
19.25

750
1,500

72.50
5.50

543.75
82.50

2,500

1.00

3,500

1.75

%
770.25

1-150,000
150,001-500,000
500,001-1,000,000
1,000,001-4,000,000
4,000,001 ขึ้นไป

30,000.00
5,000.00
250,800.00
285,800.00
371,164.00
22,116.40
349,047.60

ช่วงเงินได้สุทธิ อัตราภาษีร้อยละ
150,000
350,000
500,000
3,000,000

ได้รับยกเว้น
10
20
30
37

30,000.00
5,000.00
275,880.00
310,880.00
411,780.40
26,178.04
385,602.36
ภาษีแต่ละขัน
้
เงินได้สุทธิ
35,000
100,000
900,000

30,000.00
5,000.00
303,468.00
338,468.00
456,458.44
30,645.84
425,812.60

30,000.00
5,000.00
333,814.80
368,814.80
505,604.28
36,120.85
469,483.43

ภาษีสะสม
สูงสุดของขั้น
35,000
135,000
1,035,000

ปีที่
0
1
2

เงินลงทุนเริ่มแรก
627,000.00
-

รายรับสุทธิ
-627,000.00
315,816.00
349,047.60

รายรับสุทธิสะสม
-627,000.00
-311,184.00
37,863.60

3

-

385,602.36

423,465.96

4
5

-

425,812.60
469,483.43

849,278.56
1,318,761.99

61.25

100

เงินได้สุทธิ

30,000.00
5,000.00
228,000.00
263,000.00
334,240.00
18,424.00
315,816.00

25.00

รวม
ประมาณการยอดขายเฉลี่ย 1 คนต่อครั้งโดยประมาณ
ปี 1
ปี 2
ปี 3
ปี 4
ปี 5

3

น้อยที่สุด
จานวน
ร้อยละ

1

รายการ
ประมาณการยอดขาย
ประมาณการยอดขาย
ประมาณการยอดขาย
ประมาณการยอดขาย
ประมาณการยอดขาย

4.09
มาก
4.11
มาก
4.23
มากที่สุด
3.99
มาก
3.16
ปานกลาง
2.92
ปานกลาง
3.75
มาก

ปานกลาง น้อย
(จานวน) (จานวน)
ร้อยละ
ร้อยละ

ยอดซื้อเฉลี่ย
B

5

12
3.00
7
1.8
10
2.5
11
2.8
67
16.80
92
23.00

ค่าเฉลี่ย ลาดับ
แปลผล

มาก
(จานว
น)
ร้อยละ
180
45.00
178
44.50
165
41.30
128
32.00

คานวณยอดซื้อเฉลี่ย
A

4

น้อยที่สุด
จานวน
ร้อยละ

6
1.50
13
3.30
4
1.0
17
4.3
77
19.30
69
17.30

58
14.50
46
11.50
5
12.80
80
20.00
72
18.00
83
20.80

ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด
ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์
ปัจจัยด้านราคา
ปัจจัยด้านการจัดจาหน่าย
ปัจจัยด้านการส่งเสริมการขาย
ลาดับ

น้อย
(จานวน)
ร้อยละ

ยอดขาย
2,588,040.00
2,846,844.00
3,131,528.40
3,444,681.24
3,789,149.36

รายการ
หมวดสินทรัพย์ถาวร
1. ค่าตกแต่งร้านและเฟอร์นิเจอร์
2. อุปกรณ์สานักงานและคอมพิวเตอร์
(ตัดค่าเสื่อมราคาปีละ 20% ตามประมวลรัษฎากร)
หมวดค่าใช้จ่ายสิ้นเปลืองต่อปี
1. ค่าสิ่งพิมพ์ ฉลาก นามบัตร
2. เครื่องเขียนแบบพิมพ์

ต้นทุนขาย 70%
1,990,800.00
2,189,880.00
2,408,868.00
2,649,754.80
2,914,730.28

57.75

กาไรผันแปร 30%
597,240.00
656,964.00
722,660.40
794,926.44
874,419.08

งบประมาณ
(บาท)
150,000.00
50,000.00
4,000.00
4,000.00

ตัวชี้วัด
มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV)
อัตราผลตอบแทนภายใน ( IRR)
ระยะคืนทุน (Payback Period)

ผลการวิเคราะห์
941,760.79
ร้อยละ 39
1 ปี 10 เดือน 8 วัน

สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภค สินค้าสังฆภัณฑ์ของกลุ่มตัวอย่าง
การศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนธุรกิจร้านขายเครื่องสังฆภัณฑ์ ในเขตเทศบาลเมืองบางศรีเมือง
จังหวัดนนทบุร:ี กรณีศึกษาผู้ที่เดินทางมาทาบุญ ณ วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร จากการศึกษา สามารถสรุปและ
อภิปรายได้ดังนี้
ความเป็นไปได้ทางด้านการตลาด จากการศึกษากลุมตัวอย่างพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็น
่
เพศหญิง จานวน 269 คน คิดเป็นร้อยละ 67.30 รองลงมาเป็นเพศชาย จานวน 131 คน คิดเป็นร้อยละ 32.80
และมีอายุ ระหว่าง 20-29 ปี คิดเป็นร้อยละ 45.50 รองลงมาคือ อายุต่ากว่า 20 ปี จานวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ
8.50 รองลงมาตามลาดับคือ อายุ 30-39 ปี จานวน 130 คน คิดเป็นร้อยละ 32.50 และอายุ 40 ปี ขึ้นไป จานวน
54 คน คิดเป็นร้อยละ 13.50 ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน จานวน 255 คน คิดเป็นร้อยละ
63.80 รองลงมาคือเจ้าของกิจการส่วนตัว จานวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 10.30 รองลงมาตามลาดับคือ รับจ้าง
ทั่วไปจานวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 8.50 นักเรียนนักศึกษาจานวน 31 คน รับราชการและเป็นพนักงานรัฐวิสาหกิจ
จานวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 3.50 อาชีพแม่บ้าน จานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 2.50 อาชีพอื่น ๆ 8 คน คิดเป็น
ร้อยละ 1.60 รายได้เฉลี่ย ส่วนใหญ่ 10,000 -20,000 บาท จานวน 212 คน คิดเป็นร้อยละ 53 รองลงมาคือ ต่า
กว่า 10,000 บาท จานวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 17.50 รองลงมาตามลาดับคือ 20,001-30,000 บาท มีจานวน
62 คน คิดเป็นร้อยละ 15.50 และรายได้ ระดับ 30,001 จานวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 14 ส่วนใหญ่ระดับ
การศึกษาระดับปริญญาตรีจานวน 142 คน คิดเป็นร้อยละ 35.50 รองลงมาคือระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรื
อปวช. จานวน 117 คน คิดเป็นร้อยละ 29.30 รองลงมาตามลาดับคือ ระดับอนุปริญา และปวส. จานวน 80 คน
คิดเป็นร้อยละ 20 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 49 คน คิดเป็นร้อยละ 12.30 ระดับปริญญาโทหรือสูงกว่า
จานวน 7 คน และระดับประถมศึกษา จานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 1.3
สรุปผลการศึกษาพฤติกรรมการซื้อสินค้าสังฆภัณฑ์ของกลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ตอบว่าซื้อสังฆทานอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้งจานวน 120
คน คิดเป็นร้อยละ 30 %รองลงมาซื้อสินค้าสังฆภัณฑ์ ประมาณ 3-6 เดือน ต่อ 1 ครั้ง จานวน 109 คน รองลงมา
ตามลาดับคือไม่แน่นอน จานวน 57 คน คิดเป็นร้อยละ 14.25 ซื้อประมาณเดือนละ 2-3 ครั้ง จานวน 44 คน คิด
เป็นร้อยละ 11 ซื้อบ่อยกว่าสัปดาห์ละครั้ง 17 คน คิดเป็นร้อยละ 4.25 อย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง 12 คน คิดเป็น
ร้อยละ 3
สรุปผลการวิจัยพบว่า ส่วนใหญ่จะใช้บริการร้านสังฆภัณฑ์อย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง
มีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อครั้ง ระหว่าง 500-1000 บาท และผลการคานวณการใช้จ่ายต่อครั้งเท่ากับ 770.25 บาท มี
เกณฑ์การซื้อสินค้าของโครงการ ในปีแรก จานวน 3,360 ครั้ง ยอดขายในปีแรกเท่ากับ 2,588,040 บาท และ
สินค้าที่ซื้อประจาคือ ชุดไทยทาน สังฆทาน ธูปเทียน ดอกไม้
สรุปการประเมินความสนใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อโครงการ
การวิเคราะห์ความสนใจของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านบริการเสริมของร้านสังฆภัณฑ์ ในการรับจัด
งานทาบุญครบวงจร ในด้านของรูปแบบส่วนใหญ่สนใจงานพิธีรดน้าสังข์แต่งงาน จานวน 261 คน คิดเป็นร้อยละ
65.25 ลาดับถัดไปคืองานเลี้ยงพระในโอกาสต่าง ๆ 250 คน คิดเป็นร้อยละ 62.50 ลาดับถัดไปรองลงมาคืองาน
บวชพระ 182 คน คิดเป็นร้อยละ 42.50 งานทาบุญบ้าน
จานวน 129 คน คิดเป็นร้อยละ 32.25 และงานบวงสรวงเปิดโครงการ เปิดบริษัทฯ จานวน 122 คนคิดเป็นร้อย
ละ 30.50
กลุ่มประชากรจานวนให้ความสนใจโครงการ จากจานวน 400 คน พบว่าจานวน 280 คน คิดเป็น
ร้อยละ 70 ตอบว่าจะมาใช้บริการของโครงการในด้านบริการเสริมเรื่องการทาโครงการรับจัดงานทาบุญ และ
พิธีกรรมครบวงจรจากกลุ่มประชากร 400 คน ส่วนใหญ่ให้ความสนใจในด้านของบริการเสริมของโครงการ โดย
114 คน ตอบว่าสนใจถ้าจะจัดงานทาบุญจะเข้าไปติดต่อ จานวน
114 คน คิดเป็นร้อยละ 28.50 รองลงมาคือ สนใจบางส่วน แต่บางส่วนขอจัดการเอง จานวน 161 คน คิดเป็น
ร้อยละ 40.25 รองลงมาตามลาดับคือ สนใจแต่กลัวราคาแพง จานวน 77 คน คิดเป็นร้อยละ 19.25 และตอบว่า
ไม่สนใจเพราะไม่ไว้ใจจัดเองดีกว่า จานวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 12
สรุปผลการศึกษาด้านเทคนิค
ผลการศึกษาพบว่าร้านขายเครื่องสังฆภัณฑ์ ควรตั้งอยู่ใกล้บริเวณวัด เพื่อความสะดวกแก่ผู้เดินทาง
มาทาบุญ ซึ่งสอดคล้องกับการตอบแบบสอบถามของผู้ตอบแบบสอบถามที่ให้ความสาคัญเป็นอันดับ 1 ซึ่งจะเป็น
จุดเริ่มต้นได้ ซึ่งถ้าหากร้านมีชื่อเสียงเป็นที่ไว้ใจก็จะมีการขยายเครือข่ายลูกค้าได้กว้างออกไปอีก หลังจากเป็นที่
รู้จักของกลุ่มลูกค้า และเป็นที่ไว้ใจ
โครงการมีงบประมาณลงทุนสาหรับการก่อตั้งเริ่มแรก 227,000 บาท เงินลงทุนในสินค้าหมุนเวียน
เริ่มแรก เท่ากับ 400,000 บาท รวมเป็น 627,000 บาท
สรุปผลการศึกษาด้านการจัดการ
จากผลการศึกษาพบว่าในระยะเริ่มต้นยอดขายไม่สูงสาหรับผู้ประกอบการรายใหม่ ควรจะทาใน
รูปแบบของบุคคลธรรมดาแบบเจ้าของคนเดียว มีพนักงานอย่างน้อยจานวน 1 คน โดยเจ้าของจะต้องเป็นผู้
อบรมพนักงานในเรื่องสินค้า และการบริการไปด้วย พร้อมทาการขายสินค้าลักษณะร้านขนาดเล็ก การจัดงาน
ทาบุญครบวงจร ในระหว่างนี้อาจทาวิจัยภาคสนามถึงความเป็นไปได้ในการทากิจกรรมควบคู่ต่อไป เพราะถือว่า
ได้ใกล้ชิดลูกค้ามากขึ้น ถ้าหากต่อไปยอดขายมากขึ้น อาจจะจดทะเบียนเป็นรูปแบบบริษัทจากัด และเพิ่ม
พนักงานมากขึ้นเพื่อขยายธุรกิจ
สรุปผลการศึกษาด้านการเงิน
ผลการศึกษาถึงความเป็นไปได้ทางด้านการเงินการลงทุน พบว่าผลการวิเคราะห์ออกมาเป็นที่พอใจ
โดยเงินลงทุนเริ่มแรกเท่ากับ 627,000 บาทมีผลตอบแทนในด้านการเงินดังนี้มูลค่าปัจจุบัน NPV = 941,760.79
บาท ณ อัตราดอกเบี้ย MRR = 7.125% IRR = 39 % ระยะเวลาคืนทุน 1 ปี 10 เดือน 8 วัน สาหรับการเริ่มต้น
โครงการอาจมองว่ายอดขายไม่สูง แต่ผู้วิจัยมองว่าน่าจะเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีได้ เพราะธุรกิจประเภทนี้ต้องสร้าง
ความเชื่อถือ ได้รับความไว้ใจจากลูกค้า การเป็นผู้ประกอบการหน้าใหม่ในวงการนี้อาจต้องใช้เวลา ถ้าหากได้รับ
การยอมรับ ผู้วิจัยมองว่าเป็นธุรกิจที่น่าสนใจ ได้ผลตอบแทนการลงทุนดี ถ้าหากมียอดขายที่มากขึ้น
อภิปรายผลการวิจัย
จากการศึกษาความเป็นไปได้ของธุรกิจร้านสังฆภัณฑ์ ในเขตเทศบาลเมือง บางศรีเมือง จังหวัด
นนทบุรี: กรณีศึกษาผู้เดินทางมาทาบุญ ณ วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร ทั้งในแง่การประเมินความเป็นไปได้
ทางด้านการตลาด ด้านเทคนิค และด้านการจัดการด้านการเงิน สามารถสรุปได้ดังนี้
ความเป็นไปได้ในการลงทุน ซึ่งในส่วนของทาเลที่ตั้งมีความเหมาะสม เนื่องจากตั้งอยู่ในทาเลที่มี
ปัจจัยสนับสนุนให้เกิดความต้องการสินค้าสังฆภัณฑ์ในทาเลนี้ ได้แก่ การตั้งอยู่บนทาเลใกล้วัดเฉลิมพระเกียรติ
ซึ่งเป็นทางผ่านทางหลักของนักท่องเที่ยวที่เดินทางโดยรถยนต์ก่อนถึงวัดเฉลิมพระเกียรติ และวัดเฉลิมพระเกียรติ
เป็นวัดที่มีชื่อเสียงของจังหวัดนนทบุรี ในด้านโบราณสถาน อยู่ใกล้กับอุทยานกาญจนภิเษก เป็นจุดสังเกตง่าย
เป็นทาเลที่เด่น เหมาะสมต่อการประกอบธุรกิจจาหน่ายสินค้าสังฆภัณฑ์ เพื่ออานวยความสะดวกแก่ผู้เดินทางมา
ทาบุญและท่องเที่ยวในการซื้อสินค้าสังฆภัณฑ์
จากผลการวิเคราะห์ดัชนีชี้วัดด้านการเงินจะเห็นว่า มูลค่าปัจจุบันของโครงการ (NPV) เท่ากับ
941,760.79 ซึ่งมีค่าเป็นบวก มีอัตราผลตอบแทนภายใน (IRR) ของโครงการมีค่าร้อยละ 39% ซึ่งผลที่ได้จะสูง
กว่าอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืม และรายการคืนทุน (Payback Period) เท่ากับ 1 ปี 10 เดือน 8 วัน สรุปว่าโครงการ
มีความน่าสนใจในการลงทุนและโครงการมีความเป็นไปได้
การศึกษาความเป็นไปได้ด้านการจัดการ พบว่า มีความเป็นไปได้ในการบริหารจัดการและดูแลการ
ดาเนินการของธุรกิจสังฆภัณฑ์ เนื่องจากธุรกิจด้านนี้ ไม่มีความซับซ้อนมากนัก
การบริหารงานจะใช้แบบเจ้าของกิจการบริหารเอง และควรว่าจ้างพนักงานอย่างน้อย 1 คน เพื่อเป็นผู้ช่วย

ข้อเสนอแนะ
สาหรับการลงทุนธุรกิจสังฆภัณฑ์ ผู้ลงทุนควรให้ความสาคัญกับคุณภาพของสินค้า
การหีบห่อ จัดชุดไทยทาน ควรมีความโดดเด่น มีพัฒนารูปแบบอย่างต่อเนื่อง ต้องมีความซื่อสัตย์กับลูกค้า และ
ควรมีกิจกรรมควบคู่เพื่อเพิ่มยอดขาย มีการพัฒนาช่องทางการจาหน่ายสมัยใหม่ เช่นการบริการจัดส่งถึงที่การรับ
งานทาบุญครบวงจร การขายส่งการเสนอสิน ค้ากั บหน่วยงานราชการ และบริษัทเอกชน กรณีมีงานทาบุ ญ
ประจาปี เช่น งานทอดกฐินประจาปีของหน่วยงาน เป็นต้นสร้างสายสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชน และเจ้าหน้าที่ในวัด
สร้างภาพลักษณ์ให้ร้านมีชื่อเป็นที่รู้จักของหมู่คนที่นิยมทาบุญ
ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป
ในการศึกษางานวิจัยนี้ผู้วิจัยทาการศึกษาได้ศึกษาเฉพาะกลุ่ม ซึ่งใช้ตัวอย่างเฉพาะ
ผู้เดินทางมาทาบุญ ณ วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร ในเขตเทศบาลเมืองบางศรีเมือง จังหวัดนนทบุรี ดังนั้นผู้ที่
สนใจทาธุรกิจสังฆภัณฑ์เขตอื่น ควรศึกษาข้อมูลทางด้านการตลาดในแต่ละเขตที่
ทาการลงทุนด้วย สาหรับข้อมูลทางการเงิน ต้องทราบปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลกระทบต่อการลงทุน เช่น ดอกเบี้ย
สภาพทางการเงินในภาวะต่างกัน เพื่อความปลอดภัยและคุ้มค่าในการลงทุนการเปิดธุรกิจร้านสังฆภัณฑ์

บรรณานุกรม
จันทนา จันทโร และศิริจันทร์ ทองประเสริฐ. (2540). การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการด้าน
ธุรกิจและอุตสาหกรรม (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชัยยศ สันติวงษ์. (2539). การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.ฐาปนา ฉิ่นไพศาล
และอัจฉรา ชีวตระกูลกิจ. (2544). การบริหารโครงการและการศึกษา
ความเป็นไปได้ (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: ธีระฟิลมและไซเท็กซ์.
์
ทิพสุคนธ์ วงษ์เมือง, ประนอม เพ็ชรสมัย, นาคินทร์ พิณเนียม และลลินทร์ อ่อนเกลียว. (2555).
ประมวลรัษฎากร ฉบับสมบูรณ์ปี 2555. กรุงเทพฯ: สานักพัฒนาการบริหารธรรมนิติ.
เทศบาลเมืองบางศรีเมือง. (2554). ข้อมูลประชากร ณ เดือนธันวาคม 2554. วันที่ค้นข้อมูล 18
เมษายน 2555, เข้าถึงได้จาก http: //th.wikipedia.org.
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2555). อัตราดอกเบี้ยสินเชื่อ.วันที่ค้นข้อมูล 12 เมษายน 2555,
เข้าถึงได้จาก www.bot.or.th.
นราศรี ไววนิชกุล และชูศักดิ์ อุดมศรี. (2545). ระเบียบวิธีวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ:
ไทยวัฒนาพานิช.
บัณฑิต ศุภลักษณ์. (2549). การศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนธุรกิจร้านขายยาในเขตจอมทอง.
งานนิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาเศรษฐศาสตร์ธรกิจ, คณะเศรษฐศาสตร์,
ุ
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ปิยะ เพชรสงค์. (2543). การศึกษาต้นทุนและรายได้ของเกษตรกรผูทาการผลิตพืชผักโดยใช้
้
สารธรรมชาติและสารเคมีในจังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต.
สาขาเศรษฐศาสตร์สหกรณ์, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยแม่โจ้.
พระเทพเวที. (2531). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพฯ: ด่านสุภาการพิมพ์.
_________. (2532). พระเทพเวที พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพ:
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พระมหาสง่า ไชยวงศ์. (2541). การศึกษาเชิงวิเคราะห์เรื่อง “ทาน” ในพระพุทธศาสนา.
วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาปรัชญาศิลปศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย,
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
พัชราพรรณ ทะเลรัตน์. (2548). การศึกษาความเป็นไปได้ทางธุรกิจของโครงการลงทุนฟาร์ม
กล้วยไม้ตัดดอกเพื่อส่งออก: กรณีศึกษาฟาร์มตัวอย่างของเกษตรกรไทยในเขตอาเภอ
บางกรวย จังหวัดนนทบุร.ี งานนิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาเศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ, คณะ
เศรษฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เมธาพร วรสินธ์พันธ์. (2553). การศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนร้านขายเครื่องทองเหลืองใน
เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี. การค้นคว้าแบบอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขา
การบริหารธุรกิจ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
รัตนา สายคณิต. (2546). การบริหารโครงการ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
เริงรัก จาปาเงิน. (2544). การจัดการการเงิน (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย
สุโขทัยธรรมาธิราช.
ศศินันท์ จิระฉัตรพัฒน์. (2554). การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการลงทุนในธุรกิจ
จัดจาหน่ายเครื่องปรับอากาศในเขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์เศรษฐศาสตร
มหาบัณฑิต, สาขาเศรษฐศาสตร์การจัดการ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทร
วิโรฒ.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์, ปริญ ลักษิตานนท์ และศุภร เสรีรัตน์. (2546). การบริหารการตลาดยุคใหม่.
กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.
ศุภนุช คุณวรวินิจ. (2546). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มผลต่อการตัดสินใจซื้อสังฆภัณฑ์ของ
ี
ผู้บริโภคในอาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต
สาขาการบริหารธุรกิจ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2554). พฤติกรรมการฉลองปีใหม่ต้อนรับปี 2554 ของคนกรุงเทพฯ. วันที่
ค้นข้อมูล 22 เมษายน 2555, เข้าถึงได้จาก
http://www.thaihealth.or.th/healthcontent/special_report/18924.
สกล แสงมาลี. (2552). เปิดร้านสังฆภัณฑ์บริหารง่ายขายแล้วรวย. กรุงเทพฯ: พีเพิลมีเดีย.
สุภชัย กอบกิจเจริญ. (2548). การศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนธุรกิจขายส่งเครื่องเขียนและ
อุปกรณ์สานักงาน: รูปแบบบริการส่งถึงที.่ งานนิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต,
สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ, คณะเศรษฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อรวดี รื่นรมย์. (2554). การศึกษาความเป็นไปได้ของธุรกิจเบเกอรี่ ในตาบลเชิงเนิน อาเภอเมือง
จังหวัดระยอง. งานนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาบริหารธุรกิจ, วิทยาลัย
พาณิชยศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.
Kollat, D. T., & Blackwell, R.D. (1968). Consumer Behavior. New York: Holt Rinehart and
Winston.
Kotler, P. (1997). Marketing Management Analysis Planning, Implementation and Control
(9th ed). NJ: Prentice-Hall.
_________. (2000). Analyzing Consumer Markets and Buyer Buyer Behavior In Marketing
Management, Evanston Illinois: Norhwestern University.
Perloff, M. P. (2004). Microeconomics (3rd ed.). Boston: Pearson Addison Wesley.
Schiffman, L. G. & Kanuk, L. L. (1987). Consumer Behavior (3rd ed.). New Jersey: Prentice Hall.

Contenu connexe

En vedette

1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการpop Jaturong
 
กรณีศึกษาที่ดี การจัดการและการอนุรักษ์พลังงาน
กรณีศึกษาที่ดี การจัดการและการอนุรักษ์พลังงานกรณีศึกษาที่ดี การจัดการและการอนุรักษ์พลังงาน
กรณีศึกษาที่ดี การจัดการและการอนุรักษ์พลังงานDenpong Soodphakdee
 
การประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนการประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนNaphaphat Niyomjan
 
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)Thailife Insurance Co.,Ltd.(PLC)
 
เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม Part i
เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม Part iเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม Part i
เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม Part iViam Manufacturing
 
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014Wanida Kook
 
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้งRungnapa Rungnapa
 
การประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนการประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนNaphaphat Niyomjan
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตDr.Krisada [Hua] RMUTT
 

En vedette (10)

สูตรคำนวน
สูตรคำนวนสูตรคำนวน
สูตรคำนวน
 
1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ
 
กรณีศึกษาที่ดี การจัดการและการอนุรักษ์พลังงาน
กรณีศึกษาที่ดี การจัดการและการอนุรักษ์พลังงานกรณีศึกษาที่ดี การจัดการและการอนุรักษ์พลังงาน
กรณีศึกษาที่ดี การจัดการและการอนุรักษ์พลังงาน
 
การประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนการประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุน
 
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
 
เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม Part i
เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม Part iเศรษฐศาสตร์วิศวกรรม Part i
เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม Part i
 
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
การตัดสินใจในการลงทุนโครงการ Revised24042014
 
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
 
การประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนการประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุน
 
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิตบทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
บทที่ 7 การวางแผนกระบวนการผลิต
 

Similaire à C

การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภาการบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภาUtai Sukviwatsirikul
 
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00JeenNe915
 
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มรายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มHappy Zaza
 
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภคการสื่อสารการตลาด
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภคการสื่อสารการตลาดบทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภคการสื่อสารการตลาด
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภคการสื่อสารการตลาดetcenterrbru
 
ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)
ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)
ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)Chamada Rinzine
 
Qualitative research - Somruethai
Qualitative research - SomruethaiQualitative research - Somruethai
Qualitative research - SomruethaiKomnBhundarak
 
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่arm_smiley
 
Innovation and R&D 23 Aug 2022.pdf
Innovation and R&D 23 Aug 2022.pdfInnovation and R&D 23 Aug 2022.pdf
Innovation and R&D 23 Aug 2022.pdfpantapong
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่Visiene Lssbh
 
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing processเรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing processsupatra39
 
การจัดการตลาด
การจัดการตลาดการจัดการตลาด
การจัดการตลาดpronprom11
 
รายงานวิจัย
รายงานวิจัยรายงานวิจัย
รายงานวิจัยEnooann Love
 
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00JeenNe915
 
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00JeenNe915
 

Similaire à C (20)

การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภาการบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
การบริหารส่วนประสมการค้าปลีก ของร้านค้าแบบดั้งเดิม โดย อาจารย์ภาวิณี กาญจนาภา
 
หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process00
 
Week6
Week6Week6
Week6
 
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่มรายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
รายงานพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และเครื่องดื่ม
 
Maetaporn
MaetapornMaetaporn
Maetaporn
 
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
พฤติกรรมผู้บริโภคในมุมมองของ IMC (บทที่ 3) สำหรับนิสิต กต17จศ8
 
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภคการสื่อสารการตลาด
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภคการสื่อสารการตลาดบทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภคการสื่อสารการตลาด
บทที่ 4 พฤติกรรมผู้บริโภคการสื่อสารการตลาด
 
Market
MarketMarket
Market
 
ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)
ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)
ภาพที่ 9-3 ตัวอย่างรายงานการวิจัยฉบับเต็ม (Full Report)
 
Qualitative research - Somruethai
Qualitative research - SomruethaiQualitative research - Somruethai
Qualitative research - Somruethai
 
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
เรื่องที่ 5 สภาพการแข่งขันและการบริหารการค้าปลีกแบบสมัยใหม่
 
Innovation and R&D 23 Aug 2022.pdf
Innovation and R&D 23 Aug 2022.pdfInnovation and R&D 23 Aug 2022.pdf
Innovation and R&D 23 Aug 2022.pdf
 
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
ระบบจัดการร้านเบเกอรี่
 
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing processเรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
เรื่องที่ 5 กระบวนการซื้อ (purchasing process
 
การจัดการตลาด
การจัดการตลาดการจัดการตลาด
การจัดการตลาด
 
รายงานวิจัย
รายงานวิจัยรายงานวิจัย
รายงานวิจัย
 
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
 
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
เรื่องที่ 1พฤติกรรมผู้บริโภคกับการตลาดสมัยใหม่00
 
AIM2201
AIM2201AIM2201
AIM2201
 

Plus de Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Plus de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

C

  • 1. ความเป็นไปได้ในการลงทุนธุรกิจร้านสังฆภัณฑ์ในเขตเทศบาลเมืองบางศรีเมือง จังหวัดนนทบุรี : กรณีศึกษาผู้เดินทางมา ทาบุญ ณ วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร (THE STUDY FOCUSED ON THE FEASIBILITY OF MONK SUPPLY STORES IN BANGSRIMUANG MUNICIPALITY, NONTHABURI PROVINCE USED THOSE TRAVELLING TO MAKE MERIT AT WAT CHALERM PRAKIAT WORAWIHARN AS A CASE STUDY TO STUDY PERSONAL FACTORS) โดย ศุภกร เจียมธนทัต การศึกษาความเป็นไปได้ของธุรกิจร้านสังฆภัณฑ์ในเขตเทศบาลเมืองบางศรีเมือง จังหวัดนนทบุรี: กรณีศึกษาผู้เดินทางมาทาบุญ ณ วัดเฉลิมพระเกียรติ วรวิหาร ได้ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล พฤติกรรมผู้บริโภค การตัดสินใจซื้อ การศึกษาส่วนประสมทางการตลาด การศึกษาความเป็นไปได้ทางด้านเทคนิค ด้านการ จัดการ และด้านการเงิน ศึกษาโดยวิเคราะห์ในด้านต่าง ๆ ได้แก่ ข้อมูลส่วนบุคคล พฤติกรรมการบริโภค ข้อมูลปัจจัยส่วนประสมการตลาด ความสนใจด้านบริการ เสริมและความสนใจที่มีต่อโครงการ และวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของโครงการโดยใช้เครื่องมือชี้วัดทางการเงิน การวิเคราะห์โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูล 400 คน เฉพาะผู้ที่เดินทางมาทาบุญ ณ วัดเฉลิมพระเกียรติ ในระยะเวลา 1 เดือน ประมวลผลด้วยโปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติ โดยการวิเคราะห์ข้อมูลด้านความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มประชากรส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ ระหว่าง 20-29 ปี ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพ พนักงานบริษัทเอกชน การศึกษาระดับ ปริญญาตรี และซื้อสังฆภัณฑ์อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง มีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยอยู่ ระหว่าง 500-1000 บาท และสินค้าที่นิยมซื้อประจาคือ ชุดไทยทาน สังฆทาน ธูปเทียน ดอกไม้ และต้องการให้ร้านสังฆภัณฑ์มีสินค้าให้เลือกหลายระดับราคามีสินค้าให้เลือกหลายระดับราคา แหล่งที่ตั้งควรอยู่ใกล้วัด ตลาดชุมชน และเจ้าของร้านจะต้อง มีความรู้ในเรื่องพิธีกรรมต่าง ๆ เพื่อเป็นที่ปรึกษาของลูกค้าได้งบประมาณลงทุนเริ่มแรกของโครงการเท่ากับ 627,000 บาท การวิเคราะห์ด้านการเงินของโครงการ มูลค่าปัจจุบันของโครงการ (NPV) มีค่า 504,536.95 อัตราผลตอบแทนภายใน (IRR) มีค่าร้อยละ 39 ระยะเวลาคืนทุน เท่ากับ 1 ปี 10 เดือน 8 วัน จากผลการวิจัย สรุปว่ายอมรับโครงการมีความน่าสนใจในการลงทุน และมีความเป็นไปได้ แต่ควรมีการเพิ่มบริการเสริมและกิจกรรมควบคู่ในธุรกิจ เพื่อเพิ่มยอดขายให้กับธุรกิจ สังฆภัณฑ์ เช่น การรับจัดงานทาบุญและพิธีกรรมทางศาสนาแบบครบวงจร The study focused on the feasibility of monk supply stores in Bangsrimuang Municipality, Nonthaburi Province. The objectines study personal factors, consumer behavior, the decision to purchase, mixed market factors and to study the feasibility in terms of techniques, management, and finances. Various aspects were analyzed including personal factors, (consumer behavior, mixed market factors, interest in additional services and on the project, and feasibility study on the project using NPV IRR PB. A questionnaire was used to collect information from 400 samples, specifically those travelling to make merit at WatChalermPrakiat in a one month period. Data was analyzed using frequency and mean. From the study it was found that the majority of the sample was female, ages 20-29, with most working in private companies, and with Bachelor’s degree level education and buy monk supplies at least once a month. Expenses are 500-1,000 Baht and the products most popular are gifts, offerings, candles and incense and flowers. They want the monk supply stores to have different products to choose from at different prices. Store locations should be near temples, markets and the owners must be knowledgeable in different ceremonies in order to provide advice to customers. The initial budget for the project is 627,000 Baht, with an IRR of 39% in 1 year, 10 months and 8 days. From the results, this proves to be an interesting investment and is feasible. However, additional services should be available as well as activities in order to increase sales of monk supplies such as organizing merit making and religious ceremonies.
  • 2. ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ทาการศึกษาความเป็นไปได้การทาธุรกิจร้านสังฆภัณฑ์ ตั้งอยู่เลขที่ 89/7 ถนนวัดโบสถ์-ท่าน้านนท์ ห่างจากวัดเฉลิมพระเกียรติประมาณ 500 เมตร เป็นทางผ่านก่อนถึง วัดเฉลิมพระเกียรติ ห่างจากที่ทาการบางศรีเมืองประมาณ 200 เมตร ผู้ศึกษาจึงมีความสนใจที่จะศึกษาถึงองค์ประกอบที่มีผลต่อการตัดสินใจก่อนการลงทุนทาธุรกิจประเภทร้าน สังฆภัณฑ์ ทาธุรกิจร้านสังฆภัณฑ์ในเขตเทศบาลเมืองบางศรีเมือง อาเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี: กรณีศึกษา ผู้เดินทางมาทาบุญ ณ วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความเป็นไปได้การลงทุนร้านจาหน่ายเครื่องสังฆภัณฑ์ในเขตเทศบางเมือง บางศรีเมือง จังหวัดนนทบุรี: กรณีศึกษาผู้เดินทางมาทาบุญ ณ วัดเฉลิมพระเกียตริวรวิหาร เพื่อประเมินผลโครงการว่ามีความน่าลงทุนหรือไม่ โดย ประเมินผลใน 4 ด้านคือ ด้านการตลาด ด้านเทคนิค ด้านการจัดการ ด้านการเงิน สมมติฐานของการวิจัย มีความเป็นไปได้ในการลงทุนธุรกิจร้านสังฆภัณฑ์ในเขตเทศบาลเมืองบางศรีเมือง:กรณีศึกษาผู้ที่เดินทางมาทาบุญ ณ วัดเฉลิมพระเกียรติ วรวิหาร โดยการวิเคราะห์ในด้านของพฤติกรรมผู้บริโภค และทฤษฎีการวิเคราะห์ความเป็นไปได้การลงทุน 4 ด้าน คือ การตลาด เทคนิค การจัดการการเงิน แล้วทาการสรุปว่าจะยอมรับหรือปฏิเสธโครงการ กรอบแนวคิดในการวิจัย ตัวแปรต้น 1. วิเคราะห์ด้านการตลาด 2 วิเคราะห์ ด้านเทคนิค 3.วิเคราะห์ด้านการจัดการ 4.วิเคราะห์ด้านการเงิน ตัวแปรตาม คือ ความเป็นไปได้ในการลงทุนธุรกิจร้านจาหน่ายสังฆภัณฑ์ในเขตเทศบาลเมืองบางศรีเมือง จังหวัดนนทบุรี:กรณีศึกษาผู้ที่เดินทางมาทาบุญ ณ วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร วรรณกรรมหลัก 1.แนวคิดและทฤษฎีส่วนประสมทางการตลาดส่วนประสมทางการตลาด (Marketing Mix) หมายถึง กลุ่มของเครื่องมือทางการตลาดซึ่งธุรกิจใช้ร่วมกันในการวางแผนกลยุทธ์ เพื่อให้บรรลุ วัตถุประสงค์ทางการตลาดคือการตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค เครื่องมือการตลาด 4 ประการ ประกอบด้วย ผลิตภัณฑ์ (Product) ราคา (Price) การจัดจาหน่าย (Place or Distribution) และการส่งเสริมการตลาด (Promotion) ซึ่งเรียกสั้น ๆ ว่า 4 P’s (Kotler, 2000) 2.แนวคิดและทฤษฎีอุปสงค์ (Demand) คาว่า “อุปสงค์” มีความหมายเฉพาะในวิชาเศรษฐศาสตร์ อาจให้คาจากัดความได้ว่าอุปสงค์ สาหรับสินค้าและบริการชนิดใดชนิดหนึ่ง หมายถึง จานวนต่าง ๆ ของสินค้าหรือบริการชนิดนั้นในระยะเวลาที่กาหนด (Perloff, 2004) 3.แนวคิดและทฤษฎีพฤติกรรมผู้บริโภค (Theory of Consumer Behavior)พฤติกรรมผู้บริโภค (Consumer Behavier) หมายถึง พฤติกรรมซึ่งผู้บริโภคทาการค้นหา การซื้อ การใช้ การประเมินผล การใช้สอยผลิตภัณฑ์ และการบริการ ซึ่งคาดว่าจะสนองความต้องการของเขา (Schiffman & Kanuk, 1987, p. 5) 4.แนวคิดและทฤษฏีกระบวนการตัดสินใจของผู้ซื้อ ประกอบด้วย 5 กระบวนการ คือ ขั้นรับรู้ ค้นหาข้อมูล ประเมินทางเลือก ตัดสินใจเลือกทางที่ดีที่สุด ประเมินภายหลังเลือกซื้อ 5.แนวคิดและทฤษฏีเกี่ยวกับการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) นั้นมีจุดประสงค์ ก็เพื่อที่จะตอบคาถามว่าโครงการที่กาลังพิจารณาน่าที่ จะลงทุนและมีโอกาสทางการตลาดหรือไม่ ซึ่งในการดาเนินธุรกิจนั้นจาเป็นต้องสามารถตอบคาถามได้ในเวลาอันรวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ เพื่อความได้เปรียบทางธุรกิจหากไม่สามารถหา คาตอบได้ แสดงว่าการศึกษานั้นยังไม่สมบูรณ์ อาจจะช่วยธุรกิจไม่ได้หรือช่วยได้ก็ไม่ทันเวลา แต่ถ้าได้มีการทาการศึกษาความเป็นไปได้อย่างละเอียดและครบถ้วน จะทาให้นักลงทุนสามารถ ตัดสินใจในการวางแผนธุรกิจได้ดี ดังนั้นการศึกษาความเป็นไปได้ที่ดีจะต้องมีข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาวิเคราะห์อย่างครบถ้วน ได้แก่ การวิเคราะห์ทางการเงิน การออกสัมภาษณ์ และการศึกษา ข้อมูลเกี่ยวกับทางสถิติต่าง ๆ เพื่อที่จะให้ผลการศึกษามีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ศศินันท์ จิระฉัตรพัฒน์ (2554) ศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการลงทุนในธุรกิจจัดจาหน่ายเครื่องปรับอากาศในเขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒน์ ประสานมิตร ผลการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการลงทุนในด้านการเงินพบว่าธุรกิจมีความเป็นไปได้ในการลงทุน เพราะว่ามีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ มีค่า เท่ากับ 1,869,551 บาท อัตรา ผลตอบแทนภายในโครงการ มีค่าเท่ากับร้อยละ 51.48 อัตราส่วนผลตอนแทนต่อต้นทุนของโครงการเท่ากับ 1.29 เท่า และระยะเวลาคืนทุนคิดลดเท่ากับ 1 ปี 11 เดือน ผลการวิเคราะห์ ความไวของโครงการ เมื่อกาหนดให้ค่าใช้จ่ายและผลตอบแทนเปลี่ยนแปลงไปจากยอดประมาณการโดยแบ่งการทดสอบออกเป็น 3 กรณี คือ กรณีที่ 1 ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงานเพิ่มขึ้น กรณีที่ 2 ผลตอบแทนของโครงการลดลง และกรณีที่ 3 ค่าใช้จ่ายการดาเนินงานเพิ่มขึ้น ขณะที่ผลตอบแทนของโครงการลดลง ผลปรากฏว่าโครงการธุรกิจจาหน่ายเครื่องปรับอากาศในเขต มีนบุรี กรุงเทพฯ ยังสามารถลงทุนในโครงการได้ เนื่องจากมูลค่าปัจจุบันสุทธิของโครงการยังมีค่ามากกว่าศูนย์ อัตราผลตอบแทนภายในโครงการมีค่ามากว่าอัตราดอกเบี้ยที่กาหนดไว้เท่ากับ ร้อยละ 7.84 อัตราส่วนผลตอบแทนต่อทุนของโครงการมีค่ามากว่า 1 ในทุกกรณี โครงการดังกล่าวจึงมีความเป็นไปได้และมีความน่าสนใจลงทุน อรวดี รื่นรมย์ (2554) ทาการศึกษาความเป็นไปได้ของธุรกิจเบเกอรี่ในตาบลเชิงเนิน อาเภอเมือง จังหวัดระยอง พบว่า ผลตอบแทนภายใน (IRR) ของโครงการมีค่าร้อยละ 14 ผล ที่ได้จะสูงกว่าอัตราดอกเบี้ยกู้ยืม และระยะคืนทุน เท่ากับ 2 ปี 6 เดือน โครงการมีความเป็นไปได้ในการลงทุน
  • 3. วิธีดาเนินการวิจัย กลุ่มประชากร ประชากรในการศึกษาความเป็นไปได้ครั้งนี้คือประชากรที่เดินทางมาทาบุญ ณ วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร เขตเทศบาลเมืองบางศรีเมือง จังหวัดนนทบุรี กลุ่มตัวอย่าง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คอ ประชากรในเทศบาลเมืองบางศรีเมือง จานวน 29,936 คน จานวนประชากรเทศบาลเมืองบางศรีเมือง (เทศบาลเมืองบางศรีเมือง, 2554)เนื่องจาก ื ทราบจานวนประชากรที่แท้จริง จึงได้ใช้วิธีการกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยสูตรการหาขนาดตัวอย่างที่ระดับความเชื่อมั่น 95% (นราศรี ไววนิชกุล และชูศักดิ์ อุดมศรี, 2545 หน้า 133) ดังนี้ n = 29,936/ 1+(29,936) (0.05) 2 = 29,936/ 74.84 = 400 คน ผลจากการคานวณจะได้ขนาดกลุมตัวอย่าง n = คน การวิจัยครั้งนี้ จึงใช้กลุ่มตัวอย่างจานวน 400 คน ่ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและผลวิเคราะห์ข้อมูล การศึกษาครั้งนี้ในด้านข้อมูลต้นทุนผันแปรผู้วิจัยอ้างอิงข้อมูล จากเปิดร้านสังฆภัณฑ์ บริหารง่ายขายแล้วรวย 2552 ได้อ้างอิงจากหนังสือแล้วนาข้อมูลมาสรุปในประเด็นสาคัญ ใน การประมาณการค่าใช้จ่าย ต้นทุน และการวางแผนการดาเนินงานใน 4 ด้าน คือ ด้านการตลาด ด้านเทคนิคการจัดการ การบริหารการเงิน และการเก็บแบบสอบถามจานวน 400 ชุด จากผู้ที่ซื้อ สินค้าสังฆภัณฑ์ประจา มาทาการวิเคราะห์ด้านการตลาด พฤติกรรม ความสนใจที่กลุมตัวอย่างมีต่อโครงการที่ทาการวิจัย รวมถึงการวิเคราะห์มูลค่าปัจจุบันสุทธิ ระยะเวลาคืนทุน จุดคุ้มทุน ่ ความถี่ในการไปซื้อสินค้า สังฆภัณฑ์ที่ร้านจาหน่ายสินค้าเครื่องสังฆภัณฑ์ บ่อยกว่าสัปดาห์ละครั้ง อย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง ประมาณเดือนละ 2-3 ครั้ง อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง ประมาณ 3-6 เดือน ต่อ 1 ครั้ง อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ไม่แน่นอน รวม ค่าใช้จ่ายในการซื้อสังฆภัณฑ์ต่อครั้งโดยประมาณ 1. 100-500 บาท 2. 501-1,000 บาท 3. 1,000-2,000 บาท 4. 2,001-3,000 บาท 5. 3,001-4,000 บาท 6. 4,001 บาทขึ้นไป รวม ประเภทของสินค้าเครื่องสังฆภัณฑ์ที่ท่านเลือกซื้อ (ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ) 1. เครื่องทองเหลือง 2. ชุดสังฆทาน 3. รูปปั้นองค์เทพ 4. ธูปเทียน 5. เครื่องเบญจรงค์-เซรามิค 6. พระพุทธรูป พระประจาวันเกิด 7. เครื่องหอมเช่นน้าอบไทยน้ามันจัน 8. ดอกไม้สดพวงมาลัย 9. เครื่องอัฐบริขาร 10. อื่น ๆ จานวน 17 12 44 120 109 41 57 400 ร้อยละ 4.25 3.00 11.00 30.00 27.25 10.25 14.25 100 จานวน 77 290 22 4 7 0 400 จานวน จาก 400 คน 36 258* 30 213 15 46 56 174 58 10 ร้อยละ 19.25 72.50 5.50 1.00 1.75 0 100 ร้อยละ ลาดับ 9.00 65.00 7.50 53.25 3.75 11.50 14.00 43.50 14.50 2.50 7 1 8 2 9 6 5 3 4 10 คาตอบ วันจันทร์-ศุกร์ วันเสาร์-อาทิตย์ เทศกาลวันสาคัญ จานวน 151 290 250 ร้อยละ 38.00 73.00 63.00 คาตอบ 1. อินเทอร์เน็ต 2. วิทยุ 3. หนังสือพิมพ์ 4. ป้ายโฆษณา 5. เพื่อนหรือญาติ 6. อื่น ๆ 7. ไม่เคยได้รับ จานวน 34 16 120. 30 95 75 30 ร้อยละ 8.50 4.00 30.00 7.50 23.75 18.75 7.50 คาตอบ 1. มีอย่างมาก 2. มีบ้าง 3. ไม่มีเลย รวม จานวน 203 147 50 400 ร้อยละ 50.75 36.75 12.50 100 ปัจจัยทาง การตลาด ด้านผลิตภัณฑ์ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ค่าเฉลี่ย ลาดับ (จานวน) (จานวน) (จานวน) (จานวน) จานวน แปลผล ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ คุณภาพสินค้า 153 38.30 ความทันสมัยของ 73 สินค้า 18.30 สินค้าเป็นยีห้อที่รู้จัก 67 ่ 16.80 ความแตกต่างโดด 62 เด่นของผลิตภัณฑ์ 15.50 การหีบห่อ 84 21.00 มีสินค้าให้เลือกครบ 143 ทุกประเภทที่ต้องการ 35.80 มีสินค้าให้เลือกหลาย 134 ระดับราคา 33.00 141 35.30 132 33.00 182 45.50 151 37.80 165 41.30 148 37.00 140 35.00 65 16.30 148 37.00 124 31.00 126 31.5 114 28.50 87 21.80 110 27.50 14 3.5 28 7.00 24 6.00 59 14.80 37 9.3 20 5.00 14 3.5 ปัจจัยทาง มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย การตลาด (จานวน) (จานวน) (จานวน) (จานวน) ด้านผลิตภัณฑ์ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ความสามารถการหา สินค้าตามความ ต้องการของลูกค้า การบริการจัดสินค้า เป็นชุดตามความ ต้องการของลูกค้า 102 25.50 160 40 120 30.00 12 3.0 113 166 28.30 41.50 82 20.50 27 6.8 19 4.80 3 0.80 2 0.5 00 00 2 0.50 2 0.5 น้อย ค่าเฉลี่ย ที่สุด แปลผล จานวน ร้อยละ 6 3.85 1.5 มาก 27 6.8 ค่าเฉลี่ ย มากที่สุด ปัจจัยทางทางด้านราคา (จานวน) ร้อยละ ราคาสูงไม่เป็นไร 122 เน้นสินค้าคุณภาพดี 30.50 ราคาถูกกว่าร้านใน 89 ย่านเดียวกัน 22.30 ราคาสามารถต่อรองได้ 93 23.30 มีป้ายราคาสินค้าชัดเจน 136 34.00 มีการรับชาระด้วย 58 บัตรเครดิต 14.50 มาก (จานวน) ร้อยละ 141 35.30 166 41.50 135 33.80 156 39.00 90 22.50 ค่าเฉลี่ย 3.94 มาก 3.53 มาก 3.71 มาก 3.54 มาก 3.74 มาก 4.02 มาก 3.97 มาก 12 3.00 3.86 มาก 6 9 7 8 5 1 2 ลาดับ 4 3 3.79 มาก ปานกลาง (จานวน) ร้อยละ 115 28.80 111 27.80 108 27.00 62 15.50 91 22.80 น้อย (จานวน) ร้อยละ 14 3.50 32 8.0 58 14.50 36 9.0 59 14.80 น้อยที่สุด ค่าเฉลี่ย ลาดั จานวน แปลผล บ ร้อยละ 8 3.89 2 2.00 มาก 2 3.77 3 0.50 มาก 6 3.62 4 1.50 มาก 10 3.93 1 2.5 มาก 102 2.85 5 25.50 ปานกลาง 3.61 มาก
  • 4. ด้านสถานที่และ ช่องทางการ จาหน่าย ใกล้ชุมชน ใกล้ตลาด ใกล้วัด จอดรถสะดวก สั่งซื้อสินค้าทาง โทรศัพท์ได้ สั่งซื้อสินค้าทางเว็บ ไซด์ได้ ปัจจัยทางทางด้าน การส่งเสริมการตลาด และกิจกรรมควบคู่ มากที่สุด (จานวน) ร้อยละ 143 35.80 137 34.30 182 45.50 144 36.00 93 23.30 68 17.00 มากที่สุด (จานวน) ร้อยละ ป้ายร้านสังเกตง่าย 127 31.80 การจัดแสดงสินค้าโดด 117 เด่นสะดุดตา 29.30 ผู้จาหน่ายมีความรู้เรื่อง 129 พิธีกรรม 32.30 การจัดทาเอกสารใน 133 เรื่องการทาบุญและ 33.30 พิธีกรรม การบริการจัดส่งฟรี 116 29.00 การรับจัดงานทาบุญ 123 แบบครบวงจร ทุก 30.80 รูปแบบ มีการจัดทาแคตตาล็อก 112 สินค้าให้ลูกค้า 28.00 มาก ปานกลาง (จานวน) (จานวน) ร้อยละ ร้อยละ 181 45.30 197 49.30 153 38.30 148 37.00 91 22.80 88 22.00 ค่าเฉลี่ย 2 1 รายการ ค่าใช้จ่ายในการขายและการบริหารประจาต่อเดือน 1. เงินเดือนพนักงาน 1 คน 2. ค่าน้าประปา ค่าไฟฟ้า 3. ค่าโทรศัพท์และค่าใช้จ่ายในการสื่อสาร 4. ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ดต่อเดือน รวมต้นทุนคงที่และค่าใช้จ่ายดาเนินการเริมต้น ่ 4 5 6 ค่าเฉลี่ ลาดับ ย แปลผล 53.00 13.30 65 16.30 97 24.30 79 19.80 25 6.30 25 6.3 8 2.0 35 8.8 15 3.8 15 3.8 1 0.3 25 8.3 3.94 มาก 3.89 มาก 4.03 มาก 3.77 มาก 2 115 28.80 122 30.50 74 18.50 100 25.00 63 15.80 42 10.50 32 8.00 13 3.3 3.55 มาก 3.75 มาก 6 111 27.80 ค่าเฉลี่ ย 70 17.50 62 15.50 45 11.30 3.45 มาก 3.77 มาก งบประมาณ (บาท) 10,000.00 2,000.00 2,000.00 5,000.00 227,000.00 ประมาณการงบกาไรขาดทุน 5 ปี ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4 ปีที่ 5 2,588,040.0 2,846,844.00 3,131,528.40 3,444,681.24 3,789,149.36 0 1,990,800.0 2,189,880.00 2,408,868.00 2,649,754.80 2,914,730.28 0 597,240.00 656,964.00 722,660.40 794,926.44 874,419.08 ยอดขาย ต้นทุนขาย กาไรขั้นต้น หัก ค่าใช้จ่ายในดาเนินงาน ค่าเสื่อมราคา 20 % ต่อปี ค่าวัสดุสิ้นเปลือง ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร รวมค่าใช้จ่าย กาไรก่อนภาษี ชาระภาษีเงินได้ กาไรหลังจ่ายภาษี 7 M 3.79 3.61 3.75 3.77 100-500/ 2 = 300 บาท 2 3 500-1,000/ 2 = 750 บาท 1,000-2,000/ 2 = 1,500 บาท 2,001-3,000/ 2 = 2,500 บาท 3,001-4,000/ 2 = 3,500 บาท ลาดับที่ 1 4 3 2 3 1 4 5 ระดับนัยสาคัญ สาคัญมาก สาคัญมาก สาคัญมาก สาคัญมาก จานวนเงินเฉลี่ย (BxC) 300 ค่าร้อยละของการซื้อสินค้า C จากตารางที่ 4-6 19.25 750 1,500 72.50 5.50 543.75 82.50 2,500 1.00 3,500 1.75 % 770.25 1-150,000 150,001-500,000 500,001-1,000,000 1,000,001-4,000,000 4,000,001 ขึ้นไป 30,000.00 5,000.00 250,800.00 285,800.00 371,164.00 22,116.40 349,047.60 ช่วงเงินได้สุทธิ อัตราภาษีร้อยละ 150,000 350,000 500,000 3,000,000 ได้รับยกเว้น 10 20 30 37 30,000.00 5,000.00 275,880.00 310,880.00 411,780.40 26,178.04 385,602.36 ภาษีแต่ละขัน ้ เงินได้สุทธิ 35,000 100,000 900,000 30,000.00 5,000.00 303,468.00 338,468.00 456,458.44 30,645.84 425,812.60 30,000.00 5,000.00 333,814.80 368,814.80 505,604.28 36,120.85 469,483.43 ภาษีสะสม สูงสุดของขั้น 35,000 135,000 1,035,000 ปีที่ 0 1 2 เงินลงทุนเริ่มแรก 627,000.00 - รายรับสุทธิ -627,000.00 315,816.00 349,047.60 รายรับสุทธิสะสม -627,000.00 -311,184.00 37,863.60 3 - 385,602.36 423,465.96 4 5 - 425,812.60 469,483.43 849,278.56 1,318,761.99 61.25 100 เงินได้สุทธิ 30,000.00 5,000.00 228,000.00 263,000.00 334,240.00 18,424.00 315,816.00 25.00 รวม ประมาณการยอดขายเฉลี่ย 1 คนต่อครั้งโดยประมาณ ปี 1 ปี 2 ปี 3 ปี 4 ปี 5 3 น้อยที่สุด จานวน ร้อยละ 1 รายการ ประมาณการยอดขาย ประมาณการยอดขาย ประมาณการยอดขาย ประมาณการยอดขาย ประมาณการยอดขาย 4.09 มาก 4.11 มาก 4.23 มากที่สุด 3.99 มาก 3.16 ปานกลาง 2.92 ปานกลาง 3.75 มาก ปานกลาง น้อย (จานวน) (จานวน) ร้อยละ ร้อยละ ยอดซื้อเฉลี่ย B 5 12 3.00 7 1.8 10 2.5 11 2.8 67 16.80 92 23.00 ค่าเฉลี่ย ลาดับ แปลผล มาก (จานว น) ร้อยละ 180 45.00 178 44.50 165 41.30 128 32.00 คานวณยอดซื้อเฉลี่ย A 4 น้อยที่สุด จานวน ร้อยละ 6 1.50 13 3.30 4 1.0 17 4.3 77 19.30 69 17.30 58 14.50 46 11.50 5 12.80 80 20.00 72 18.00 83 20.80 ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยด้านราคา ปัจจัยด้านการจัดจาหน่าย ปัจจัยด้านการส่งเสริมการขาย ลาดับ น้อย (จานวน) ร้อยละ ยอดขาย 2,588,040.00 2,846,844.00 3,131,528.40 3,444,681.24 3,789,149.36 รายการ หมวดสินทรัพย์ถาวร 1. ค่าตกแต่งร้านและเฟอร์นิเจอร์ 2. อุปกรณ์สานักงานและคอมพิวเตอร์ (ตัดค่าเสื่อมราคาปีละ 20% ตามประมวลรัษฎากร) หมวดค่าใช้จ่ายสิ้นเปลืองต่อปี 1. ค่าสิ่งพิมพ์ ฉลาก นามบัตร 2. เครื่องเขียนแบบพิมพ์ ต้นทุนขาย 70% 1,990,800.00 2,189,880.00 2,408,868.00 2,649,754.80 2,914,730.28 57.75 กาไรผันแปร 30% 597,240.00 656,964.00 722,660.40 794,926.44 874,419.08 งบประมาณ (บาท) 150,000.00 50,000.00 4,000.00 4,000.00 ตัวชี้วัด มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) อัตราผลตอบแทนภายใน ( IRR) ระยะคืนทุน (Payback Period) ผลการวิเคราะห์ 941,760.79 ร้อยละ 39 1 ปี 10 เดือน 8 วัน สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ปัจจัยส่วนบุคคลของผู้บริโภค สินค้าสังฆภัณฑ์ของกลุ่มตัวอย่าง การศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนธุรกิจร้านขายเครื่องสังฆภัณฑ์ ในเขตเทศบาลเมืองบางศรีเมือง จังหวัดนนทบุร:ี กรณีศึกษาผู้ที่เดินทางมาทาบุญ ณ วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร จากการศึกษา สามารถสรุปและ อภิปรายได้ดังนี้ ความเป็นไปได้ทางด้านการตลาด จากการศึกษากลุมตัวอย่างพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็น ่ เพศหญิง จานวน 269 คน คิดเป็นร้อยละ 67.30 รองลงมาเป็นเพศชาย จานวน 131 คน คิดเป็นร้อยละ 32.80 และมีอายุ ระหว่าง 20-29 ปี คิดเป็นร้อยละ 45.50 รองลงมาคือ อายุต่ากว่า 20 ปี จานวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 8.50 รองลงมาตามลาดับคือ อายุ 30-39 ปี จานวน 130 คน คิดเป็นร้อยละ 32.50 และอายุ 40 ปี ขึ้นไป จานวน 54 คน คิดเป็นร้อยละ 13.50 ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน จานวน 255 คน คิดเป็นร้อยละ 63.80 รองลงมาคือเจ้าของกิจการส่วนตัว จานวน 41 คน คิดเป็นร้อยละ 10.30 รองลงมาตามลาดับคือ รับจ้าง ทั่วไปจานวน 34 คน คิดเป็นร้อยละ 8.50 นักเรียนนักศึกษาจานวน 31 คน รับราชการและเป็นพนักงานรัฐวิสาหกิจ จานวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 3.50 อาชีพแม่บ้าน จานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 2.50 อาชีพอื่น ๆ 8 คน คิดเป็น ร้อยละ 1.60 รายได้เฉลี่ย ส่วนใหญ่ 10,000 -20,000 บาท จานวน 212 คน คิดเป็นร้อยละ 53 รองลงมาคือ ต่า กว่า 10,000 บาท จานวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 17.50 รองลงมาตามลาดับคือ 20,001-30,000 บาท มีจานวน 62 คน คิดเป็นร้อยละ 15.50 และรายได้ ระดับ 30,001 จานวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 14 ส่วนใหญ่ระดับ การศึกษาระดับปริญญาตรีจานวน 142 คน คิดเป็นร้อยละ 35.50 รองลงมาคือระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรื อปวช. จานวน 117 คน คิดเป็นร้อยละ 29.30 รองลงมาตามลาดับคือ ระดับอนุปริญา และปวส. จานวน 80 คน คิดเป็นร้อยละ 20 ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 49 คน คิดเป็นร้อยละ 12.30 ระดับปริญญาโทหรือสูงกว่า จานวน 7 คน และระดับประถมศึกษา จานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 1.3
  • 5. สรุปผลการศึกษาพฤติกรรมการซื้อสินค้าสังฆภัณฑ์ของกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ตอบว่าซื้อสังฆทานอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้งจานวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ 30 %รองลงมาซื้อสินค้าสังฆภัณฑ์ ประมาณ 3-6 เดือน ต่อ 1 ครั้ง จานวน 109 คน รองลงมา ตามลาดับคือไม่แน่นอน จานวน 57 คน คิดเป็นร้อยละ 14.25 ซื้อประมาณเดือนละ 2-3 ครั้ง จานวน 44 คน คิด เป็นร้อยละ 11 ซื้อบ่อยกว่าสัปดาห์ละครั้ง 17 คน คิดเป็นร้อยละ 4.25 อย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง 12 คน คิดเป็น ร้อยละ 3 สรุปผลการวิจัยพบว่า ส่วนใหญ่จะใช้บริการร้านสังฆภัณฑ์อย่างน้อย เดือนละ 1 ครั้ง มีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อครั้ง ระหว่าง 500-1000 บาท และผลการคานวณการใช้จ่ายต่อครั้งเท่ากับ 770.25 บาท มี เกณฑ์การซื้อสินค้าของโครงการ ในปีแรก จานวน 3,360 ครั้ง ยอดขายในปีแรกเท่ากับ 2,588,040 บาท และ สินค้าที่ซื้อประจาคือ ชุดไทยทาน สังฆทาน ธูปเทียน ดอกไม้ สรุปการประเมินความสนใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อโครงการ การวิเคราะห์ความสนใจของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านบริการเสริมของร้านสังฆภัณฑ์ ในการรับจัด งานทาบุญครบวงจร ในด้านของรูปแบบส่วนใหญ่สนใจงานพิธีรดน้าสังข์แต่งงาน จานวน 261 คน คิดเป็นร้อยละ 65.25 ลาดับถัดไปคืองานเลี้ยงพระในโอกาสต่าง ๆ 250 คน คิดเป็นร้อยละ 62.50 ลาดับถัดไปรองลงมาคืองาน บวชพระ 182 คน คิดเป็นร้อยละ 42.50 งานทาบุญบ้าน จานวน 129 คน คิดเป็นร้อยละ 32.25 และงานบวงสรวงเปิดโครงการ เปิดบริษัทฯ จานวน 122 คนคิดเป็นร้อย ละ 30.50 กลุ่มประชากรจานวนให้ความสนใจโครงการ จากจานวน 400 คน พบว่าจานวน 280 คน คิดเป็น ร้อยละ 70 ตอบว่าจะมาใช้บริการของโครงการในด้านบริการเสริมเรื่องการทาโครงการรับจัดงานทาบุญ และ พิธีกรรมครบวงจรจากกลุ่มประชากร 400 คน ส่วนใหญ่ให้ความสนใจในด้านของบริการเสริมของโครงการ โดย 114 คน ตอบว่าสนใจถ้าจะจัดงานทาบุญจะเข้าไปติดต่อ จานวน 114 คน คิดเป็นร้อยละ 28.50 รองลงมาคือ สนใจบางส่วน แต่บางส่วนขอจัดการเอง จานวน 161 คน คิดเป็น ร้อยละ 40.25 รองลงมาตามลาดับคือ สนใจแต่กลัวราคาแพง จานวน 77 คน คิดเป็นร้อยละ 19.25 และตอบว่า ไม่สนใจเพราะไม่ไว้ใจจัดเองดีกว่า จานวน 48 คน คิดเป็นร้อยละ 12 สรุปผลการศึกษาด้านเทคนิค ผลการศึกษาพบว่าร้านขายเครื่องสังฆภัณฑ์ ควรตั้งอยู่ใกล้บริเวณวัด เพื่อความสะดวกแก่ผู้เดินทาง มาทาบุญ ซึ่งสอดคล้องกับการตอบแบบสอบถามของผู้ตอบแบบสอบถามที่ให้ความสาคัญเป็นอันดับ 1 ซึ่งจะเป็น จุดเริ่มต้นได้ ซึ่งถ้าหากร้านมีชื่อเสียงเป็นที่ไว้ใจก็จะมีการขยายเครือข่ายลูกค้าได้กว้างออกไปอีก หลังจากเป็นที่ รู้จักของกลุ่มลูกค้า และเป็นที่ไว้ใจ โครงการมีงบประมาณลงทุนสาหรับการก่อตั้งเริ่มแรก 227,000 บาท เงินลงทุนในสินค้าหมุนเวียน เริ่มแรก เท่ากับ 400,000 บาท รวมเป็น 627,000 บาท สรุปผลการศึกษาด้านการจัดการ จากผลการศึกษาพบว่าในระยะเริ่มต้นยอดขายไม่สูงสาหรับผู้ประกอบการรายใหม่ ควรจะทาใน รูปแบบของบุคคลธรรมดาแบบเจ้าของคนเดียว มีพนักงานอย่างน้อยจานวน 1 คน โดยเจ้าของจะต้องเป็นผู้ อบรมพนักงานในเรื่องสินค้า และการบริการไปด้วย พร้อมทาการขายสินค้าลักษณะร้านขนาดเล็ก การจัดงาน ทาบุญครบวงจร ในระหว่างนี้อาจทาวิจัยภาคสนามถึงความเป็นไปได้ในการทากิจกรรมควบคู่ต่อไป เพราะถือว่า ได้ใกล้ชิดลูกค้ามากขึ้น ถ้าหากต่อไปยอดขายมากขึ้น อาจจะจดทะเบียนเป็นรูปแบบบริษัทจากัด และเพิ่ม พนักงานมากขึ้นเพื่อขยายธุรกิจ สรุปผลการศึกษาด้านการเงิน ผลการศึกษาถึงความเป็นไปได้ทางด้านการเงินการลงทุน พบว่าผลการวิเคราะห์ออกมาเป็นที่พอใจ โดยเงินลงทุนเริ่มแรกเท่ากับ 627,000 บาทมีผลตอบแทนในด้านการเงินดังนี้มูลค่าปัจจุบัน NPV = 941,760.79 บาท ณ อัตราดอกเบี้ย MRR = 7.125% IRR = 39 % ระยะเวลาคืนทุน 1 ปี 10 เดือน 8 วัน สาหรับการเริ่มต้น โครงการอาจมองว่ายอดขายไม่สูง แต่ผู้วิจัยมองว่าน่าจะเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีได้ เพราะธุรกิจประเภทนี้ต้องสร้าง ความเชื่อถือ ได้รับความไว้ใจจากลูกค้า การเป็นผู้ประกอบการหน้าใหม่ในวงการนี้อาจต้องใช้เวลา ถ้าหากได้รับ การยอมรับ ผู้วิจัยมองว่าเป็นธุรกิจที่น่าสนใจ ได้ผลตอบแทนการลงทุนดี ถ้าหากมียอดขายที่มากขึ้น อภิปรายผลการวิจัย จากการศึกษาความเป็นไปได้ของธุรกิจร้านสังฆภัณฑ์ ในเขตเทศบาลเมือง บางศรีเมือง จังหวัด นนทบุรี: กรณีศึกษาผู้เดินทางมาทาบุญ ณ วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร ทั้งในแง่การประเมินความเป็นไปได้ ทางด้านการตลาด ด้านเทคนิค และด้านการจัดการด้านการเงิน สามารถสรุปได้ดังนี้ ความเป็นไปได้ในการลงทุน ซึ่งในส่วนของทาเลที่ตั้งมีความเหมาะสม เนื่องจากตั้งอยู่ในทาเลที่มี ปัจจัยสนับสนุนให้เกิดความต้องการสินค้าสังฆภัณฑ์ในทาเลนี้ ได้แก่ การตั้งอยู่บนทาเลใกล้วัดเฉลิมพระเกียรติ ซึ่งเป็นทางผ่านทางหลักของนักท่องเที่ยวที่เดินทางโดยรถยนต์ก่อนถึงวัดเฉลิมพระเกียรติ และวัดเฉลิมพระเกียรติ เป็นวัดที่มีชื่อเสียงของจังหวัดนนทบุรี ในด้านโบราณสถาน อยู่ใกล้กับอุทยานกาญจนภิเษก เป็นจุดสังเกตง่าย เป็นทาเลที่เด่น เหมาะสมต่อการประกอบธุรกิจจาหน่ายสินค้าสังฆภัณฑ์ เพื่ออานวยความสะดวกแก่ผู้เดินทางมา ทาบุญและท่องเที่ยวในการซื้อสินค้าสังฆภัณฑ์ จากผลการวิเคราะห์ดัชนีชี้วัดด้านการเงินจะเห็นว่า มูลค่าปัจจุบันของโครงการ (NPV) เท่ากับ 941,760.79 ซึ่งมีค่าเป็นบวก มีอัตราผลตอบแทนภายใน (IRR) ของโครงการมีค่าร้อยละ 39% ซึ่งผลที่ได้จะสูง กว่าอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืม และรายการคืนทุน (Payback Period) เท่ากับ 1 ปี 10 เดือน 8 วัน สรุปว่าโครงการ มีความน่าสนใจในการลงทุนและโครงการมีความเป็นไปได้ การศึกษาความเป็นไปได้ด้านการจัดการ พบว่า มีความเป็นไปได้ในการบริหารจัดการและดูแลการ ดาเนินการของธุรกิจสังฆภัณฑ์ เนื่องจากธุรกิจด้านนี้ ไม่มีความซับซ้อนมากนัก การบริหารงานจะใช้แบบเจ้าของกิจการบริหารเอง และควรว่าจ้างพนักงานอย่างน้อย 1 คน เพื่อเป็นผู้ช่วย ข้อเสนอแนะ สาหรับการลงทุนธุรกิจสังฆภัณฑ์ ผู้ลงทุนควรให้ความสาคัญกับคุณภาพของสินค้า การหีบห่อ จัดชุดไทยทาน ควรมีความโดดเด่น มีพัฒนารูปแบบอย่างต่อเนื่อง ต้องมีความซื่อสัตย์กับลูกค้า และ ควรมีกิจกรรมควบคู่เพื่อเพิ่มยอดขาย มีการพัฒนาช่องทางการจาหน่ายสมัยใหม่ เช่นการบริการจัดส่งถึงที่การรับ งานทาบุญครบวงจร การขายส่งการเสนอสิน ค้ากั บหน่วยงานราชการ และบริษัทเอกชน กรณีมีงานทาบุ ญ ประจาปี เช่น งานทอดกฐินประจาปีของหน่วยงาน เป็นต้นสร้างสายสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชน และเจ้าหน้าที่ในวัด สร้างภาพลักษณ์ให้ร้านมีชื่อเป็นที่รู้จักของหมู่คนที่นิยมทาบุญ ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งต่อไป ในการศึกษางานวิจัยนี้ผู้วิจัยทาการศึกษาได้ศึกษาเฉพาะกลุ่ม ซึ่งใช้ตัวอย่างเฉพาะ ผู้เดินทางมาทาบุญ ณ วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร ในเขตเทศบาลเมืองบางศรีเมือง จังหวัดนนทบุรี ดังนั้นผู้ที่ สนใจทาธุรกิจสังฆภัณฑ์เขตอื่น ควรศึกษาข้อมูลทางด้านการตลาดในแต่ละเขตที่ ทาการลงทุนด้วย สาหรับข้อมูลทางการเงิน ต้องทราบปัจจัยต่าง ๆ ที่มีผลกระทบต่อการลงทุน เช่น ดอกเบี้ย สภาพทางการเงินในภาวะต่างกัน เพื่อความปลอดภัยและคุ้มค่าในการลงทุนการเปิดธุรกิจร้านสังฆภัณฑ์ บรรณานุกรม จันทนา จันทโร และศิริจันทร์ ทองประเสริฐ. (2540). การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการด้าน ธุรกิจและอุตสาหกรรม (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ชัยยศ สันติวงษ์. (2539). การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.ฐาปนา ฉิ่นไพศาล และอัจฉรา ชีวตระกูลกิจ. (2544). การบริหารโครงการและการศึกษา ความเป็นไปได้ (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: ธีระฟิลมและไซเท็กซ์. ์ ทิพสุคนธ์ วงษ์เมือง, ประนอม เพ็ชรสมัย, นาคินทร์ พิณเนียม และลลินทร์ อ่อนเกลียว. (2555). ประมวลรัษฎากร ฉบับสมบูรณ์ปี 2555. กรุงเทพฯ: สานักพัฒนาการบริหารธรรมนิติ. เทศบาลเมืองบางศรีเมือง. (2554). ข้อมูลประชากร ณ เดือนธันวาคม 2554. วันที่ค้นข้อมูล 18 เมษายน 2555, เข้าถึงได้จาก http: //th.wikipedia.org. ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2555). อัตราดอกเบี้ยสินเชื่อ.วันที่ค้นข้อมูล 12 เมษายน 2555, เข้าถึงได้จาก www.bot.or.th. นราศรี ไววนิชกุล และชูศักดิ์ อุดมศรี. (2545). ระเบียบวิธีวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช. บัณฑิต ศุภลักษณ์. (2549). การศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนธุรกิจร้านขายยาในเขตจอมทอง. งานนิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาเศรษฐศาสตร์ธรกิจ, คณะเศรษฐศาสตร์, ุ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ปิยะ เพชรสงค์. (2543). การศึกษาต้นทุนและรายได้ของเกษตรกรผูทาการผลิตพืชผักโดยใช้ ้ สารธรรมชาติและสารเคมีในจังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต. สาขาเศรษฐศาสตร์สหกรณ์, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยแม่โจ้. พระเทพเวที. (2531). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพฯ: ด่านสุภาการพิมพ์. _________. (2532). พระเทพเวที พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พระมหาสง่า ไชยวงศ์. (2541). การศึกษาเชิงวิเคราะห์เรื่อง “ทาน” ในพระพุทธศาสนา. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาปรัชญาศิลปศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. พัชราพรรณ ทะเลรัตน์. (2548). การศึกษาความเป็นไปได้ทางธุรกิจของโครงการลงทุนฟาร์ม กล้วยไม้ตัดดอกเพื่อส่งออก: กรณีศึกษาฟาร์มตัวอย่างของเกษตรกรไทยในเขตอาเภอ บางกรวย จังหวัดนนทบุร.ี งานนิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาเศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ, คณะ เศรษฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. เมธาพร วรสินธ์พันธ์. (2553). การศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนร้านขายเครื่องทองเหลืองใน เมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี. การค้นคว้าแบบอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขา การบริหารธุรกิจ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. รัตนา สายคณิต. (2546). การบริหารโครงการ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. เริงรัก จาปาเงิน. (2544). การจัดการการเงิน (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช. ศศินันท์ จิระฉัตรพัฒน์. (2554). การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการลงทุนในธุรกิจ จัดจาหน่ายเครื่องปรับอากาศในเขตมีนบุรี กรุงเทพมหานคร. สารนิพนธ์เศรษฐศาสตร มหาบัณฑิต, สาขาเศรษฐศาสตร์การจัดการ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทร วิโรฒ. ศิริวรรณ เสรีรัตน์, ปริญ ลักษิตานนท์ และศุภร เสรีรัตน์. (2546). การบริหารการตลาดยุคใหม่. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร. ศุภนุช คุณวรวินิจ. (2546). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มผลต่อการตัดสินใจซื้อสังฆภัณฑ์ของ ี ผู้บริโภคในอาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. การค้นคว้าแบบอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาการบริหารธุรกิจ, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2554). พฤติกรรมการฉลองปีใหม่ต้อนรับปี 2554 ของคนกรุงเทพฯ. วันที่ ค้นข้อมูล 22 เมษายน 2555, เข้าถึงได้จาก http://www.thaihealth.or.th/healthcontent/special_report/18924. สกล แสงมาลี. (2552). เปิดร้านสังฆภัณฑ์บริหารง่ายขายแล้วรวย. กรุงเทพฯ: พีเพิลมีเดีย. สุภชัย กอบกิจเจริญ. (2548). การศึกษาความเป็นไปได้ในการลงทุนธุรกิจขายส่งเครื่องเขียนและ อุปกรณ์สานักงาน: รูปแบบบริการส่งถึงที.่ งานนิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ, คณะเศรษฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. อรวดี รื่นรมย์. (2554). การศึกษาความเป็นไปได้ของธุรกิจเบเกอรี่ ในตาบลเชิงเนิน อาเภอเมือง จังหวัดระยอง. งานนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, สาขาบริหารธุรกิจ, วิทยาลัย พาณิชยศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา. Kollat, D. T., & Blackwell, R.D. (1968). Consumer Behavior. New York: Holt Rinehart and Winston. Kotler, P. (1997). Marketing Management Analysis Planning, Implementation and Control (9th ed). NJ: Prentice-Hall. _________. (2000). Analyzing Consumer Markets and Buyer Buyer Behavior In Marketing Management, Evanston Illinois: Norhwestern University. Perloff, M. P. (2004). Microeconomics (3rd ed.). Boston: Pearson Addison Wesley. Schiffman, L. G. & Kanuk, L. L. (1987). Consumer Behavior (3rd ed.). New Jersey: Prentice Hall.