SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
Télécharger pour lire hors ligne
Hematopoietic Stem Cell Transplantation:
Current Practices in 2010
รศ.นพ.ปรีดา วาณิชยเศรษฐกุล
นับตั้งแตการปลูกถายไขกระดูกในมนุษยเพื่อรักษาโรคเลือด ประสบความสําเร็จ ใน
สหรัฐอเมริกาตั้งแตป ค .ศ. 1958 เปนตนมา มีการพัฒนาการรักษาโรครายดวยการปลูกถายไข
กระดูกเผยแพรขยายตัวในตามสถาบันการแพทยชั้นนํา ทั่วโลก ทั้งในผูปวยเด็ก และผูใหญ ทําให
ผูปวยโรคเลือด โรคมะเร็ง และโรครายแรงหลายชนิดที่ในอดีตไมมีทางรักษา สามารถไดรับการ
ปลูกถายไขกระดูกหรือเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือดในปจจุบัน แลวหายขาดจากโรครายได ในประเท ศ
ไทยเราก็มีการปลูกถายไขกระดูกในสถาบันการแพทยใหญๆมาแลวไมต่ํากวา 20 ป ผลการรักษาก็
ไดรับการพัฒนาดีขึ้นตามลําดับ
จุดมุงหมายของการปลูกถายเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือดคือ เพื่อจะแทนที่เซลลที่ไมแข็งแรง
หรือเซลลที่ผิดปรกติในไขกระดูก ดวยเซลลตนกําเนิดที่แข็งแรงและปรกติ เนื่องจากเซลลตนกําเนิด
เม็ดเลือด สามารถเก็บไดมาจาก 3 แหลงในรางกายมนุษย การปลูกถายเซลลตนกํา เนิดเม็ดเลือดจึง
มักถูกเรียกเปน
การปลูกถายเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือด (Hematopoietic Stem Cell Transplantation) คืออะไร ?
1. การปลูกถายไขกระดูก (Bone marrow transplantation)
2. การปลูกถายเซลลตนกําเนิดจากกระแสเลือด (Peripheral blood stem cell
transplantation) และ
3. การปลูกถายเลือดจากสายสะดือ (Umbilical cord blood transplantation)
หรืออีกนัยหนึ่ง จุดประสงคของการปลูกถายเซลลตนกําเนิดคือเพิ่มศักยภาพในการรักษา
โรครายชนิดตางๆ ทั้งโรคมะเร็ง และไมใชโรคมะเร็ง ใหมีโอกาสหายขาดได
Stem cell ที่ปรกติ สามารถหาไดจากผูบริจาค ซึ่งอาจจะเปนพี่นองรวมบิดามารดาเดียวกัน
หรืออาจจะเปนอาสาสมัครผูบริจาคที่ไมใชญาติ (หรือในบางกรณีของโรคมะเร็ง อาจใชเซลลตน
กําเนิดของตัวผูปวยเอง) Stem cell นั้นจะถูกนํามาใหผูปวย (ผูรับ) ทางสายสวนหลอดเลือดดํา
หลังจากที่ผูปวยไดรับการเตรียมการโดยการรับยาเคมีบําบัดขนาดสูงแลว (บางกรณีใชการฉายรังสี
รักษาทั่วตัวรวมดวย) ขั้นตอนเตรียมการกอนปลูกถายนี้เรียกวา Conditioning ใชเวลาประมาณ 5-10
วันแลวแตสูตรการรักษา ในผูปวยโรคมะเร็ง จุดประสงคของการ conditioning ก็เพื่อกําจัด
เซลลมะเร็งที่ยังหลงเหลือคั่งคางในรางกายใหหมดสิ้น สําหรับผูปวยเด็กโรคทางพันธุกรรม เชน
การประชุมวิชาการร่วม
รพ.กรุงเทพ
2010
โดย
รศ.นพ.ปรีดา
วาณิชยเศรษฐกุล
โรคโลหิตจางเบตาธาลัสซีเมีย จุดประสงคของการ conditioning ก็เพื่อเปดเนื้อที่ในโพรงไขกระดูก
ใหเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือดของผูบริจาคสามารถปลูกติด และเจริญแบงตัวขึ้นมาเปนเซลลที่ปรกติ
และเพื่อปรับภูมิตานทานของผูปวย (ผูรับ) ไมใหตอตานเซลลของผูบริจาค (ผูให)
กระบวนการปลูกถายจะกระทําตอเนื่องจากระยะ Conditioning วิธีการปลูกถายคือการให
stem cells ของผูบริจาคเขาไปในตัวผูปวยผานทางสายสวนหลอดเลือดดํา คลายคลึงกับวิธีการให
เลือดโดยทั่วไป เพียงแตตองมีการติดตามอาการและสัญญาณชีพตางๆอยางใกลชิด ขณะใหเซลลตน
กําเนิดแกผูปวย Stem cells ดังกลาวจะไหลเวียนไปในกระแสเลือดของผูปวย แ ละเขาสูโพรงไข
กระดูก ที่ซึ่งตอมา เซลลตนกําเนิดจะเจริญเติบโต เพิ่มจํานวน และพัฒนาไปเปนเซลลเม็ดเลือดชนิด
ตางๆ ที่แข็งแรง ในเวลา 2-3 สัปดาหถัดมา
รูปแบบของการปลูกถายขึ้นอยูกับใครคือผูบริจาคเซลลตนกําเนิด
การปลูกถายเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือดมีกี่แบบ ?
• การปลูกถายแบบ Allogeneic จากพี่นอง: ผูบริจาค stem cells มีลักษณะทางหมู
เนื้อเยื่อ HLA (Human Leukocyte Antigen) ตรงกันกับผูปวย มักจะเปนพี่หรือนอง
รวมบิดามารดา
• การปลูกถายแบบ Allogeneic จากอาสาสมัครที่ไมใชญาติพี่นอง: ผูบริจาค stem
cells มีลักษณะทางหมูเนื้อเยื่อ HLA เขากันไดหรือใกลเคียงมากกับผูปวย โดยที่ผู
บริจาคนั้นไมใชเครือญาติพี่นองของผูปวย
• การปลูกถายแบบ Syngeneic: ผูบริจาคเปนพี่นองที่เปนฝาแฝดแท (ไขใบเดียวกัน)
กับผูปวย ซึ่งยอมมีลักษณะทางหมูเนื้อเยื่อ HLA ตรงกันทุกประการกับผูปวย
• การปลูกถายแบบ Autologous: ผูปวยโรคมะเร็ง (บางชนิด) จะตองบริจาคเซลลตน
กําเนิดของตนเอง เก็บสะสมและสงวนแชแข็งไวกอน แลวจะนําเซลลดังกลาว
กลับมาใหภายหลังจากระยะที่ผูปวยไดรับ conditioning ดวยยาเคมีบําบัดขนาดสูง
แลว
แพทยผูเชี่ยวชาญการปลูกถายเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือด จะพิจารณาผูปวยแตละรายและแต
ละกรณีไปวา ควรจะใชการปลูกถายรูปแบบไหนถึงจะเหมาะสม
1. ไขกระดูก โดยการเจาะดูดไขกระดูกที่บริเวณกระดูกเชิงกราน (กระดูกสะโพก)
ดานหลัง ผูบริจาคจําเปนตองไดรับ การวางยาสลบขณะที่ทําการดูดไขกระดูก หลังการ
บริจาค เซลลในไขกระดูกจะแบงตัวเพิ่มจํานวนขึ้นมาทดแทนไดเอง ไมมีการสูญเสีย
อวัยวะหรือสมรรถภาพใดๆทั้งสิ้น
แหลงของเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือดหาไดจากไหน ?
การประชุมวิชาการร่วม
รพ.กรุงเทพ
2010
โดย
รศ.นพ.ปรีดา
วาณิชยเศรษฐกุล
2. กระแสเลือด โดยฉีดยา cytokine กระตุนที่เรียกวา G-CSF ใหเซลลในไขกระดูกแบงตัว
เพิ่มจํานวน แลวออกมาไหลเวียนในกร ะแสเลือด จากนั้นนําเลือดของผูบริจาคผาน
เครื่องมือคัดแยก stem cell เก็บไว แลวคืนเลือดและพลาสมากลับสูรางกายผูบริจาค
เปนวิธีที่ผูบริจาคจะรูตัวดีตลอด ไมตองวางยาสลบ ลักษณะการบริจาคคลายคลึงกับ
การบริจาคโลหิต
3. เลือดจากสายสะดือและรกของเด็กทารกแรกเกิด ซึ่งวงการแพทยคนพบวาอุดมไปดวย
เซลลตนกําเนิดเม็ดโลหิต เปนการนําสิ่งที่เคยถูกละทิ้งไปในอดีตมาทําใหเกิด
ประโยชนในการรักษาผูปวย วิธีการทําโดยการเก็บทันทีหลังจากทารกเพิ่งคลอดและ
ผูกตัดสายสะดือแลว ดวยวิธีปราศจากเชื้อโรคและปองกันไมใหเลือดแข็งตัวเปนลิ่ม
เลือด จากนั้นทําการเตรียมและเก็บสงวน cord blood ไวในสภาพแชแข็งในถัง
ไนโตรเจนเหลวที่อุณหภูมิเย็นจัด
จะเห็นไดวาแหลงของเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือดที่นํามาใชเพื่อการปลูกถาย ไดมาจากไข
กระดูก จากกระแสเลือด และจากเลือดสายสะดือและรกของทารกแรกเกิด ดังนั้นเราจึงเรียกชื่อการ
รักษาวิธีนี้ตามแหลงของเซลลตนกําเนิดเม็ดโลหิตที่ใชวาเปนการปลูกถายไขกระดูก การปลูกถาย
เซลลตนกําเนิดจากกระแสเลือด และการปลูกถายเลือดสายสะดือ ตามลําดับ
หลังจากผูปวยไดรับการเตรียมสภาพและไดรับการปลูกถาย ตองใชเวลานาน 2-3 สัปดาห
กวาที่ stem cell ใหมจะเริ่มปลูกติด ผูปวยตองพักรักษาตัวในโรงพยาบาล ที่ศูนยปลูกถายฯในหอง
เดี่ยวปลอดเชื้อซึ่งติดตั้งเครื่องกรองเชื้อโรค ฝุนละอองแบบประสิทธิภาพสูง และเปนแรงดันบวก
ผูปวยตองไดรับการใสสายสวนเสนเลือดดําใหญเพื่อเปนทางใหยา ใหเลือด ให stem cell ใหสารน้ํา
และเปนทางใหผูปวยไดรับการดูดเลือดตรวจทุกวัน ผูปวยไดรับการเฝาระวังปองกันรักษา
ภาวะแทรกซอน ตองไดรับยาปองกันการติดเชื้อ ตองไดรับเลือดและเกร็ดเลือดที่ผานการเตรียม
อยางพิเศษ ไดรับยาชวย กระตุนการปลูกถายติดและยากดภูมิตานทานเพื่อปองกันภาวะ GvHD
(Graft-versus-host disease เปนภาวะที่ T-lymphocyte ที่ปะปนอยูกับเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือดของผู
บริจาค กระทําปฏิกิริยาตอ เนื้อเยื่อของผูปวย เกิดรอยโรคที่ผิวหนัง ลําไส และตับ เปน
ภาวะแทรกซอนที่เกิดไดในการปลูกถายแบบ allogeneic) ผูปวยบางรายตองไดรับสารอาหารทาง
หลอดเลือดดวย ผูปวยมักตองพักอยูในโรงพยาบาลนานประมาณ 6-8 สัปดาหจึงจะฟนตัวแข็งแรง
พอที่จะสามารถกลับบานได จากนั้น แพทยจะนัดติดตามอาการและผลเลือดแบบผูปวยนอก เปน
ระยะๆ อยางตอเนื่อง
กระบวนการปลูกถายเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือดเปนอยางไร ?
โรคอะไรควรพิจารณารักษาดวยการปลูกถายเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือด ?
การประชุมวิชาการร่วม
รพ.กรุงเทพ
2010
โดย
รศ.นพ.ปรีดา
วาณิชยเศรษฐกุล
ตามมาตรฐานการแพทยปจจุบัน โรคหรือกลุมโรคที่มีรายงานความสําเร็จของการปลูกถาย
เซลลตนกําเนิดเม็ดเลือด (Potentially curable by stem cell transplantation) มีดังตอไปนี้
กลุมโรครายที่ไมใชมะเร็ง (Non-malignant diseases)
1. โรคที่มีความผิดปรกติของเซลลตนกําเนิดในไขกระดูก (Marrow stem cell defects)
- โรคไขกระดูกฝอแบบรุนแรง (Severe aplastic anemia)
- โรคโลหิตจาง Beta-thalassemia diseases ทั้ง homozygous beta-thalassemia major
และ beta-thalassemia/hemoglobin E disease ในรายที่มีอาการซีดรุนแรง
- โรค Sickle cell diseases ในรายที่มีอาการซีดรุนแรง หรือมี severe vaso-occlusive
crisis
- Familial erythrophagocytic lymphohistiocytosis
- Histiocytic disorders เชนโรค Langerhans cell histiocytosis ที่กําเริบ หรือไม
ไดผลจากการรักษาตามมาตรฐาน
2. โรคไขกระดูกฝอหรือทํางานผิดปรกติที่ถายทอดทางพันธุกรรม (Inherited bone marrow
failure syndromes)
- Fanconi anemia
- Dyskeratosis congenita
- Reticular dysgenesis
- Pure red cell anemia (Diamond-Blackfan anemia)
- Congenital neutropenia (Kostmann syndrome)
- Shwachman-Diamond syndrome
- Amegakaryocytic thrombocytopenia
- Thrombocytopenia with absent radii (TAR syndrome)
3. โรคภูมิคุมกันบกพรองแตกําเนิด (Primary immunodeficiencies)
- Severe combined immunodeficiencies SCID)
- Wiskott-Aldrich syndrome
- X-linked lymphoproliferative disorders
- DiGeorge syndrome
- Cartilage-hair hypoplasia
- Ataxia telangiectasia
- Chronic granulomatous diseases
- Chediak-Higashi syndrome
การประชุมวิชาการร่วม
รพ.กรุงเทพ
2010
โดย
รศ.นพ.ปรีดา
วาณิชยเศรษฐกุล
- Leukocyte adhesion deficiency
- Griscelli syndrome
4. โรคความผิดปรกติทางเมตาบอลิสม (Inborn errors of metabolism)
- Adrenoleukodystrophy
- Hurler disease
- Gaucher disease
- Niemann-Pick disease
- Osteopetrosis
5. กลุมโรคออโตอิมมูน (Autoimmune diseases) ยังคงเปนการทดลองศึกษาวิจัยอยู โดยมาก
ใชแนวทางของการปลูกถายแบบ autologous transplant อาทิเชนโรค multiple sclerosis,
scleroderma, rheumatoid arthritis, และ SLE เปนตน
กลุมโรคมะเร็ง (Malignant diseases)
สวนใหญจะเปนมะเร็งทางโลหิตวิทยา (Hematologic malignancies) ของระบบเม็ดเลือด
ตอมน้ําเหลือง หรือไขกระดูก
1. โรคมะเร็งไขกระดูก Multiple myeloma สวนใหญจะใชวิธีการใหเคมีบําบัด รวมกับการ
ปลูกถายแบบ autologous
2. โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว Acute lymphoblastic leukemia ที่มีการกําเริบ กลับเปนซ้ํา ดื้อตอ
การรักษามาตรฐาน หรือมีปจจัยเสี่ยงในทางที่ไมดี (relapse, refractory, or poor prognostic
factors)
3. โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว Acute non-lymphoblastic leukemia ชนิด M0 ถึง M7, ยกเวนชนิด
M3 ซึ่งมักจะไดผลดีตอยาที่รักษา และมีการพยากรณโรคดี
4. โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว Chronic myeloid leukemia ในกรณีที่ผูปวยรักษาดวยยาในกลุม
tyrosine kinase inhibitor ไมไดผล
5. โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว Juvenile myelomonocytic leukemia ซึ่งพบไดในเด็ก
6. โรคไขกระดูกมีเซลลผิดปรกติ (Myelodysplasia)
7. โรคมะเร็งตอมน้ําเหลืองชนิด Non-Hodgkin lymphoma ที่เปน high grade หรือที่มีการ
กําเริบ กลับเปนซ้ํา
8. โรคมะเร็งตอมน้ําเหลืองชนิด Hodgkin disease ที่เปน high grade หรือที่มีการกําเริบ กลับ
เปนซ้ํา
9. กลุมโรคมะเร็งเนื้อเยื่อในเด็ก (Pediatric solid tumors with high risk factors or recurrence)
กลุมนี้แมจะไมใชมะเร็งทางระบบโลหิต แตก็เปนกลุมโรคมะเร็งที่ทําใหมีผลการรักษา
การประชุมวิชาการร่วม
รพ.กรุงเทพ
2010
โดย
รศ.นพ.ปรีดา
วาณิชยเศรษฐกุล
สําเร็จดีขึ้นไดโดยแนวทางของการปลูกถายแบบ autologous กลุมนี้ประกอบดวยโรคมะเร็ง
หลายชนิด อาทิเชน Ewing sarcoma, Osteosarcoma, Neuroblastoma, Wilms tumor เปนตน
จากประสบการณทางการแพทย
• โรคมะเร็งบางชนิด อยางมะเร็งไขกระดูก การใหเคมีบําบัดที่เหมาะสมรวมกับการปลูกถาย
ไขกระดูกผลการรักษาจะดีกวา เมื่อเปรียบเทียบกับการบําบัดมะเร็งดวยเคมีมาตรฐานเพียง
อยางเดียว
พบวา
• มะเร็งตอมน้ําเหลือง ซึ่งเปนมะเร็งชนิดที่แบงตัวเร็ว ถาการรักษามาตรฐานหลักไม
สามารถรักษาใหหายสนิท หรือมีโอกาสที่จะกําเริบเปนขึ้นมาใหมก็จะพิจารณาใหมีการ
ปลูกถายไขกระดูกรวมดวย
ซึ่งปกติถาเราเพิ่มยาเคมีบําบัดขนาดสูงๆ เซลลมะเร็งอาจจะตายหมด แตสงผลขางเคียงที่สําคัญ
ทําใหไขกระดูกผูปวยฝอไปดวย ทําใหผูปวยไมอาจทนการไดรับเคมีบําบัดขนาดสูงๆ เพื่อรักษา
มะเร็งได แตถาเสริมการปลูกถายไขกระดูกให หลังการใหเคมีบําบัดขนาดสูงผลการรักษายอมนา
พอใจกวาสําหรับผูปวยกลุมนี้ แพทยมักจะทําการเก็บสเต็มเซลลของผูปวยเองไวกอนใหเคมีบําบัด
และนําสเต็มเซลลนั้นไปแชแข็งในถังไนโตรเจนเหลว หลังจากใหยาเคมีบําบัดหรือฉายแสงรังสี
รักษาขนาดสูงจนครบคอรส ก็ปลูกถายสเต็มเซลลที่เก็บรักษาไวคืนใหกับผูปวย
• โรคมะเร็งเม็ดโลหิตขาวบางชนิด มีลักษณะผิดปกติทางโครโมโซมรวมดวย แมจะเปนชนิด
ที่นาจะไดผลดีจากเคมีบําบัดมาตรฐาน แตถามีตัวบงชี้วาจะกําเริบใหมไดหรือนาจะรักษา
ใหหายขาดไดยาก กลุมนี้จะพิจารณาใหปลูกถายไขกระดูกรวมดวยเลย ไมตองรอใหมะเร็ง
กําเริบซ้ํา จนทําใหผูปวยรางกายทรุดโทรมเกินไป
• เวลาปลูกถายสเต็มเซลลจะมีกรรมวิธีคลายกับการใหเลือดปรกติ นั่นคือใหเขาทางเสนเลือด
ดําใหญ ผานทาง Central venous catheter แบบ double-lumen โดยจะตองมีการติดตาม
อาการ และวัดสัญญาณชีพที่สําคัญอยางใกลชิดและตอเนื่อง สเต็มเซลลที่ใหผาน catheter
เขาสูรางกายนี้ก็จะไหลเวียนตามกระแสเลือด เขาไปฝ งตัวในไขกระดูกและผลิตเม็ดเลือด
และเกล็ดเลือดทดแทนสเต็มเซลลที่ถูกเคมีบําบัด (Conditioning regimen) ทําลายไป เฉลี่ย
ใชเวลา 2-3 สัปดาหกวาสเต็มเซลลใหมจะกอตัวและเริ่มผลิตเม็ดเลือดและเกล็ดเลือด
ระหวางนี้ผูปวยตองไดรับการใหเลือดพิเศษ ไดรับยาหลายขนาน และตองเฝาระวังการติด
เชื้อ เนื่องจากจํานวนเม็ดเลือดขาวที่ชวยตอสูเชื้อโรค รวมทั้งเม็ดเลือดแดงและเกล็ดเลือดจะ
การประชุมวิชาการร่วม
รพ.กรุงเทพ
2010
โดย
รศ.นพ.ปรีดา
วาณิชยเศรษฐกุล
ต่ํามาก มีภาวะโลหิตจาง เสี่ยงตอการติดเชื้องาย และอาจตกเลือดภายใน ผูปวยตองอยูใน
หองปลอดเชื้อที่ติดตั้งเครื่องกรองอากาศประสิทธิภาพสูงและเปนความดันบวก (Positive
pressure, HEPA filtration room) เพื่อผลักดันเชื้อโรคและฝุนละอองตางๆใหออกจากหอง
ผูปวย
ผูบริจาค stem cell ควรเปนผูที่มีหมูเนื้อเยื่อ HLA 6 หมูหลักตรงกันหรือเขากันไดกับผูปวย
จึงจะมีโอกาสปลูกถายติดสําเร็จสูง ไมมี graft rejection หรือ failure และเกิดภาวะแทรกซอน Graft-
versus-Host disease (GvHD) นอยหรือไมเกิดเลย หมู HLA หรือ Human Leukocyte Antigen หลัก
ดังกลาวประกอบดวย HLA-A, -B, -DR อยางละ 2 ตําแหนง ผูบริจาคสวนใหญที่หาไดมักจะเปนพี่
หรือนองรวมบิดามารดาเดียวกันกับผูปวย เนื่องจากโอกาสที่พี่นองจะมี HLA ตรงกันทุกประการ
เทากับรอยละ 25 หรือ 1 ใน 4 สวนตัวบิดามารดาเองจะมี HLA ตรงกับผูปวยเพียงครึ่งเดียวเทานั้น
ใครสามารถเปนผูบริจาคเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือด ?
ถาผูปวยเปนบุตรคนเดียว หรือไมมีพี่นองที่มี HLA ตรงกัน แพทยสามารถสรรหาผูบริจาค
ที่เปนอาสาสมัคร (Unrelated, volunteer donor) ไดจากศูนยกลางการขึ้นทะเบียนอาสาสมัครบริจาค
stem cell คนไทยที่เรียกวา National Stem Cell Donor Registry ของศูนยบริการโลหิตแหงชาติ
สภากาชาดไทย นอกจากนี้ ศูนยฯยังเปนสื่อกลางในการติดตอแสวงหาผูบริจาคจากตางประเทศดวย
กรณีที่ผูปวยเปนโรคมะเร็งที่มีโอกาสกําเริบลุกลามสูง โรคไขกระดูกฝอชนิดรุนแรง โรค
ภูมิคุมกันบกพรองแตกําเนิด หรือโรคอันตรายใดๆก็ต าม ที่อาจคราชีวิตผูปวยไดในเวลาอันสั้นถา
ไมไดรับการปลูกถายในเร็ววัน แตผูปวยไมมี HLA-matched related donor ที่ available เลย แพทย
จําเปนตองพิจารณาผูบริจาคที่เปน alternative donor ใหแกผูปวย ดังตอไปนี้
ผูบริจาคที่เปนทางเลือกอื่น (Alternative stem cell donors)
• Matched unrelated donor อาจจะเปนผูบริจาคคนไทยหรือจากตางประเทศ เชน ไตหวัน
ฮองกง เปนตน ขอกําหนดคือ ตองมีลักษณะหมู HLA หลักคือ HLA-A, -B, -DRB1
เหมือนกับของผูปวยอยางละเอียดทั้ง 6 ตําแหนง โดยตรวจถึงระดับ DNA แบบ high-
resolution ในปจจุบัน หลายสถาบันการแพทยในตางประเทศมีคําแนะนําใหตรวจ HLA ถึง
อยางนอย 10 ตําแหนงคือ HLA-A, -B, -C, -DRB1, -DQB1 อยางละ 2 ตําแหนง เพื่อคัดสรร
หาผูบริจาคที่ไมใชญาติพี่นองที่มีลักษณะหมูเนื้อเยื่อเขากับผูปวยใหไดใกลเคียงที่สุด เพื่อ
ใหผลการปลูกถายมีโอกาสสําเร็จสูงขึ้นใหทัดเทียมกับผลการปลูกถายจาก matched related
donor หวังใหผลแทรกซอนจากการปลูกถายเชน การปลูกถายไมติด การเกิดภาวะ acute
GvHD ที่รุนแรง รวมถึงอัตราการเสียชีวิตลดลง
การประชุมวิชาการร่วม
รพ.กรุงเทพ
2010
โดย
รศ.นพ.ปรีดา
วาณิชยเศรษฐกุล
• Partially mismatched donor เชน เลือกผูบริจาคที่เปนแค 5/6 HLA-matched อาจพิจารณา
ผูบริจาคที่เปน HLA-mismatched แบบ high-resolution เพียง 1 ตําแหนงที่ HLA class I คือ
HLA-A หรือ -B ใชในกรณีที่ผูปวยเปนโรคมะเร็งที่มีโอกาสกําเริบลุกลามสูง โรคไข
กระดูกฝอชนิดรุนแรง โรคภูมิคุมกันบกพรองแตกําเนิด หรือโรคอันตรายใดๆก็ตาม ที่อาจ
คราชีวิตผูปวยไดในเวลาอันสั้นถาไมไดรับการปลูกถายในเร็ววัน ไมควรพิจารณาทําการ
ปลูกถายลักษณะนี้ในผูปวยที่เปนโรคธาลัสซีเมีย หรือโรคอื่นที่มีการรักษามาตรฐานแบบ
อื่นๆที่ไมเสี่ยงอันตราย เพราะผลการปลูกถายแบบนี้ มีโอกาสสําเร็จไมสูงนัก มีความเสี่ยง
ตอการเกิด acute GvHD ที่รุนแรง รวมถึงอัตราการเสียชีวิตสูง ขึ้น ยิ่งถาผูบริจาคเปน
mismatched unrelated donor จะยิ่งมีความไมสําเร็จเกิดขึ้นมากกวาใช mismatched related
donor และไมควรเสี่ยงเลือกผูบริจาคไขกระดูกหรือเซลลในกระแสเลือดที่มี HLA-
mismatched มากกวา 1 ตําแหนง คือ ไมควรเลือก donor ที่นอยกวา 5/6 matched
• Unrelated donor cord blood unit สามารถพิจารณาเลือกใชใหแกผูปวยเด็ก หรือผูปวยที่มี
น้ําหนักตัวนอย โดยจะตองมีจํานวน hematopoietic stem cell dose เพียงพอตอน้ําหนักตัว
ผูปวยตองมี viability ดีพอดวย ขอดีของการเลือกใชเลือดสายสะดือที่รับบริจาคและถูกเก็บ
แชแข็งไวในธนาคารเลือดสายสะดือคือ มีพรอมใชทันที (readily available) ไมมีภาวะเสี่ยง
ที่ผูบริจาคจะเจ็บตัวหรือปฏิเสธการบริจาค การเขากันไดของหมู HLA ของเลือดสายสะดือ
กับของผูปวยก็ไมเขมงวดมากนัก มีรายงานทางการแพทยวาการปลูกถายเลือดสายสะดือที่
เปน 5/6 หรือแมกระทั่ง 4/6 matched สามารถใหผลลัพธการรักษาเหมือนการปลูกถายไข
กระดูกจากผูบริจาคที่เปน 6/6 matched unrelated donor จํานวน stem cell dose เองก็
ตองการใช dose นอยกวาของการปลูกถายไขกระดูก ก็ยังสามารถปลูกถายสําเร็จได และมี
อุบัติการณและความรุนแรงของ acute GvHD นอยกวาดวย
• Double unrelated cord blood units (or multiple cord blood units) สามารถพิจารณาใช
ในผูปวยโรคมะเร็ง หรือโรครายที่มีความเสี่ยงสูง แตผูปวยเปนผูใหญหรือมีน้ําหนักตัวมาก
เกินไป ทําใหจํานวน cord blood stem cell dose ใน 1 unit ไมเพียงพอ จําเปนตองใช
unrelated cord blood 2 units แตมีขอแมวา แตละถุง (unit) ตองมี HLA match กันเอง และ
ตอง match กับผูปวยไมนอยกวา 4/6 matched ขึ้นไป ซึ่งอาจจะเปนการแกปญหาขอจํากัด
ของการปลูกถายในผูใหญที่เปนโรคมะเร็งทางระบบโลหิต ขณะนี้ บางสถาบันใน
ตางประเทศกําลังศึกษาคืบหนาถึงการใช unrelated cord blood มากกวา 2 units (multiple
cord blood units) วาผลดีผลเสียเปนอยางไร
• Haploidentical donor คือผูบริจาคที่มีหมู HLA เหมือนกันกับผูปวยเพียงครึ่งเดียว (one
haplotype matched, 3/6 matched) มักเปนมารดาหรือบิดาของผูปวยเด็ก หรือบุตรของ
ผูปวยผูใหญ หรืออาจเปนพี่นองรวมบิดามารดาเดียวกันก็ไดที่มีหมู HLA ซ้ํากันแคขางเดียว
การประชุมวิชาการร่วม
รพ.กรุงเทพ
2010
โดย
รศ.นพ.ปรีดา
วาณิชยเศรษฐกุล
(ครึ่งเดียว, haploidentical) ใชในกรณีโรคมะเร็ง โรคภูมิคุมกันบกพรองอยางรุนแรง หรือ
โรครายที่มีความเสี่ยงสูงมากๆเทานั้น เพราะมีโอกาสปลูกถายไมสําเร็จสูง หรือเกิดภาวะ
acute GvHD ที่รุนแรง เพราะหมู HLA อีกขางหนึ่งไมตรงกัน อยางไรก็ตาม อาจตอง
พิจารณาผูบริจาคลักษณะนี้ในกรณีที่ผูปวยไมมี available HLA-matched related or
unrelated donors เลย และผูปวยไมอาจมีชีวิตรอไ ดนานๆ เพราะอยางนอย haploidentical
donor มักเปนสมาชิกในครอบครัวที่มักเต็มใจยินดีรีบบริจาค stem cell ให การปลูกถาย
แบบ haploidentical นี้ อาจมีทั้งกระบวนการ unmanipulation และ manipulation of
hematopoietic stem cells กอนปลูกถาย แลวแตสูตรการรักษา
• CD34-purified autologous peripheral blood stem cells เปนเซลลตนกําเนิดจากกระแส
เลือดที่ผานกระบวนการคัดแยก CD34+ หรือ hematopoietic cell ใหบริสุทธิ์ กอนจะนําไป
ปลูกถายคืนใหแกตัวผูปวย เสมือนเปนวิธี indirect tumor purging ใชในกรณีปลูกถายแบบ
autologous เพื่อปองกัน tumor-contaminated stem cells ที่จะใสไป rescue ผูปวยเอง หวังวา
จะปองกัน recurrence of malignant disease
• CD34-positive selected allogeneic peripheral blood stem cells อาจทําใน stem cells
ของผูบริจาค haploidentical เพื่อใหไดเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือดอยางแทจริง เปนการลด
CD3 หรือ T-cell ทางออม เพื่อลดปญหาการเกิด severe acute GvHD ในตัวผูปวย แตก็อาจ
มีปญหาของการปลูกถายไมติด หรือภูมิคุมกันโรคฟนตัวชามาก เสี่ยงตอการติดเชื้อฉวย
โอกาส บางครั้งแพทยจําเปนตองเติม stem cells หรือ T-cell (DLI) หรือ NK cells (CD56+)
ของผูบริจาคเขาไปชวยเสริมเพิ่มฟนสภาพภูมิคุมกันโรคของผูปวย ปญหาอีกอยางคือ หลัง
ปลูกถาย ถาผูปวยไมมีภาวะ graft-versus-host เลย ก็อาจไมมีภาวะ graft-versus-leukemia
ที่เพียงพอ เสี่ยงตอ relapse of leukemia ได แพทยจึงตองปรับสมดุลของ cellular
immunotherapy นี้ใหดี
• CD3/CD19 negative selected allogeneic peripheral blood stem cells อาจทําใน stem
cells ของผูบริจาค haploidentical เพื่อใหไดเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือดอยางแทจริง เปนการ
ลด CD3 หรือ T-cell ทางออม เพื่อลดปญหาการเกิด severe acute GvHD ในตัวผูปวย แต
NK cells นาจะยังคงอยู อาจทําใหภูมิคุมกันโรคฟนตัวไมชาเกินไป และยังเปนการ
preserve เซลลที่มี killer effect ตอมะเร็งทางระบบโลหิต ทําใหภาวะ graft-versus-
leukemia ยังคงอยู
• CD3 depleted (TCD, T-cell depleted) allogeneic peripheral blood stem cells อาจทํา
ใน stem cells ของผูบริจาค haploidentical เพื่อใหไดเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือดอยางแทจริง
เปนการลด CD3 หรือ T-cell ทางออม เพื่อลดปญหาการเกิด severe acute GvHD ในตัว
ผูปวย แต B-cells และ NK cells นาจะยังคงอยู ทําใหภูมิคุมกันโรคฟนตัวไมชาเกินไป และ
การประชุมวิชาการร่วม
รพ.กรุงเทพ
2010
โดย
รศ.นพ.ปรีดา
วาณิชยเศรษฐกุล
ยังเปนการ preserve เซลลที่มี killer effect ตอมะเร็งทางระบบโลหิต ทําใหภาวะ graft-
versus-leukemia ยังคงอยู แตก็ตองระมัดระวังการเกิด acute GvHD ดวย
ใชในกรณีที่ผูปวยผูใหญที่สูงอายุ เสี่ยงตอการทนตอเคมีบําบัด ขนาดสูงหรือการฉายรังสีทั่วตัว
ไมไหว หรือผูปวยอายุใดก็ตาม ที่มีอวัยวะสําคัญทํางานบกพรองชํารุด เชน หัวใจ ปอด ตับ ไต หรือ
มีเชื้อโรคหรือเชื้อราซอนเรน การให Conditioning regimen ขนาดสูงแบบมาตรฐาน อาจทําให
สภาพรางกายผูปวยทนรับไมไหว เกิดภาวะอวัยวะสําคัญทํางานลมเหลว มีโอกาสเสียชีวิตหรือเปน
อันตรายสูง จึงมีแนวทางใหม ใหใชยาเคมีบําบัดหรือฉายรังสีรักษาขนาดต่ําลง ทําใหการกดไข
กระดูกมีนอย เม็ดเลือดตางๆจะไมต่ําเกินไป ผูปวยที่สภาพรางกายไมแข็งแรงนัก จะทนกับการปลูก
ถายแบบนี้ได สูตรนี้จึงเรียกวา Non-myeloablative stem cell transplantation หรือถาใชสูตรที่ลด
ขนาดความแรงหรือความเขมลงบาง จะเรียกวา Reduced intensity stem cell transplantation ทําให
morbidity และ treatment-related mortality ลดนอยลง อยางไรก็ตาม การลดขนาดของ conditioning
อาจทําใหทําลายเซลลรายของผูปวยไดไมราบคาบ หรือกดภูมิคุมกันของผูปวยไดไมมากพอ เกิด
ภาวะ mixed chimerism ขึ้น คือมีทั้งเซลลตนกําเนิดของผูบริจาคและของผูปวยเอง ในไขกระดูก
ของผูปวย ทําใหแพทยตองสงกําลังเสริม คือให DLI (Donor lymphocyte infusion) แกผูปวย เพื่อไป
boost กระตุนใหในไขกระดูกผูปวย มีเซลลของผูบริจาคเพิ่มขึ้นๆ และจะทําลาย แทนที่เซลลราย
ของผูปวยไดในที่สุด อนึ่ง การทํา DLI ตองปรับใหขนาดและระยะเวลาที่เหมาะสม มิฉะนั้น อาจทํา
ใหเกิด acute GvHD ที่รุนแรงได
การปลูกถายที่ใชยาที่เตรียมการลดขนาดลง (Reduced intensity conditioning)
การประชุมวิชาการร่วม
รพ.กรุงเทพ
2010
โดย
รศ.นพ.ปรีดา
วาณิชยเศรษฐกุล

Contenu connexe

Tendances

แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์
แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์
แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์
Jinwara Sriwichai
 
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดทางพันธุกรรมการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Biobiome
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่ม
Wichai Likitponrak
 
Venous thromboembolism in cancer.presentation
Venous thromboembolism in cancer.presentationVenous thromboembolism in cancer.presentation
Venous thromboembolism in cancer.presentation
Hasanuddin University
 
Cancer in Children - Denise Sheer
Cancer in Children - Denise SheerCancer in Children - Denise Sheer
Cancer in Children - Denise Sheer
Denise Sheer
 
Recent advances in mds
Recent advances in mdsRecent advances in mds
Recent advances in mds
madurai
 
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซมบทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
ฟลุ๊ค ลำพูน
 

Tendances (20)

แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์
แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์
แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์
 
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
แนวทางดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
 
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดทางพันธุกรรมการถ่ายทอดทางพันธุกรรม
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
ระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
 
Genetics posn
Genetics posnGenetics posn
Genetics posn
 
หลักพยาธิบ.1บทนำ
หลักพยาธิบ.1บทนำหลักพยาธิบ.1บทนำ
หลักพยาธิบ.1บทนำ
 
Approach to a case of localized prostate cancer
Approach to a case of localized prostate cancerApproach to a case of localized prostate cancer
Approach to a case of localized prostate cancer
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่ม
 
Cancer stem cells Cscs
Cancer stem cells CscsCancer stem cells Cscs
Cancer stem cells Cscs
 
Venous thromboembolism in cancer.presentation
Venous thromboembolism in cancer.presentationVenous thromboembolism in cancer.presentation
Venous thromboembolism in cancer.presentation
 
Basic Cancer 2016
Basic Cancer 2016Basic Cancer 2016
Basic Cancer 2016
 
Atypical hus
Atypical hus   Atypical hus
Atypical hus
 
Neuroblastoma
NeuroblastomaNeuroblastoma
Neuroblastoma
 
Breast cancer genetic testing: Is it right for you?
Breast cancer genetic testing: Is it right for you?Breast cancer genetic testing: Is it right for you?
Breast cancer genetic testing: Is it right for you?
 
Tümor İmmunoloji
Tümor İmmunolojiTümor İmmunoloji
Tümor İmmunoloji
 
Cancer in Children - Denise Sheer
Cancer in Children - Denise SheerCancer in Children - Denise Sheer
Cancer in Children - Denise Sheer
 
Recent advances in mds
Recent advances in mdsRecent advances in mds
Recent advances in mds
 
vte in cancer
vte in cancervte in cancer
vte in cancer
 
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซมบทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
 

En vedette

Radiation critical care report to u.s. dept. of defense
Radiation critical care   report to u.s. dept. of defenseRadiation critical care   report to u.s. dept. of defense
Radiation critical care report to u.s. dept. of defense
J Kelly
 
โรคไต
โรคไตโรคไต
โรคไต
luckana9
 
Banding beza prinsip pembelajaran ewell dan prinsip pembelajaran
Banding beza prinsip pembelajaran ewell dan prinsip pembelajaranBanding beza prinsip pembelajaran ewell dan prinsip pembelajaran
Banding beza prinsip pembelajaran ewell dan prinsip pembelajaran
nanafalth
 

En vedette (15)

Radiation critical care report to u.s. dept. of defense
Radiation critical care   report to u.s. dept. of defenseRadiation critical care   report to u.s. dept. of defense
Radiation critical care report to u.s. dept. of defense
 
1st
1st 1st
1st
 
โรคไต
โรคไตโรคไต
โรคไต
 
The Secret of Mind-Blowing Email Marketing v.2
The Secret of Mind-Blowing Email Marketing v.2The Secret of Mind-Blowing Email Marketing v.2
The Secret of Mind-Blowing Email Marketing v.2
 
GsTestBenchmark July 2016
GsTestBenchmark July 2016GsTestBenchmark July 2016
GsTestBenchmark July 2016
 
The Secret of Mind-Blowing Email Marketing
The Secret of Mind-Blowing Email MarketingThe Secret of Mind-Blowing Email Marketing
The Secret of Mind-Blowing Email Marketing
 
How To Profit From Google Shopping
How To Profit From Google ShoppingHow To Profit From Google Shopping
How To Profit From Google Shopping
 
Mx via parenteral
Mx via parenteralMx via parenteral
Mx via parenteral
 
Banding beza prinsip pembelajaran ewell dan prinsip pembelajaran
Banding beza prinsip pembelajaran ewell dan prinsip pembelajaranBanding beza prinsip pembelajaran ewell dan prinsip pembelajaran
Banding beza prinsip pembelajaran ewell dan prinsip pembelajaran
 
Prototyping is an attitude
Prototyping is an attitudePrototyping is an attitude
Prototyping is an attitude
 
10 Insightful Quotes On Designing A Better Customer Experience
10 Insightful Quotes On Designing A Better Customer Experience10 Insightful Quotes On Designing A Better Customer Experience
10 Insightful Quotes On Designing A Better Customer Experience
 
Learn BEM: CSS Naming Convention
Learn BEM: CSS Naming ConventionLearn BEM: CSS Naming Convention
Learn BEM: CSS Naming Convention
 
How to Build a Dynamic Social Media Plan
How to Build a Dynamic Social Media PlanHow to Build a Dynamic Social Media Plan
How to Build a Dynamic Social Media Plan
 
Lightning Talk #9: How UX and Data Storytelling Can Shape Policy by Mika Aldaba
Lightning Talk #9: How UX and Data Storytelling Can Shape Policy by Mika AldabaLightning Talk #9: How UX and Data Storytelling Can Shape Policy by Mika Aldaba
Lightning Talk #9: How UX and Data Storytelling Can Shape Policy by Mika Aldaba
 
SEO: Getting Personal
SEO: Getting PersonalSEO: Getting Personal
SEO: Getting Personal
 

Similaire à Hematopoietic Stem Cell Transplantation: Current Practices in 2010

เจษฎา
เจษฎาเจษฎา
เจษฎา
supphawan
 
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
Fah Chimchaiyaphum
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
สำเร็จ นางสีคุณ
 

Similaire à Hematopoietic Stem Cell Transplantation: Current Practices in 2010 (19)

Stem cell and gene therapy
Stem cell and gene therapyStem cell and gene therapy
Stem cell and gene therapy
 
Stem cell คืออะไร
Stem cell คืออะไรStem cell คืออะไร
Stem cell คืออะไร
 
Centre management - PD quality นพ.สกานต์
Centre management -  PD quality นพ.สกานต์Centre management -  PD quality นพ.สกานต์
Centre management - PD quality นพ.สกานต์
 
Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
 
Anti M and Anti-N
Anti M and Anti-NAnti M and Anti-N
Anti M and Anti-N
 
เจษฎา
เจษฎาเจษฎา
เจษฎา
 
Breast cancer
Breast cancerBreast cancer
Breast cancer
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
 
Blood donation power point templates
Blood donation power point templatesBlood donation power point templates
Blood donation power point templates
 
Ag 16 in_1.2.4_896(2555)
Ag 16 in_1.2.4_896(2555)Ag 16 in_1.2.4_896(2555)
Ag 16 in_1.2.4_896(2555)
 
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
 
Thrombocytopenia
ThrombocytopeniaThrombocytopenia
Thrombocytopenia
 
สเต็มเซลล์บำบัด
สเต็มเซลล์บำบัดสเต็มเซลล์บำบัด
สเต็มเซลล์บำบัด
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
 
Clinical Practice Guideline of Acute Meningoencephalitis
Clinical Practice Guideline of Acute MeningoencephalitisClinical Practice Guideline of Acute Meningoencephalitis
Clinical Practice Guideline of Acute Meningoencephalitis
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคข้อเข่าเสื่อม
คู่มือการดูแลตนเอง โรคข้อเข่าเสื่อมคู่มือการดูแลตนเอง โรคข้อเข่าเสื่อม
คู่มือการดูแลตนเอง โรคข้อเข่าเสื่อม
 

Plus de Utai Sukviwatsirikul

Plus de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

Hematopoietic Stem Cell Transplantation: Current Practices in 2010

  • 1. Hematopoietic Stem Cell Transplantation: Current Practices in 2010 รศ.นพ.ปรีดา วาณิชยเศรษฐกุล นับตั้งแตการปลูกถายไขกระดูกในมนุษยเพื่อรักษาโรคเลือด ประสบความสําเร็จ ใน สหรัฐอเมริกาตั้งแตป ค .ศ. 1958 เปนตนมา มีการพัฒนาการรักษาโรครายดวยการปลูกถายไข กระดูกเผยแพรขยายตัวในตามสถาบันการแพทยชั้นนํา ทั่วโลก ทั้งในผูปวยเด็ก และผูใหญ ทําให ผูปวยโรคเลือด โรคมะเร็ง และโรครายแรงหลายชนิดที่ในอดีตไมมีทางรักษา สามารถไดรับการ ปลูกถายไขกระดูกหรือเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือดในปจจุบัน แลวหายขาดจากโรครายได ในประเท ศ ไทยเราก็มีการปลูกถายไขกระดูกในสถาบันการแพทยใหญๆมาแลวไมต่ํากวา 20 ป ผลการรักษาก็ ไดรับการพัฒนาดีขึ้นตามลําดับ จุดมุงหมายของการปลูกถายเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือดคือ เพื่อจะแทนที่เซลลที่ไมแข็งแรง หรือเซลลที่ผิดปรกติในไขกระดูก ดวยเซลลตนกําเนิดที่แข็งแรงและปรกติ เนื่องจากเซลลตนกําเนิด เม็ดเลือด สามารถเก็บไดมาจาก 3 แหลงในรางกายมนุษย การปลูกถายเซลลตนกํา เนิดเม็ดเลือดจึง มักถูกเรียกเปน การปลูกถายเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือด (Hematopoietic Stem Cell Transplantation) คืออะไร ? 1. การปลูกถายไขกระดูก (Bone marrow transplantation) 2. การปลูกถายเซลลตนกําเนิดจากกระแสเลือด (Peripheral blood stem cell transplantation) และ 3. การปลูกถายเลือดจากสายสะดือ (Umbilical cord blood transplantation) หรืออีกนัยหนึ่ง จุดประสงคของการปลูกถายเซลลตนกําเนิดคือเพิ่มศักยภาพในการรักษา โรครายชนิดตางๆ ทั้งโรคมะเร็ง และไมใชโรคมะเร็ง ใหมีโอกาสหายขาดได Stem cell ที่ปรกติ สามารถหาไดจากผูบริจาค ซึ่งอาจจะเปนพี่นองรวมบิดามารดาเดียวกัน หรืออาจจะเปนอาสาสมัครผูบริจาคที่ไมใชญาติ (หรือในบางกรณีของโรคมะเร็ง อาจใชเซลลตน กําเนิดของตัวผูปวยเอง) Stem cell นั้นจะถูกนํามาใหผูปวย (ผูรับ) ทางสายสวนหลอดเลือดดํา หลังจากที่ผูปวยไดรับการเตรียมการโดยการรับยาเคมีบําบัดขนาดสูงแลว (บางกรณีใชการฉายรังสี รักษาทั่วตัวรวมดวย) ขั้นตอนเตรียมการกอนปลูกถายนี้เรียกวา Conditioning ใชเวลาประมาณ 5-10 วันแลวแตสูตรการรักษา ในผูปวยโรคมะเร็ง จุดประสงคของการ conditioning ก็เพื่อกําจัด เซลลมะเร็งที่ยังหลงเหลือคั่งคางในรางกายใหหมดสิ้น สําหรับผูปวยเด็กโรคทางพันธุกรรม เชน การประชุมวิชาการร่วม รพ.กรุงเทพ 2010 โดย รศ.นพ.ปรีดา วาณิชยเศรษฐกุล
  • 2. โรคโลหิตจางเบตาธาลัสซีเมีย จุดประสงคของการ conditioning ก็เพื่อเปดเนื้อที่ในโพรงไขกระดูก ใหเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือดของผูบริจาคสามารถปลูกติด และเจริญแบงตัวขึ้นมาเปนเซลลที่ปรกติ และเพื่อปรับภูมิตานทานของผูปวย (ผูรับ) ไมใหตอตานเซลลของผูบริจาค (ผูให) กระบวนการปลูกถายจะกระทําตอเนื่องจากระยะ Conditioning วิธีการปลูกถายคือการให stem cells ของผูบริจาคเขาไปในตัวผูปวยผานทางสายสวนหลอดเลือดดํา คลายคลึงกับวิธีการให เลือดโดยทั่วไป เพียงแตตองมีการติดตามอาการและสัญญาณชีพตางๆอยางใกลชิด ขณะใหเซลลตน กําเนิดแกผูปวย Stem cells ดังกลาวจะไหลเวียนไปในกระแสเลือดของผูปวย แ ละเขาสูโพรงไข กระดูก ที่ซึ่งตอมา เซลลตนกําเนิดจะเจริญเติบโต เพิ่มจํานวน และพัฒนาไปเปนเซลลเม็ดเลือดชนิด ตางๆ ที่แข็งแรง ในเวลา 2-3 สัปดาหถัดมา รูปแบบของการปลูกถายขึ้นอยูกับใครคือผูบริจาคเซลลตนกําเนิด การปลูกถายเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือดมีกี่แบบ ? • การปลูกถายแบบ Allogeneic จากพี่นอง: ผูบริจาค stem cells มีลักษณะทางหมู เนื้อเยื่อ HLA (Human Leukocyte Antigen) ตรงกันกับผูปวย มักจะเปนพี่หรือนอง รวมบิดามารดา • การปลูกถายแบบ Allogeneic จากอาสาสมัครที่ไมใชญาติพี่นอง: ผูบริจาค stem cells มีลักษณะทางหมูเนื้อเยื่อ HLA เขากันไดหรือใกลเคียงมากกับผูปวย โดยที่ผู บริจาคนั้นไมใชเครือญาติพี่นองของผูปวย • การปลูกถายแบบ Syngeneic: ผูบริจาคเปนพี่นองที่เปนฝาแฝดแท (ไขใบเดียวกัน) กับผูปวย ซึ่งยอมมีลักษณะทางหมูเนื้อเยื่อ HLA ตรงกันทุกประการกับผูปวย • การปลูกถายแบบ Autologous: ผูปวยโรคมะเร็ง (บางชนิด) จะตองบริจาคเซลลตน กําเนิดของตนเอง เก็บสะสมและสงวนแชแข็งไวกอน แลวจะนําเซลลดังกลาว กลับมาใหภายหลังจากระยะที่ผูปวยไดรับ conditioning ดวยยาเคมีบําบัดขนาดสูง แลว แพทยผูเชี่ยวชาญการปลูกถายเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือด จะพิจารณาผูปวยแตละรายและแต ละกรณีไปวา ควรจะใชการปลูกถายรูปแบบไหนถึงจะเหมาะสม 1. ไขกระดูก โดยการเจาะดูดไขกระดูกที่บริเวณกระดูกเชิงกราน (กระดูกสะโพก) ดานหลัง ผูบริจาคจําเปนตองไดรับ การวางยาสลบขณะที่ทําการดูดไขกระดูก หลังการ บริจาค เซลลในไขกระดูกจะแบงตัวเพิ่มจํานวนขึ้นมาทดแทนไดเอง ไมมีการสูญเสีย อวัยวะหรือสมรรถภาพใดๆทั้งสิ้น แหลงของเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือดหาไดจากไหน ? การประชุมวิชาการร่วม รพ.กรุงเทพ 2010 โดย รศ.นพ.ปรีดา วาณิชยเศรษฐกุล
  • 3. 2. กระแสเลือด โดยฉีดยา cytokine กระตุนที่เรียกวา G-CSF ใหเซลลในไขกระดูกแบงตัว เพิ่มจํานวน แลวออกมาไหลเวียนในกร ะแสเลือด จากนั้นนําเลือดของผูบริจาคผาน เครื่องมือคัดแยก stem cell เก็บไว แลวคืนเลือดและพลาสมากลับสูรางกายผูบริจาค เปนวิธีที่ผูบริจาคจะรูตัวดีตลอด ไมตองวางยาสลบ ลักษณะการบริจาคคลายคลึงกับ การบริจาคโลหิต 3. เลือดจากสายสะดือและรกของเด็กทารกแรกเกิด ซึ่งวงการแพทยคนพบวาอุดมไปดวย เซลลตนกําเนิดเม็ดโลหิต เปนการนําสิ่งที่เคยถูกละทิ้งไปในอดีตมาทําใหเกิด ประโยชนในการรักษาผูปวย วิธีการทําโดยการเก็บทันทีหลังจากทารกเพิ่งคลอดและ ผูกตัดสายสะดือแลว ดวยวิธีปราศจากเชื้อโรคและปองกันไมใหเลือดแข็งตัวเปนลิ่ม เลือด จากนั้นทําการเตรียมและเก็บสงวน cord blood ไวในสภาพแชแข็งในถัง ไนโตรเจนเหลวที่อุณหภูมิเย็นจัด จะเห็นไดวาแหลงของเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือดที่นํามาใชเพื่อการปลูกถาย ไดมาจากไข กระดูก จากกระแสเลือด และจากเลือดสายสะดือและรกของทารกแรกเกิด ดังนั้นเราจึงเรียกชื่อการ รักษาวิธีนี้ตามแหลงของเซลลตนกําเนิดเม็ดโลหิตที่ใชวาเปนการปลูกถายไขกระดูก การปลูกถาย เซลลตนกําเนิดจากกระแสเลือด และการปลูกถายเลือดสายสะดือ ตามลําดับ หลังจากผูปวยไดรับการเตรียมสภาพและไดรับการปลูกถาย ตองใชเวลานาน 2-3 สัปดาห กวาที่ stem cell ใหมจะเริ่มปลูกติด ผูปวยตองพักรักษาตัวในโรงพยาบาล ที่ศูนยปลูกถายฯในหอง เดี่ยวปลอดเชื้อซึ่งติดตั้งเครื่องกรองเชื้อโรค ฝุนละอองแบบประสิทธิภาพสูง และเปนแรงดันบวก ผูปวยตองไดรับการใสสายสวนเสนเลือดดําใหญเพื่อเปนทางใหยา ใหเลือด ให stem cell ใหสารน้ํา และเปนทางใหผูปวยไดรับการดูดเลือดตรวจทุกวัน ผูปวยไดรับการเฝาระวังปองกันรักษา ภาวะแทรกซอน ตองไดรับยาปองกันการติดเชื้อ ตองไดรับเลือดและเกร็ดเลือดที่ผานการเตรียม อยางพิเศษ ไดรับยาชวย กระตุนการปลูกถายติดและยากดภูมิตานทานเพื่อปองกันภาวะ GvHD (Graft-versus-host disease เปนภาวะที่ T-lymphocyte ที่ปะปนอยูกับเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือดของผู บริจาค กระทําปฏิกิริยาตอ เนื้อเยื่อของผูปวย เกิดรอยโรคที่ผิวหนัง ลําไส และตับ เปน ภาวะแทรกซอนที่เกิดไดในการปลูกถายแบบ allogeneic) ผูปวยบางรายตองไดรับสารอาหารทาง หลอดเลือดดวย ผูปวยมักตองพักอยูในโรงพยาบาลนานประมาณ 6-8 สัปดาหจึงจะฟนตัวแข็งแรง พอที่จะสามารถกลับบานได จากนั้น แพทยจะนัดติดตามอาการและผลเลือดแบบผูปวยนอก เปน ระยะๆ อยางตอเนื่อง กระบวนการปลูกถายเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือดเปนอยางไร ? โรคอะไรควรพิจารณารักษาดวยการปลูกถายเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือด ? การประชุมวิชาการร่วม รพ.กรุงเทพ 2010 โดย รศ.นพ.ปรีดา วาณิชยเศรษฐกุล
  • 4. ตามมาตรฐานการแพทยปจจุบัน โรคหรือกลุมโรคที่มีรายงานความสําเร็จของการปลูกถาย เซลลตนกําเนิดเม็ดเลือด (Potentially curable by stem cell transplantation) มีดังตอไปนี้ กลุมโรครายที่ไมใชมะเร็ง (Non-malignant diseases) 1. โรคที่มีความผิดปรกติของเซลลตนกําเนิดในไขกระดูก (Marrow stem cell defects) - โรคไขกระดูกฝอแบบรุนแรง (Severe aplastic anemia) - โรคโลหิตจาง Beta-thalassemia diseases ทั้ง homozygous beta-thalassemia major และ beta-thalassemia/hemoglobin E disease ในรายที่มีอาการซีดรุนแรง - โรค Sickle cell diseases ในรายที่มีอาการซีดรุนแรง หรือมี severe vaso-occlusive crisis - Familial erythrophagocytic lymphohistiocytosis - Histiocytic disorders เชนโรค Langerhans cell histiocytosis ที่กําเริบ หรือไม ไดผลจากการรักษาตามมาตรฐาน 2. โรคไขกระดูกฝอหรือทํางานผิดปรกติที่ถายทอดทางพันธุกรรม (Inherited bone marrow failure syndromes) - Fanconi anemia - Dyskeratosis congenita - Reticular dysgenesis - Pure red cell anemia (Diamond-Blackfan anemia) - Congenital neutropenia (Kostmann syndrome) - Shwachman-Diamond syndrome - Amegakaryocytic thrombocytopenia - Thrombocytopenia with absent radii (TAR syndrome) 3. โรคภูมิคุมกันบกพรองแตกําเนิด (Primary immunodeficiencies) - Severe combined immunodeficiencies SCID) - Wiskott-Aldrich syndrome - X-linked lymphoproliferative disorders - DiGeorge syndrome - Cartilage-hair hypoplasia - Ataxia telangiectasia - Chronic granulomatous diseases - Chediak-Higashi syndrome การประชุมวิชาการร่วม รพ.กรุงเทพ 2010 โดย รศ.นพ.ปรีดา วาณิชยเศรษฐกุล
  • 5. - Leukocyte adhesion deficiency - Griscelli syndrome 4. โรคความผิดปรกติทางเมตาบอลิสม (Inborn errors of metabolism) - Adrenoleukodystrophy - Hurler disease - Gaucher disease - Niemann-Pick disease - Osteopetrosis 5. กลุมโรคออโตอิมมูน (Autoimmune diseases) ยังคงเปนการทดลองศึกษาวิจัยอยู โดยมาก ใชแนวทางของการปลูกถายแบบ autologous transplant อาทิเชนโรค multiple sclerosis, scleroderma, rheumatoid arthritis, และ SLE เปนตน กลุมโรคมะเร็ง (Malignant diseases) สวนใหญจะเปนมะเร็งทางโลหิตวิทยา (Hematologic malignancies) ของระบบเม็ดเลือด ตอมน้ําเหลือง หรือไขกระดูก 1. โรคมะเร็งไขกระดูก Multiple myeloma สวนใหญจะใชวิธีการใหเคมีบําบัด รวมกับการ ปลูกถายแบบ autologous 2. โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว Acute lymphoblastic leukemia ที่มีการกําเริบ กลับเปนซ้ํา ดื้อตอ การรักษามาตรฐาน หรือมีปจจัยเสี่ยงในทางที่ไมดี (relapse, refractory, or poor prognostic factors) 3. โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว Acute non-lymphoblastic leukemia ชนิด M0 ถึง M7, ยกเวนชนิด M3 ซึ่งมักจะไดผลดีตอยาที่รักษา และมีการพยากรณโรคดี 4. โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว Chronic myeloid leukemia ในกรณีที่ผูปวยรักษาดวยยาในกลุม tyrosine kinase inhibitor ไมไดผล 5. โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว Juvenile myelomonocytic leukemia ซึ่งพบไดในเด็ก 6. โรคไขกระดูกมีเซลลผิดปรกติ (Myelodysplasia) 7. โรคมะเร็งตอมน้ําเหลืองชนิด Non-Hodgkin lymphoma ที่เปน high grade หรือที่มีการ กําเริบ กลับเปนซ้ํา 8. โรคมะเร็งตอมน้ําเหลืองชนิด Hodgkin disease ที่เปน high grade หรือที่มีการกําเริบ กลับ เปนซ้ํา 9. กลุมโรคมะเร็งเนื้อเยื่อในเด็ก (Pediatric solid tumors with high risk factors or recurrence) กลุมนี้แมจะไมใชมะเร็งทางระบบโลหิต แตก็เปนกลุมโรคมะเร็งที่ทําใหมีผลการรักษา การประชุมวิชาการร่วม รพ.กรุงเทพ 2010 โดย รศ.นพ.ปรีดา วาณิชยเศรษฐกุล
  • 6. สําเร็จดีขึ้นไดโดยแนวทางของการปลูกถายแบบ autologous กลุมนี้ประกอบดวยโรคมะเร็ง หลายชนิด อาทิเชน Ewing sarcoma, Osteosarcoma, Neuroblastoma, Wilms tumor เปนตน จากประสบการณทางการแพทย • โรคมะเร็งบางชนิด อยางมะเร็งไขกระดูก การใหเคมีบําบัดที่เหมาะสมรวมกับการปลูกถาย ไขกระดูกผลการรักษาจะดีกวา เมื่อเปรียบเทียบกับการบําบัดมะเร็งดวยเคมีมาตรฐานเพียง อยางเดียว พบวา • มะเร็งตอมน้ําเหลือง ซึ่งเปนมะเร็งชนิดที่แบงตัวเร็ว ถาการรักษามาตรฐานหลักไม สามารถรักษาใหหายสนิท หรือมีโอกาสที่จะกําเริบเปนขึ้นมาใหมก็จะพิจารณาใหมีการ ปลูกถายไขกระดูกรวมดวย ซึ่งปกติถาเราเพิ่มยาเคมีบําบัดขนาดสูงๆ เซลลมะเร็งอาจจะตายหมด แตสงผลขางเคียงที่สําคัญ ทําใหไขกระดูกผูปวยฝอไปดวย ทําใหผูปวยไมอาจทนการไดรับเคมีบําบัดขนาดสูงๆ เพื่อรักษา มะเร็งได แตถาเสริมการปลูกถายไขกระดูกให หลังการใหเคมีบําบัดขนาดสูงผลการรักษายอมนา พอใจกวาสําหรับผูปวยกลุมนี้ แพทยมักจะทําการเก็บสเต็มเซลลของผูปวยเองไวกอนใหเคมีบําบัด และนําสเต็มเซลลนั้นไปแชแข็งในถังไนโตรเจนเหลว หลังจากใหยาเคมีบําบัดหรือฉายแสงรังสี รักษาขนาดสูงจนครบคอรส ก็ปลูกถายสเต็มเซลลที่เก็บรักษาไวคืนใหกับผูปวย • โรคมะเร็งเม็ดโลหิตขาวบางชนิด มีลักษณะผิดปกติทางโครโมโซมรวมดวย แมจะเปนชนิด ที่นาจะไดผลดีจากเคมีบําบัดมาตรฐาน แตถามีตัวบงชี้วาจะกําเริบใหมไดหรือนาจะรักษา ใหหายขาดไดยาก กลุมนี้จะพิจารณาใหปลูกถายไขกระดูกรวมดวยเลย ไมตองรอใหมะเร็ง กําเริบซ้ํา จนทําใหผูปวยรางกายทรุดโทรมเกินไป • เวลาปลูกถายสเต็มเซลลจะมีกรรมวิธีคลายกับการใหเลือดปรกติ นั่นคือใหเขาทางเสนเลือด ดําใหญ ผานทาง Central venous catheter แบบ double-lumen โดยจะตองมีการติดตาม อาการ และวัดสัญญาณชีพที่สําคัญอยางใกลชิดและตอเนื่อง สเต็มเซลลที่ใหผาน catheter เขาสูรางกายนี้ก็จะไหลเวียนตามกระแสเลือด เขาไปฝ งตัวในไขกระดูกและผลิตเม็ดเลือด และเกล็ดเลือดทดแทนสเต็มเซลลที่ถูกเคมีบําบัด (Conditioning regimen) ทําลายไป เฉลี่ย ใชเวลา 2-3 สัปดาหกวาสเต็มเซลลใหมจะกอตัวและเริ่มผลิตเม็ดเลือดและเกล็ดเลือด ระหวางนี้ผูปวยตองไดรับการใหเลือดพิเศษ ไดรับยาหลายขนาน และตองเฝาระวังการติด เชื้อ เนื่องจากจํานวนเม็ดเลือดขาวที่ชวยตอสูเชื้อโรค รวมทั้งเม็ดเลือดแดงและเกล็ดเลือดจะ การประชุมวิชาการร่วม รพ.กรุงเทพ 2010 โดย รศ.นพ.ปรีดา วาณิชยเศรษฐกุล
  • 7. ต่ํามาก มีภาวะโลหิตจาง เสี่ยงตอการติดเชื้องาย และอาจตกเลือดภายใน ผูปวยตองอยูใน หองปลอดเชื้อที่ติดตั้งเครื่องกรองอากาศประสิทธิภาพสูงและเปนความดันบวก (Positive pressure, HEPA filtration room) เพื่อผลักดันเชื้อโรคและฝุนละอองตางๆใหออกจากหอง ผูปวย ผูบริจาค stem cell ควรเปนผูที่มีหมูเนื้อเยื่อ HLA 6 หมูหลักตรงกันหรือเขากันไดกับผูปวย จึงจะมีโอกาสปลูกถายติดสําเร็จสูง ไมมี graft rejection หรือ failure และเกิดภาวะแทรกซอน Graft- versus-Host disease (GvHD) นอยหรือไมเกิดเลย หมู HLA หรือ Human Leukocyte Antigen หลัก ดังกลาวประกอบดวย HLA-A, -B, -DR อยางละ 2 ตําแหนง ผูบริจาคสวนใหญที่หาไดมักจะเปนพี่ หรือนองรวมบิดามารดาเดียวกันกับผูปวย เนื่องจากโอกาสที่พี่นองจะมี HLA ตรงกันทุกประการ เทากับรอยละ 25 หรือ 1 ใน 4 สวนตัวบิดามารดาเองจะมี HLA ตรงกับผูปวยเพียงครึ่งเดียวเทานั้น ใครสามารถเปนผูบริจาคเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือด ? ถาผูปวยเปนบุตรคนเดียว หรือไมมีพี่นองที่มี HLA ตรงกัน แพทยสามารถสรรหาผูบริจาค ที่เปนอาสาสมัคร (Unrelated, volunteer donor) ไดจากศูนยกลางการขึ้นทะเบียนอาสาสมัครบริจาค stem cell คนไทยที่เรียกวา National Stem Cell Donor Registry ของศูนยบริการโลหิตแหงชาติ สภากาชาดไทย นอกจากนี้ ศูนยฯยังเปนสื่อกลางในการติดตอแสวงหาผูบริจาคจากตางประเทศดวย กรณีที่ผูปวยเปนโรคมะเร็งที่มีโอกาสกําเริบลุกลามสูง โรคไขกระดูกฝอชนิดรุนแรง โรค ภูมิคุมกันบกพรองแตกําเนิด หรือโรคอันตรายใดๆก็ต าม ที่อาจคราชีวิตผูปวยไดในเวลาอันสั้นถา ไมไดรับการปลูกถายในเร็ววัน แตผูปวยไมมี HLA-matched related donor ที่ available เลย แพทย จําเปนตองพิจารณาผูบริจาคที่เปน alternative donor ใหแกผูปวย ดังตอไปนี้ ผูบริจาคที่เปนทางเลือกอื่น (Alternative stem cell donors) • Matched unrelated donor อาจจะเปนผูบริจาคคนไทยหรือจากตางประเทศ เชน ไตหวัน ฮองกง เปนตน ขอกําหนดคือ ตองมีลักษณะหมู HLA หลักคือ HLA-A, -B, -DRB1 เหมือนกับของผูปวยอยางละเอียดทั้ง 6 ตําแหนง โดยตรวจถึงระดับ DNA แบบ high- resolution ในปจจุบัน หลายสถาบันการแพทยในตางประเทศมีคําแนะนําใหตรวจ HLA ถึง อยางนอย 10 ตําแหนงคือ HLA-A, -B, -C, -DRB1, -DQB1 อยางละ 2 ตําแหนง เพื่อคัดสรร หาผูบริจาคที่ไมใชญาติพี่นองที่มีลักษณะหมูเนื้อเยื่อเขากับผูปวยใหไดใกลเคียงที่สุด เพื่อ ใหผลการปลูกถายมีโอกาสสําเร็จสูงขึ้นใหทัดเทียมกับผลการปลูกถายจาก matched related donor หวังใหผลแทรกซอนจากการปลูกถายเชน การปลูกถายไมติด การเกิดภาวะ acute GvHD ที่รุนแรง รวมถึงอัตราการเสียชีวิตลดลง การประชุมวิชาการร่วม รพ.กรุงเทพ 2010 โดย รศ.นพ.ปรีดา วาณิชยเศรษฐกุล
  • 8. • Partially mismatched donor เชน เลือกผูบริจาคที่เปนแค 5/6 HLA-matched อาจพิจารณา ผูบริจาคที่เปน HLA-mismatched แบบ high-resolution เพียง 1 ตําแหนงที่ HLA class I คือ HLA-A หรือ -B ใชในกรณีที่ผูปวยเปนโรคมะเร็งที่มีโอกาสกําเริบลุกลามสูง โรคไข กระดูกฝอชนิดรุนแรง โรคภูมิคุมกันบกพรองแตกําเนิด หรือโรคอันตรายใดๆก็ตาม ที่อาจ คราชีวิตผูปวยไดในเวลาอันสั้นถาไมไดรับการปลูกถายในเร็ววัน ไมควรพิจารณาทําการ ปลูกถายลักษณะนี้ในผูปวยที่เปนโรคธาลัสซีเมีย หรือโรคอื่นที่มีการรักษามาตรฐานแบบ อื่นๆที่ไมเสี่ยงอันตราย เพราะผลการปลูกถายแบบนี้ มีโอกาสสําเร็จไมสูงนัก มีความเสี่ยง ตอการเกิด acute GvHD ที่รุนแรง รวมถึงอัตราการเสียชีวิตสูง ขึ้น ยิ่งถาผูบริจาคเปน mismatched unrelated donor จะยิ่งมีความไมสําเร็จเกิดขึ้นมากกวาใช mismatched related donor และไมควรเสี่ยงเลือกผูบริจาคไขกระดูกหรือเซลลในกระแสเลือดที่มี HLA- mismatched มากกวา 1 ตําแหนง คือ ไมควรเลือก donor ที่นอยกวา 5/6 matched • Unrelated donor cord blood unit สามารถพิจารณาเลือกใชใหแกผูปวยเด็ก หรือผูปวยที่มี น้ําหนักตัวนอย โดยจะตองมีจํานวน hematopoietic stem cell dose เพียงพอตอน้ําหนักตัว ผูปวยตองมี viability ดีพอดวย ขอดีของการเลือกใชเลือดสายสะดือที่รับบริจาคและถูกเก็บ แชแข็งไวในธนาคารเลือดสายสะดือคือ มีพรอมใชทันที (readily available) ไมมีภาวะเสี่ยง ที่ผูบริจาคจะเจ็บตัวหรือปฏิเสธการบริจาค การเขากันไดของหมู HLA ของเลือดสายสะดือ กับของผูปวยก็ไมเขมงวดมากนัก มีรายงานทางการแพทยวาการปลูกถายเลือดสายสะดือที่ เปน 5/6 หรือแมกระทั่ง 4/6 matched สามารถใหผลลัพธการรักษาเหมือนการปลูกถายไข กระดูกจากผูบริจาคที่เปน 6/6 matched unrelated donor จํานวน stem cell dose เองก็ ตองการใช dose นอยกวาของการปลูกถายไขกระดูก ก็ยังสามารถปลูกถายสําเร็จได และมี อุบัติการณและความรุนแรงของ acute GvHD นอยกวาดวย • Double unrelated cord blood units (or multiple cord blood units) สามารถพิจารณาใช ในผูปวยโรคมะเร็ง หรือโรครายที่มีความเสี่ยงสูง แตผูปวยเปนผูใหญหรือมีน้ําหนักตัวมาก เกินไป ทําใหจํานวน cord blood stem cell dose ใน 1 unit ไมเพียงพอ จําเปนตองใช unrelated cord blood 2 units แตมีขอแมวา แตละถุง (unit) ตองมี HLA match กันเอง และ ตอง match กับผูปวยไมนอยกวา 4/6 matched ขึ้นไป ซึ่งอาจจะเปนการแกปญหาขอจํากัด ของการปลูกถายในผูใหญที่เปนโรคมะเร็งทางระบบโลหิต ขณะนี้ บางสถาบันใน ตางประเทศกําลังศึกษาคืบหนาถึงการใช unrelated cord blood มากกวา 2 units (multiple cord blood units) วาผลดีผลเสียเปนอยางไร • Haploidentical donor คือผูบริจาคที่มีหมู HLA เหมือนกันกับผูปวยเพียงครึ่งเดียว (one haplotype matched, 3/6 matched) มักเปนมารดาหรือบิดาของผูปวยเด็ก หรือบุตรของ ผูปวยผูใหญ หรืออาจเปนพี่นองรวมบิดามารดาเดียวกันก็ไดที่มีหมู HLA ซ้ํากันแคขางเดียว การประชุมวิชาการร่วม รพ.กรุงเทพ 2010 โดย รศ.นพ.ปรีดา วาณิชยเศรษฐกุล
  • 9. (ครึ่งเดียว, haploidentical) ใชในกรณีโรคมะเร็ง โรคภูมิคุมกันบกพรองอยางรุนแรง หรือ โรครายที่มีความเสี่ยงสูงมากๆเทานั้น เพราะมีโอกาสปลูกถายไมสําเร็จสูง หรือเกิดภาวะ acute GvHD ที่รุนแรง เพราะหมู HLA อีกขางหนึ่งไมตรงกัน อยางไรก็ตาม อาจตอง พิจารณาผูบริจาคลักษณะนี้ในกรณีที่ผูปวยไมมี available HLA-matched related or unrelated donors เลย และผูปวยไมอาจมีชีวิตรอไ ดนานๆ เพราะอยางนอย haploidentical donor มักเปนสมาชิกในครอบครัวที่มักเต็มใจยินดีรีบบริจาค stem cell ให การปลูกถาย แบบ haploidentical นี้ อาจมีทั้งกระบวนการ unmanipulation และ manipulation of hematopoietic stem cells กอนปลูกถาย แลวแตสูตรการรักษา • CD34-purified autologous peripheral blood stem cells เปนเซลลตนกําเนิดจากกระแส เลือดที่ผานกระบวนการคัดแยก CD34+ หรือ hematopoietic cell ใหบริสุทธิ์ กอนจะนําไป ปลูกถายคืนใหแกตัวผูปวย เสมือนเปนวิธี indirect tumor purging ใชในกรณีปลูกถายแบบ autologous เพื่อปองกัน tumor-contaminated stem cells ที่จะใสไป rescue ผูปวยเอง หวังวา จะปองกัน recurrence of malignant disease • CD34-positive selected allogeneic peripheral blood stem cells อาจทําใน stem cells ของผูบริจาค haploidentical เพื่อใหไดเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือดอยางแทจริง เปนการลด CD3 หรือ T-cell ทางออม เพื่อลดปญหาการเกิด severe acute GvHD ในตัวผูปวย แตก็อาจ มีปญหาของการปลูกถายไมติด หรือภูมิคุมกันโรคฟนตัวชามาก เสี่ยงตอการติดเชื้อฉวย โอกาส บางครั้งแพทยจําเปนตองเติม stem cells หรือ T-cell (DLI) หรือ NK cells (CD56+) ของผูบริจาคเขาไปชวยเสริมเพิ่มฟนสภาพภูมิคุมกันโรคของผูปวย ปญหาอีกอยางคือ หลัง ปลูกถาย ถาผูปวยไมมีภาวะ graft-versus-host เลย ก็อาจไมมีภาวะ graft-versus-leukemia ที่เพียงพอ เสี่ยงตอ relapse of leukemia ได แพทยจึงตองปรับสมดุลของ cellular immunotherapy นี้ใหดี • CD3/CD19 negative selected allogeneic peripheral blood stem cells อาจทําใน stem cells ของผูบริจาค haploidentical เพื่อใหไดเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือดอยางแทจริง เปนการ ลด CD3 หรือ T-cell ทางออม เพื่อลดปญหาการเกิด severe acute GvHD ในตัวผูปวย แต NK cells นาจะยังคงอยู อาจทําใหภูมิคุมกันโรคฟนตัวไมชาเกินไป และยังเปนการ preserve เซลลที่มี killer effect ตอมะเร็งทางระบบโลหิต ทําใหภาวะ graft-versus- leukemia ยังคงอยู • CD3 depleted (TCD, T-cell depleted) allogeneic peripheral blood stem cells อาจทํา ใน stem cells ของผูบริจาค haploidentical เพื่อใหไดเซลลตนกําเนิดเม็ดเลือดอยางแทจริง เปนการลด CD3 หรือ T-cell ทางออม เพื่อลดปญหาการเกิด severe acute GvHD ในตัว ผูปวย แต B-cells และ NK cells นาจะยังคงอยู ทําใหภูมิคุมกันโรคฟนตัวไมชาเกินไป และ การประชุมวิชาการร่วม รพ.กรุงเทพ 2010 โดย รศ.นพ.ปรีดา วาณิชยเศรษฐกุล
  • 10. ยังเปนการ preserve เซลลที่มี killer effect ตอมะเร็งทางระบบโลหิต ทําใหภาวะ graft- versus-leukemia ยังคงอยู แตก็ตองระมัดระวังการเกิด acute GvHD ดวย ใชในกรณีที่ผูปวยผูใหญที่สูงอายุ เสี่ยงตอการทนตอเคมีบําบัด ขนาดสูงหรือการฉายรังสีทั่วตัว ไมไหว หรือผูปวยอายุใดก็ตาม ที่มีอวัยวะสําคัญทํางานบกพรองชํารุด เชน หัวใจ ปอด ตับ ไต หรือ มีเชื้อโรคหรือเชื้อราซอนเรน การให Conditioning regimen ขนาดสูงแบบมาตรฐาน อาจทําให สภาพรางกายผูปวยทนรับไมไหว เกิดภาวะอวัยวะสําคัญทํางานลมเหลว มีโอกาสเสียชีวิตหรือเปน อันตรายสูง จึงมีแนวทางใหม ใหใชยาเคมีบําบัดหรือฉายรังสีรักษาขนาดต่ําลง ทําใหการกดไข กระดูกมีนอย เม็ดเลือดตางๆจะไมต่ําเกินไป ผูปวยที่สภาพรางกายไมแข็งแรงนัก จะทนกับการปลูก ถายแบบนี้ได สูตรนี้จึงเรียกวา Non-myeloablative stem cell transplantation หรือถาใชสูตรที่ลด ขนาดความแรงหรือความเขมลงบาง จะเรียกวา Reduced intensity stem cell transplantation ทําให morbidity และ treatment-related mortality ลดนอยลง อยางไรก็ตาม การลดขนาดของ conditioning อาจทําใหทําลายเซลลรายของผูปวยไดไมราบคาบ หรือกดภูมิคุมกันของผูปวยไดไมมากพอ เกิด ภาวะ mixed chimerism ขึ้น คือมีทั้งเซลลตนกําเนิดของผูบริจาคและของผูปวยเอง ในไขกระดูก ของผูปวย ทําใหแพทยตองสงกําลังเสริม คือให DLI (Donor lymphocyte infusion) แกผูปวย เพื่อไป boost กระตุนใหในไขกระดูกผูปวย มีเซลลของผูบริจาคเพิ่มขึ้นๆ และจะทําลาย แทนที่เซลลราย ของผูปวยไดในที่สุด อนึ่ง การทํา DLI ตองปรับใหขนาดและระยะเวลาที่เหมาะสม มิฉะนั้น อาจทํา ใหเกิด acute GvHD ที่รุนแรงได การปลูกถายที่ใชยาที่เตรียมการลดขนาดลง (Reduced intensity conditioning) การประชุมวิชาการร่วม รพ.กรุงเทพ 2010 โดย รศ.นพ.ปรีดา วาณิชยเศรษฐกุล