SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  328
Télécharger pour lire hors ligne
คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

คู่มือการดูแลสุขภาพด้วย
การแพทย์แผนไทย
และการแพทย์ทางเลือก

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

คำนำ

	 การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เป็นศาสตร์ที่กำลังได้รับ
ความสนใจและเป็นศาสตร์ททาทายสำหรับบุคลากรด้านการสาธารณสุขอย่างมาก
ี่ ้
โดยเฉพาะอย่างยิงเมือมีการนำศาสตร์นเข้าสูระบบบริการสุขภาพในสถานบริการ
่ ่
ี้ ่
สาธารณสุขของรัฐทั่วประเทศ   เนื่องจากองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย
การแพทย์พนบ้านไทย ถูกละเลยในการให้บริการภาครัฐมานานนับร้อยปี การนำ
ื้
ไปใช้ยังคงยึดหลักการสั่งสมจากประสบการณ์ของบรรพบุรุษเป็นส่วนใหญ่
เนื่องจากการศึกษาวิจัยด้านวิชาการต้องใช้เวลาการศึกษานานพอสมควรใน
การหาข้อสรุปยืนยันด้านประสิทธิผลและความปลอดภัย รวมถึงการนำไปใช้
ประโยชน์ แม้กระทังศาสตร์ดานการแพทย์ทางเลือกก็เช่นกัน ต้องมีการพิสจน์
่
้
ู
ประสิทธิผลและความปลอดภัยเช่นกัน  จึงเป็นเหตุให้มีคำถามเกี่ยวกับศาสตร์
ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกอยู่เสมอ
	 กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เล็งเห็นความสำคัญ
ของบุคลากรด้านสาธารณสุข ซึ่งถือว่าเป็นกำลังสำคัญอย่างยิ่ง ในการนำ


องค์ความรู้เกี่ยวกับศาสตร์ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
เข้าสู่ระบบสุขภาพในสถานพยาบาล จึงได้จัดทำคู่มือการดูแลสุขภาพด้วย


การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเล่มนี้ขึ้น เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้
ที่น่าสนใจแก่บุคลากรสาธารณสุข  
	 หวังเป็นอย่างยิ่งว่า สาระภายในเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่บุคลากรด้าน
สาธารณสุขที่สนใจงานด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  และ
สามารถนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการดูแลสุขภาพให้เป็นอีกทางเลือกหนึ่งของ
ประชาชนต่อไป
แพทย์หญิงวิลาวัณย์ จึงประเสริฐ

อธิบดีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข

แพทย์หญิงวิลาวัณย์ จึงประเสริฐ

อธิบดีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

น.พ.ประพจน์ เภตรากาศ
นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ

(ด้านสาธารณสุข สาขาพัฒนาระบบ
บริหารทางการแพทย์)

น.พ.สญชัย วัฒนา

รองอธิบดี
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย
และการแพทย์ทางเลือก


กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

พระโอวาท

สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช
สกลมหาสังฆปริณายก
	 เนื่ อ งในโอกาสที่ ฯพณฯ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงสาธารณสุ ข


นายแพทย์อุดมศิลป์ ศรีแสงนาม ได้นำคณะบุคคลซึ่งเป็นผู้บริหารระดับสูง
ของกระทรวงสาธารณสุขและผู้แทนจากมูลนิธิฯ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ
งานการแพทย์แผนไทยเข้าเฝ้า สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช


สกลมหาสังฆปริณายก เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2536 ณ วัดบวรนิเวศวิหาร
ได้พระราชทานความคิดเห็นต่อการพัฒนาการแพทย์แผนไทย โดยสรุปดังนี้
	 1.	 ขอให้ดำเนินการพัฒนาการแพทย์แผนไทยอย่างต่อเนื่อง
	 2.	 ให้ใช้วทยาศาสตร์สมัยใหม่ในการพัฒนาการแพทย์แผนไทยให้สะดวก
ิ
ทันสมัย และเป็นที่ยอมรับแพร่หลายโดยทั่วกัน
	 3.	 ในการตรวจวินิจฉัยด้วยการแพทย์แผนไทย ควรให้ประยุกต์ใช้
ข้อมูลการตรวจจากอุปกรณ์และเครื่องมือของแผนปัจจุบันประกอบด้วย
	 4.	 สถาบันสงฆ์ ยินดีให้ความสนับสนุน การพัฒนาการแพทย์แผนไทย

คัดลอกจาก สรุปรายงานการเข้าเฝ้าถวายรายงาน เรื่อง การพัฒนาการแพทย์แผนไทย
เอกสารประกอบการจัดงานพิธีเปิดสถาบันการแพทย์แผนไทยและการเสวนาทางวิชาการ
วันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2536
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

พระราโชวาท

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

	 เนื่ อ งในโอกาสที่ ฯพณฯ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงสาธารณสุ ข


นายแพทย์อุดมศิลป์ ศรีแสงนาม ได้นำคณะบุคคลซึ่งเป็นผู้บริหารระดับสูง
ของกระทรวงสาธารณสุข รวมทั้งผู้อำนวยการสถาบันการแพทย์แผนไทย


แพทย์หญิงเพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ และผู้แทนจากมูลนิธิฯ และหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องกับงานการแพทย์แผนไทย เข้าเฝ้าสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี เมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2536 ณ ตำหนักจิตรลดา-
รโหฐาน เพือถวายรายงานเรืองการพัฒนาการแพทย์แผนไทย สมเด็จพระเทพ
่
่
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้พระราชทานความคิดเห็นต่อการพัฒนา
การแพทย์แผนไทย โดยสรุปดังนี้
	

1.	 แนวคิดการดูแลสุขภาพตนเอง

	 	 1.1	 การที่ จ ะให้ มี สุ ข ภาพดี ควรคำนึ ง ถึ ง การปรั บ วิ ถี ชี วิ ต ใน
พฤติกรรมต่าง ๆ ตามแบบแผนการใช้ชีวิตประจำวัน อันจะส่งผลต่อการ
ป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วย และทำให้มีสุขภาพดี พฤติกรรมดังกล่าว ได้แก่
การออกกำลังกาย การพักผ่อน การรับประทานอาหารและการทำงาน
	 	 1.2	 การดูแลสุขภาพของตนเองเมื่อเจ็บป่วยเล็ก ๆ น้อย ๆ  นั้น
ถ้ า เราสามารถส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารดู แ ลรั ก ษาตนเอง โดยใช้ ย าสมุ นไพรหรื อ


การนวดไทย ก็จะทำให้ประหยัดรายจ่ายและยังเป็นการพึ่งตนเองได้ด้วย

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

	 2. 	
ความคิดเห็นเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทย 
	 	 2.1	 การถ่ายทอดการแพทย์แผนไทยนั้น ครูแพทย์แผนโบราณ
จะต้องมีการคัดเลือกคุณสมบัติของผู้เรียนคือ ต้องเป็นผู้มีความซื่อสัตย์และ
มีคณธรรม (พระองค์รบสังว่า มีญาติผใหญ่ชวนพระองค์เรียนการแพทย์แผนไทย)
ุ
ั ่
ู้
	 	 2.2	 การประยุกต์เทคโนโลยีให้เหมาะสมกับท้องถิน เรืองเทคโนโลยี
่ ่
ทางการแพทย์ตะวันตกเป็นสิงทีทนสมัยและมีคณภาพ แต่ราคาแพงเพราะฉะนัน
่ ่ั
ุ
้
ถ้าเราสามารถประยุกต์หรือเลียนแบบเทคโนโลยีตางๆ ให้เหมาะสมกับประเทศ
่
ของเรา ก็น่าจะช่วยลดต้นทุนการผลิตและประหยัดค่าใช้จ่ายในการให้บริการ
ผูปวยได้เป็นอย่างดี เช่น การเลียนแบบการประดิษฐ์เตียงสำหรับผูปวยอัมพาต
้ ่
้ ่
ซึ่งพบว่าได้ผลดีและประหยัด
	 	 2.3	 คุณสมบัติของยาไทย ยาสมุนไพรบางชนิดสามารถใช้ได้ผลดี
กับคนหนึ่ง แต่อาจใช้ไม่ได้ผลกับอีกคนหนึ่ง ดังนั้นการจะใช้ยาสมุนไพรจึงต้อง
คำนึงถึงลักษณะเช่นนี้ของยาไทย
	 3.	 ข้อจำกัด / ปัญหาของการแพทย์แผนไทย
	 	 3.1	 การนำยาแผนปัจจุบันเข้าไปผสมในตำรับยาแผนโบราณ เช่น
ผสม Steroid ในยาลูกกลอนนัน พระองค์รบสังเพิมเติมว่า “เคยเอายาสมุนไพร
้
ั ่ ่
ที่เคยได้มาและส่งตรวจ พบว่ามี Steroid ผสมในยาสมุนไพรด้วย”	 	
	 	 3.2	 การรักษากระดูกแบบพืนบ้าน เกิดผลแทรกซ้อนอันไม่พงประสงค์
้
ึ
เช่น อวัยวะนั้นเสียรูปไป
คัดลอกจาก สรุปรายงานการเข้าเฝ้าถวายรายงาน เรื่อง การพัฒนาการแพทย์แผนไทย
เอกสารประกอบการจัดงานพิธีเปิดสถาบันการแพทย์แผนไทยและการเสวนาทางวิชาการ
วันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2536
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
นโยบายกระทรวงสาธารณสุข

1.	ส่งเสริมบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน


	 นโยบาย ประกอบด้วย 
(อสม.) ทั่ ว ประเทศให้ ป ฏิ บั ติ ง านเชิ ง รุ กในการส่ ง เสริ ม
1.	นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก
สุ ข ภาพในท้ อ งถิ่ น และชุ ม ชน การดู แ ลเด็ ก ผู้ สู ง อายุ


2.	นโยบายความมั่นคงของรัฐ
คนพิการ การดูแลผู้ป่วยในโรงพยาบาลและการเฝ้าระวัง
3.	นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต
โรคในชุมชน โดยจัดให้มีสวัสดิการค่าตอบแทนให้แก่ อสม.
4.	นโยบายเศรษฐกิจ
5.	นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
 เพื่อสร้างแรงจูงใจหนุนเสริมให้ปฏิบัติงานได้อย่างคล่องตัว
6.	นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจย และนวัตกรรม
 และมีประสิทธิภาพ
ั
7.	นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
 2.	ปรับปรุงระบบบริการด้านสาธารณสุข โดยลงทุนพัฒนา
8.	นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ระบบบริการสุขภาพของภาครัฐทุกระดับให้ได้มาตรฐาน


ยกระดับสถานีอนามัยเป็นโรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ
	 นโยบายที่เกี่ยวข้องกับกระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ 
ประจำตำบล
นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต ประกอบด้วย
ิ
่
1.	สนั บ สนุ น การดำเนิ น การตามแนวทางของกฎหมาย 3.	 เปิดโอกาสให้คลินกเข้าเป็นเครือข่ายของระบบบริการ เพือ
สุขภาพแห่งชาติ โดยเร่งดำเนินมาตรการสร้างเสริมสุข ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการในโรคพื้นฐานได้ง่ายขึ้น
ภาพและลดปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพและการเจ็บป่วย 4.	พัฒนาระบบบริการสาธารณสุขโดยใช้บัตรประชาชนใน
เรื้อรัง โดยประสานความร่วมมือและการมีส่วนร่วมจาก การเข้ารับบริการ
ภาคีพัฒนาในสาขาต่างๆ ตลอดจนภาคเอกชน องค์กร 5.	ลงทุ น ผลิ ต และพั ฒ นาบุ ค ลากรทางการแพทย์ แ ละ


ปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุข สาธารณสุขควบคู่ไปกับการสร้างขวัญกำลังใจให้มีความ


ร่วมสร้างความรู้ ความเข้าใจ สร้างแรงจูงใจ รณรงค์ให้
 ก้าวหน้าในอาชีพ

นโยบายรัฐบาล
(แถลงต่อรัฐสภา วันที่ 29 ธันวาคม 2551)

นโยบายด้านสาธารณสุข
1.	ให้ ยึ ด นโยบายตามแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และ
สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554 และ
นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และ
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในการจัด
ทำโครงการคำของบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ.
2554 - 2555  
2.	สนับสนุนการศึกษาวิจัยให้ครอบคลุมทั้ง การวิจัย
พัฒนาองค์ความรู้   การวิจัยพัฒนากระบวนการ,
การถ่ายทอดองค์ความรู้ การพัฒนาบุคลากร และ
การเผยแพร่ความรู้และข้อมูล จัดทำเป็น 3 ภาษา
คือ ภาษาไทย อังกฤษ และจีน  
3.	ให้ความสำคัญกับการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับโรคทีเ่ ป็น
ปัญหาสาธารณสุขอันดับต้นๆ โดยเฉพาะกลุ่มโรคไม่
ติ ด ต่ อ เช่ น โรคของกล้ า มเนื้ อ กระดู ก และ
โครงสร้าง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง อัมพฤกษ์
อัมพาต และมะเร็ง เป็นต้น
4.	การบูรณาการโครงการภายในกรม เพื่อให้เกิด
เป็นภาพรวมที่ชัดเจนในการนำไปใช้ประโยชน์

นโยบายกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย
และการแพทย์ทางเลือก

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
เกิดการพัฒนาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอนามัย
รวมทั้งส่งเสริมบทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มี
ส่วนร่วมในการผลิตและพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์และ
สาธารณสุข โดยจัดสรรทุนให้เพื่อกลับมาทำงานในท้องถิ่น
2.	สร้างขีดความสามารถในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม
โรค วินิจฉัย และดูแลรักษาพยาบาลอย่างเป็นระบบ
เชื่อมโยงกับทุกภาคส่วน ทุกสาขาที่เกี่ยวข้อง เพื่อป้องกัน
ปัญหาการป่วยและตายด้วยโรคอุบัติใหม่ที่รวมถึงโรคที่มี
การกลายพันธุ์เป็นสายพันธุ์ใหม่ และโรคระบาดซ้ำในคน
อย่างทันต่อสถานการณ์
3.	ปรับปรุงระบบบริการด้านสาธารณสุข โดยลงทุนพัฒนา
ระบบบริการสุขภาพของภาครัฐในทุกระดับให้ได้มาตรฐาน
ยกระดับสถานีอนามัยเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
ประจำตำบล และพัฒนาระบบเครือข่ายการส่งต่อในทุก
ระดับให้มีประสิทธิภาพ เชื่อมโยงกันทั้งในภาครัฐและภาค
เอกชน เพื่อให้ระบบหลักประกันสุขภาพมีคุณภาพอย่าง
เพียงพอ ทั่วถึง มีทางเลือกหลากหลายรูปแบบ และ
ครอบคลุมได้ถงการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลเอกชน
ึ
ที่เข้าร่วมโครงการ

นโยบายรัฐบาล
(แถลงต่อรัฐสภา วันที่ 29 ธันวาคม 2551)

นโยบายกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย
และการแพทย์ทางเลือก

6.	 ส่งเสริมบทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีส่วนร่วม
 5.	การสร้างเครือข่ายด้านการแพทย์แผนไทยและ
ในการผลิ ต และพั ฒ นาบุ ค ลากรทางการแพทย์ แ ละ
 การแพทย์ทางเลือกในทุกระดับ ทั้งในประเทศและ

สาธารณสุ ข โดยจั ด สรรทุ น ให้ เ พื่ อ กลั บ มาทำงานใน
 ต่างประเทศ

ท้องถิ่น
6.	 การส่งเสริมให้มบคลากรด้านการแพทย์แผนไทย
ีุ
7. ผลักดันการขับเคลื่อนให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางด้าน
 และการแพทย์ ท างเลื อ กในระบบบริ ก ารของ

สุขภาพและการรักษาพยาบาลในระดับนานาชาติ โดยมี
 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล 

ยุ ท ธศาสตร์ ก ารบริ ห ารจั ด การอย่ า งมี ส่ ว นร่ ว ม มี ก าร
 7.	การศึกษาทบทวนกฎหมายและกฎระเบียบที่

ประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เกี่ ย วข้ อ งเพื่ อให้ ก ารทำงานมี ค วามคล่ อ งตั ว มี
และเอกชน  รวมทั้งปรับปรุงกฎ ระเบียบ
มาตรฐาน มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล
8.		รณรงค์ให้เกิดการพัฒนาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
 8.	 การเร่งจัดระบบรวบรวมข้อมูลการแพทย์แผนไทย

สุขภาพอนามัย เช่น อาหารปลอดภัย ส้วมสาธารณะ  
 การแพทย์พนบ้าน และการแพทย์ทางเลือกครอบคลุม

ื้
โดยเฉพาะสำหรั บ นั ก เรี ย นโดยประสานความร่ ว มมื อ กั บ
 ทั้ งข้ อ มูล บุค ลากร ตำรับตำรา สมุนไพร และ


กระทรวงศึกษาธิการ
อุปกรณ์ทางการแพทย์ในอดีต ครอบคลุมทุกพื้นที่
9.		สร้างความสามารถในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค 
 ทั่วไทย

เชื่อมโยงกับทุกภาคส่วน เพื่อป้องกันปัญหาการป่วยและ
 9.	การเชิญผู้รู้ต่างๆมาร่วมในการวิเคราะห์และ

ควบคุมโรคอุบัติใหม่ที่รวมถึงโรคที่มีการกลายพันธุ์ และ
 สังคยนา เพื่อนำความรู้ต่างๆ ไปใช้ประโยชน์อย่าง

เหมาะสม
โรคระบาดซ้ำในคนอย่างทันต่อเหตุการณ์

นโยบายกระทรวงสาธารณสุข

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
10.	สร้างความสามารถในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค
เชื่ อ มโยงกั บ ทุ ก ภาคส่ ว น เพื่ อ ป้ อ งกั น ปั ญ หาการป่ ว ย


และควบคุ มโรคอุ บั ติ ใ หม่ ที่ ร วมถึ งโรคที่ มี ก ารกลายพั น ธุ์  


และโรคระบาดซ้ำในคนอย่างทันต่อเหตุการณ์
11.	สนับสนุนโรงพยาบาลในเขตพื้นที่พิเศษ ใช้การบริหาร


ในรูปแบบองค์การมหาชน
12.	สนั บ สนุ น การดำเนิ น การตามแนวทางของกฎหมาย


สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ โดยมี ส่ ว นร่ ว มจากการพั ฒ นาสาขา


ต่างๆ ตลอดจนภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น


ทุกภาค  และอาสาสมัครสาธารณสุข

4.	ลงทุ น ผลิ ต และพั ฒ นาบุ ค ลากรทางการแพทย์ แ ละ
สาธารณสุข ควบคู่กับการสร้างขวัญกำลังใจให้มีความ
ก้าวหน้าในอาชีพ มีการปรับปรุงกฎระเบียบเพือให้มรายได้
่ ี
จากเงินเดือนและค่าตอบแทนอื่นๆ ที่เหมาะสม เป็นธรรม
รวมทั้งปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพ
ด้านการแพทย์ มีการกระจายบุคลากรทางการแพทย์และ
สาธารณสุขอย่างสอดคล้องกับความต้องการของพื้นที่
ตลอดจนการลงทุนพัฒนาและเชือมโยงระบบข้อมูลเทคโนโลยี
่
สารสนเทศด้านสุขภาพให้ทันสมัย มีมาตรฐาน สามารถใช้
ประโยชน์ร่วมกันได้อย่างคุ้มค่า

5.	ผลักดันการขับเคลื่อนให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางด้าน
สุขภาพและการรักษาพยาบาลในระดับนานาชาติ โดยมี
ยุ ท ธศาสตร์ ก ารบริ ห ารจั ด การอย่ า งมี ส่ ว นร่ ว ม มี ก าร
ประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง มีการใช้
ทรัพยากรทางการแพทย์ร่วมกันระหว่างภาครัฐและเอกชน
รวมทั้งปรับปรุงกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง


นโยบายกระทรวงสาธารณสุข

นโยบายรัฐบาล
(แถลงต่อรัฐสภา วันที่ 29 ธันวาคม 2551)



นโยบายกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย
และการแพทย์ทางเลือก

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

ประวัติการจัดตั้งกรม
	 การแพทย์ แ ผนไทยเป็ น การแพทย์ ที่ ดู แ ลสุ ข ภาพประชาชนมานาน
นับพันปี จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์มีการระบุถึงพันธุ์พืชสมุนไพรใน
สมัยพุทธกาลหลายชนิด เช่น กุ่มบก แก่นจันทน์แดง แก่นจันทน์เหลือง
ชะเอม ฯลฯ นอกจากนั้นยังพบในพระไตรปิฎกระบุว่า พระพุทธเจ้าทรง
อนุญาตให้พระภิกษุรักษาโรคด้วยสมุนไพรจากพืชได้แก่ ขมิ้น ขิง ว่านน้ำ
ว่านเปราะ ข่า แห้วหมู และแฝก จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ดังกล่าว
เป็นสิ่งยืนยันว่า การใช้สมุนไพรในการรักษาโรคมีมาช้านาน ทั้งที่มีบันทึกไว้
เป็นหลักฐาน และไม่มบนทึกอีกมากมาย ดังนันการทีจะนำงานการแพทย์แผนไทย
ีั
้
่
และสมุนไพร มาพัฒนาปรับใช้กบสุขภาพคนไทย จึงเป็นประเด็นหนึงทีนาสนใจ
ั
่ ่ ่
ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ แต่ด้วยองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย
ที่ขาดการพัฒนามาเป็นเวลานาน จึงทำให้การแพทย์แผนไทยถูกลดบทบาทลง
กอปรกับการแพทย์แผนตะวันตกได้เข้ามามีบทบาทในการดูแลสุขภาพของ


คนไทย ยิ่งทำให้การพัฒนางานการแพทย์แผนไทยชะงักงันมากขึ้น
	 จนกระทั่งในปี 2520 ได้มีการจัดประชุมขององค์การอนามัยโลก ณ
ประเทศรัสเซีย ผลของการประชุมครังนันได้กำหนดให้มการพัฒนาภูมปญญาไทย
้ ้
ี
ิั
ในงานการสาธารณสุขมูลฐานเพื่อสุขภาพดีถ้วนหน้า ปี 2543
	 จากผลการประชุ ม ขององค์ ก ารอนามั ย โลกดั ง กล่ า ว ทำให้
การแพทย์แผนไทย ถูกหยิบยกขึนมาเป็นประเด็นทีสำคัญต่อการพัฒนาอีกครังหนึง
้
่
้ ่
และรัฐบาลได้กำหนดแผนการดำเนินงานให้มการพัฒนางานด้านสมุนไพรตังแต่
ี
้
ปี 2520 เป็นต้นมา จนกระทังในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 7
่
ได้ระบุให้มีการส่งเสริมสุขภาพและจะต้องส่งเสริมให้มีการดำเนินการพัฒนา
ภูมปญญาทางด้านการรักษาพยาบาลแบบพืนบ้าน เช่น แพทย์แผนไทย สมุนไพร
ิั
้
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

และการนวด ประสานเข้ากับแพทย์แผนปัจจุบันและในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8 ได้ระบุในหัวข้อยุทธวิธีการเพิ่มประสิทธิภาพ
และความสามารถในการเข้าถึงระบบบริการสาธารณสุข “ให้สนับสนุนการ
พั ฒ นาเภสั ช กรรมและการแพทย์ แ ผนไทยอย่ า งจริ ง จั ง โดยสนั บ สนุ น


งบประมาณปีละไม่ต่ำกว่าร้อยละ 2 ของงบประมาณด้านสุขภาพ”
	 ในระยะ 10 ปี ที่ ผ่ า นมากระทรวงสาธารณสุ ขได้ มี ก ารพยายาม
พัฒนาการแพทย์แผนไทยทังระบบ โดยในปี พ.ศ. 2532 กระทรวงสาธารณสุข
้
จากมติเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีได้จัดตั้ง “ศูนย์ประสานงานการแพทย์และ
เภสัชกรรมแผนไทย” ขึ้นเป็นองค์กรประสานการพัฒนาการแพทย์แผนไทย
ภายในกองแผนงาน สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดยมีหน้าที่
ประสานงานการพัฒนาและดูแลโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาการแพทย์แผนไทย
แต่ด้วยความจำกัดของขนาดและโครงสร้างขององค์กร ตลอดจนความจำกัด
ด้านงบประมาณทำให้องค์กร มิอาจรองรับการพัฒนาการแพทย์แผนไทยได้
อย่างเต็มที่
	 ดั ง นั้ น กระทรวงสาธารณสุ ข จึ ง ได้ มี ด ำริ ใ นการจั ด ตั้ ง “สถาบั น
การแพทย์แผนไทย” เป็นหน่วยงานระดับกองขึ้น โดยให้สังกัดกรมการแพทย์
และโอนบทบาทหน้าที่และเจ้าหน้าที่ของ ศูนย์ประสานงานการแพทย์แผนไทย
มาสั ง กั ด “สถาบั น การแพทย์ แ ผนไทย” และได้ ด ำเนิ น การจั ด ตั้ ง สถาบั น
การแพทย์แผนไทยเป็นหน่วยงานภายในกรมการแพทย์อย่างไม่เป็นทางการ
เมือวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2536 และจัดงานพิธเี ปิด “สถาบันการแพทย์แผนไทย”
่
อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2536 โดยใช้สำนักงาน
โรงพยาบาลสงฆ์ เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร เป็นที่ปฏิบัติงาน
	 ต่อมา นายแพทย์วทร แสงสิงแก้ว สมัยดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมการแพทย์
ิุ
ได้มีคำสั่งการจัดตั้ง สถาบันการแพทย์แผนไทย เป็นหน่วยงานระดับกอง
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

มาสังกัดกรมการแพทย์ เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2536 ต่อมามีการ ผลักดัน
พระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ซึ่งเริ่ม


ตังแต่ปี พ.ศ. 2537 สำเร็จในปี พ.ศ. 2542 และประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษา
้
เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2542 เล่ม 110 ตอน 120 ซึ่งพระราชบัญญัติฯ
ฉบับนี้ มาตรา 12 ได้กำหนดให้ สถาบันแพทย์แผนไทยสังกัดสำนักงานปลัด
กระทรวงสาธารณสุขมีอำนาจหน้าที่ในการดำเนินการต่างๆ เกี่ยวกับการ
คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรไทย ซึ่งได้ย้าย
จากอาคารชัน 4 กรมการแพทย์ มาอยู่ ณ อาคารพิพธภัณฑ์และศูนย์ฝกอบรม
้
ิ
ึ
ด้านการแพทย์แผนไทย (อาคารหมอเพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ ในปัจจุบน) เมือเดือน
ั ่
ธันวาคม 2544
	 จากนั้ น จุ ด ก้ า วกระโดดของสถาบั น การแพทย์ แ ผนไทย สู่ ก ารเป็ น
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก จึงเกิดขึ้นเมื่อผู้บริหาร
เห็นความสำคัญของการแพทย์แผนไทย ประกอบกับมติคณะรัฐมนตรี เมือวันที
่
่
5 มีนาคม 2545 โดยรัฐบาลกำหนดความจำเป็นและขอบเขตเกียวกับการปฏิรป
่
ู
ระบบราชการ จึงมีผลทำให้เกิดมีการปฏิรปโครงสร้างบทบาทภารกิจ อัตรากำลัง
ู
ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกขึ้น โดยโอนหน่วยงานสถาบัน
การแพทย์แผนไทย ศูนย์ความร่วมมือการแพทย์ไทย-จีน และศูนย์ประสานงาน
การแพทย์ทางเลือก มาสังกัดกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก ที่ตั้งขึ้นใหม่ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
พ.ศ. 2545 และพระราชบั ญ ญั ติ กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.2545


(วันที่ 3 ตุลาคม 2545) และกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมพัฒนา
การแพทย์ แ ผนไทยและการแพทย์ ท างเลื อ ก กระทรวงสาธารณสุ ข


(วันที่ 9 ตุลาคม 2545)
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

บทบาทภารกิจ
ด้านการแพทย์แผนไทย
และ
การแพทย์ทางเลือก

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

การแพทย์แผนไทย
     การแพทย์แผนไทย ความหมาย ตามพ.ร.บ.คุ้มครองและส่งเสริม


ภูมปญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2542 หมายถึง กระบวนการทางการแพทย์
ิ ั
เกี่ยวกับการตรวจ วินิจฉัย บำบัด รักษาหรือป้องกันโรค หรือการส่งเสริม
ฟื้ น ฟู สุ ข ภาพของมนุ ษ ย์ ห รื อ สั ต ว์ การผดุ ง ครรภ์ การนวดไทย และให้
หมายความรวมถึงการเตรียมการผลิตยาแผนไทย และการประดิษฐ์อุปกรณ์
และเครื่องมือทางการแพทย์ ทั้งนี้โดยอาศัยความรู้หรือตำราที่ได้ถ่ายทอดและ
พัฒนาสืบต่อกันมา
	 “ตำราการแพทย์แผนไทย” หมายความว่า หลักวิชาการต่างๆ เกียวกับ
่
การแพทย์แผนไทยทั้งที่ได้บันทึกไว้ในสมุดไทย ใบลาน ศิลาจารึก หรือวัสดุ


อื่นใดหรือที่มิได้มีการบันทึกไว้แต่เป็นการเรียนรู้หรือถ่ายทอดสืบต่อกันมา


ไม่ว่าด้วยวิธีใด
	 “ยาแผนไทย” หมายความว่า ยาที่ได้จากสมุนไพร โดยตรงหรือที่ได้
จากการผสม ปรุ ง หรื อ แปรสภาพสมุ นไพร และให้ ห มายความรวมถึ ง


ยาแผนโบราณตามกฎหมายว่าด้วยยา
    	 “ตำรับยาไทย” หมายความว่า สูตรซึ่งระบุกรรมวิธีการผลิตและส่วน
ประกอบสิ่งปรุงที่มียาแผนไทยรวมอยู่ด้วยไม่ว่าสิ่งปรุงนั้นจะมีรูปลักษณะใด
    	 “สมุนไพร” หมายความว่า พืช สัตว์ จุลชีพ ธาตุวถตุ สารสกัดดังเดิม
ั
้
จากพืชหรือสัตว์ที่ใช้หรือแปรสภาพหรือผสมหรือปรุงเป็นยาหรืออาหารเพื่อ
การตรวจวินิจฉัย บำบัด รักษา หรือป้องกันโรคหรือส่งเสริมสุขภาพร่างกาย
ของมนุษย์หรือสัตว์ และให้ความหมายรวมถึงถิ่นกำเนิดหรือถิ่นที่อยู่ของ


สิ่งดังกล่าวด้วย
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

หลักการดูแลสุขภาพดีด้วยการแพทย์แผนไทย

ทีอยูอาศัย
่ ่
กาลเวลา
๔
๓
ฤดูกาล
อายุ ๓ วัย
๓
ธาตุเจ้าเรือน
๔
นวด อบ ประคบ

เสียสมดุล
พฤติกรรม
๘

ยา อาหารปรับสมดุล

คนไทยสุขภาพดี

เมืองไทยสุขภาพดี

เกิดโรค

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

หลักและทฤษฎีการแพทย์แผนไทย
	 ตามหลักทฤษฏีการแพทย์แผนไทย กล่าวว่า คนเราเกิดมาในร่างกาย
ประกอบด้วยธาตุทั้งสี่ คือ ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุลม ธาตุไฟ ซึ่งในแต่ละคน
จะมีธาตุเด่น เป็นธาตุประจำตัว เรียกว่า “ธาตุเจ้าเรือน”
	 ธาตุเจ้าเรือน หมายถึง องค์ประกอบของธาตุทั้ง 4 ที่รวมกันอย่าง
ปกติแต่จะมีธาตุอย่างใดอย่างหนึ่งเด่น หรือมากกว่าธาตุอื่น ๆ ซึ่งจะเป็น
บุคลิกลักษณะและอุปนิสัยติดตัวมาตั้งแต่แรกเกิด หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า
“ธาตุกำเนิด” ภายหลังอาจเปลี่ยนแปลงได้ เนื่องจากพฤติกรรมการเลี้ยงดู
และสิ่งแวดล้อม ซึ่งทฤษฎีการแพทย์แผนไทย ให้ความหมายของชีวิตว่า ชีวต
ิ
คือ ขันธ์ 5 (อันได้แก่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ) ร่างกาย
ประกอบด้วยธาตุทั้ง 4 ได้แก่ ธาตุดิน (20 ประการ) ธาตุน้ำ (12 ประการ)  
ธาตุลม (6 ประการ) ธาตุไฟ (4 ประการ)
การวิเคราะห์ธาตุเจ้าเรือนของแต่ละบุคคล สามารถวิเคราะห์ได้ดังนี้
	 1.	 วิเคราะห์จาก วัน  เดือน ปีเกิด แบบไทย
	 	 1.1	 ใช้แผ่นวงกลมวิเคราะห์ธาตุเจ้าเรือน หรือโปรแกรม Pen Diag
	 	 จากคอมพิวเตอร์ ซึ่งคิดค้นโดย แพทย์หญิงเพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ
	 	 1.2	 วิเคราะห์จากเดือนเกิด
		 ธาตุดิน	 คือ คนที่เกิดเดือน 11, 12, 1 หรือ เดือนตุลาคม 


	 	 	 	 พฤศจิกายน ธันวาคม
		 ธาตุน้ำ	 คือ คนที่เกิดเดือน 8, 9, 10 หรือ เดือนกรกฎาคม 


	 	 	 	 สิงหาคม กันยายน
		 ธาตุลม	 คื อ คนที่ เ กิ ด เดื อ น 5, 6, 7 หรื อ เดื อ นเมษายน 


	 	 	 	 พฤษภาคม มิถุนายน
		 ธาตุไฟ	 คื อ คนที่ เ กิ ด เดื อ น 2, 3, 4 หรื อ เดื อ นมกราคม 


	 	 	 	 กุมภาพันธ์ มีนาคม
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

ภาวะธาตุ 4 เสียสมดุล
	 หากร่างกายเกิดภาวะเสียสมดุลของธาตุทั้ง 4 บุคคลนั้นจะมีปัญหา
ด้านสุขภาพ ทำให้เกิดการเจ็บป่วยได้งายด้วยอาการทีแตกต่างกันไป ขึนอยูกบ
่
่
้ ่ั
ธาตุนนๆ โดยอาการเจ็บป่วยทีปรากฏจะแสดงอาการให้เห็นตามธาตุตางๆ ดังนี
ั้
่
่
้
  ธาตุดิน มักจะเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกี่ยวกับอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย โดยมี
สิ่งที่ควบคุมความเจ็บป่วยของธาตุดิน 3 ประการ ด้วยกันคือ
	
	
	

หทยัง หรือหทัยวัตถุ (หัวใจ) หมายถึงความสมบูรณ์ของหัวใจ
การทำงาน การเต้น ความสมบูรณ์ของกล้ามเนื้อหัวใจ เป็นต้น
โรคที่เกิดมักเกิดจากการทำงานของหัวใจ

	
	
	

อุทริยัง (อาหารใหม่) หมายถึง อาหารที่รับประทานเข้าไปใหม่ๆ
โรคที่เกิดมักเกิดจากการกินอาหารที่ผิดปกติเรียกว่า “กินผิด”
คือกินไม่ถูกกับธาตุ กินอาหารไม่สะอาด กินอาหารแสลงโรค เป็นต้น

	
	
	
	
	

กรีสัง (อาหารเก่า) หมายถึง กากอาหารในลำไส้ใหญ่ที่จะออกมา
เป็นอุจจาระ ลักษณะหรือกลิ่นของอุจจาระเป็นตัวบ่งบอกสุขภาพ 
อุจจาระหยาบ ละเอียด แข็ง เหลว กลิ่นเหมือนปลาเน่า ธาตุน้ำ
เป็นเหตุ กลิ่นเหมือนหญ้าเน่า ธาตุไฟเป็นเหตุ กลิ่นเหมือนข้าวบูด
ธาตุลมเป็นเหตุ กลิ่นเหมือนซากศพ ธาตุดินเป็นเหตุ เป็นต้น

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

   ธาตุน้ำ มักจะเจ็บป่วยด้วยของเหลว หรือน้ำภายในร่างกาย โดยมีสิ่งที่
ควบคุมความเจ็บป่วยของธาตุน้ำ 3 ประการ ด้วยกันคือ
	
	
	

ศอเสมหะ หมายถึง เสมหะหรือเสลดที่อยู่บริเวณลำคอ
โรคที่เกิดมักเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจส่วนบน เมือกในจมูก
ลำคอ หลอดลมตอนต้น เช่น มีเสมหะ ไซนัส ไข้หวัด เป็นต้น

	
	
	
	

อุระเสมหะ หมายถึง เสมหะหรือเสลดที่อยู่บริเวณทรวงอก
และช่องท้องส่วนบน ได้แก่ เสมหะ น้ำย่อยในกระเพาะอาหาร
โรคที่เกิดมักเกี่ยวกับทรวงอกและปอด เช่น หอบหืด หลอดลมอักเสบ
ปอดบวม โรคกระเพาะ เป็นต้น

	
	
	

คูถเสมหะ หมายถึง ของเหลวที่อยู่ในช่องท้องส่วนล่างหรือ
ระบบขับถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ โรคที่เกิดมักเกี่ยวข้องกับ
ระบบทางเดินอาหารส่วนปลาย เมือกมูกในลำไส้ น้ำในกระเพาะปัสสาวะ
เช่น ท้องเสีย บิดมูกเลือด ริดสีดวงทวาร กระเพาะปัสสาวะอักเสบ 


ปัสสาวะผิดปกติ เป็นต้น

	
	


กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

   ธาตุลม  มักจะเจ็บป่วยด้วยระบบการไหลเวียนโลหิต และระบบประสาท
โดยมีสิ่งที่ควบคุมความเจ็บป่วยของธาตุลม 3 ประการ ด้วยกันคือ
	
	
	

หทัยวาตะ หมายถึง ภาวะจิตใจ โรคที่เกิดมักเกิดจาก
การเปลี่ยนแปลงของสภาพจิตใจ อารมณ์ ความหวั่นไหว
ความกังวล ทำให้เกิดการแปรปรวนด้านอารมณ์ได้

	
	
	
	

สัตถกะวาตะ หมายถึง ลมในร่างกาย ที่แหลมคม เหมือน
ศัสตราวุธ ซึ่งเกี่ยวกับระบบประสาทต่างๆ และเส้นเลือดฝอย
ภาวะหัวใจขาดเลือด โรคที่เกิดมักจะเกี่ยวกับเส้นเลือดฝอยแตก
ตีบตัน หรือเป็นอัมพาต อาการปวด อาการชา เป็นต้น

	
	
	
	

สุมนาวาตะ หมายถึง การไหลเวียนของโลหิตและระบบการทำงาน
ของประสาท สมอง ไขสันหลัง โรคที่เกิดมักเกี่ยวกับ
การเจ็บหลัง การชัก การกระตุก ความดันโลหิต ลมจากหัวใจ
และหลอดเลือดใหญ่กลางลำตัว

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

   ธาตุไฟ มักจะเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจากขบวนการเผาผลาญพลังงานใน
ร่างกาย โดยมีสิ่งที่ควบคุมความเจ็บป่วยของธาตุไฟ 3 ประการคือ
	
	
	
	

พัทธปิตตะ (ดีในฝัก) หมายถึง ขบวนการผลิตน้ำดีของตับ
โรคที่เกิดมักเกี่ยวกับระบบน้ำดีภายในถุงน้ำดี ท่อน้ำดีอุตตัน
ภาวะการผลิตน้ำดีของตับผิดปกติ ตับอักเสบเกิดอาการ
ตัวเหลือง ตาเหลือง เกิดน้ำดีอักเสบ เป็นนิ่วเป็นต้น

	
	
	
	
	

อพัทธปิตตะ (ดีนอกฝัก) หมายถึง ขบวนการย่อยอาหารโดย
น้ำดีหรือน้ำดีในลำไส้ โรคที่เกิดมักเกี่ยวกับการทำงานของ
น้ำดีในลำไส้ ระบบการย่อยอาหาร อาการคือ จุกเสียด
อืดเฟ้อ อาหารไม่ย่อย ดีซ่าน เหลืองทั้งตัว ถ่ายเป็นสีเขียว
เป็นต้น

	
	
	

กำเดา หมายถึง ความร้อนที่เกิดจากขบวนการเผาผลาญ
การทำงานของร่างกาย โรคที่เกิดมักเกี่ยวกับอาการตัวร้อน
เป็นไข้ ร้อนใน ติดเชื้อ อักเสบ เป็นต้น

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

หลักการตรวจวินิจฉัยและรักษาโรคตามทฤษฎี
การแพทย์แผนไทยเบื้องต้นมีดังนี้
	
	
	
	

1.
2.
3.
4.

รู้ที่ตั้งที่แรกเกิดของโรค
รู้จักชื่อของโรคที่เกิดขึ้น
รู้จักสรรพคุณยาสำหรับบำบัดโรค
รู้จักเลือกใช้ยาตามอาการ

รู้ที่ตั้งที่แรกเกิดของโรค
สมุฏฐาน  หมายถึง ที่ตั้งที่แรกเกิดของโรค
สมุฏฐานทางการแพทย์แผนไทย แบ่งเป็น 5 ประการ
	1. ธาตุสมุฏฐาน	

2. อุตุสมุฏฐาน	

หมายถึง ธาตุที่	
เป็นที่ตั้งที่แรกเกิด	
ของโรคมี 4	
ประการคือ	
1.	ปถวีธาตุ	
	 (ธาตุดิน)	
2.	อาโปธาตุ	
	 (ธาตุน้ำ)	
3.	วาโยธาตุ	
	 (ธาตุลม)	
4.	เตโชธาตุ	
	 (ธาตุไฟ)

หมายถึง ฤดูกาล	
ที่เป็นที่ตั้งที่แรก	
เกิดของโรค	
มี 3 ฤดู คือ	
	 1.	ฤดูร้อน	
	 2.	ฤดูฝน	
	 3.	ฤดูหนาว	
		 	
		 	
		 	
		 	

3. อายุสมุฏฐาน	 4. กาลสมุฏฐาน	 5. ประเทศสมุฏฐาน
หมายถึง  อายุที่	
เป็นที่ตั้งที่แรก	
เกิดของโรค	
แบ่งเป็น 3 วัย	
คือ	
	
1.	ปฐมวัย	
	 (แรกเกิด-16 ปี)
2.	มัชฌิมวัย 	
	 (16 ปี-32 ปี)	
3.	ปัจฉิมวัย	
	 (32 ปีขึ้นไป)	

หมายถึง เวลาที่	 หมายถึงถิ่นที่อยู่
เป็นที่ตั้งที่แรก	
อาศัยที่เป็นที่ตั้ง
เกิดของโรค	
ที่แรกเกิดของ
แบ่งเป็น 3	
โรค แบ่งเป็น 4
ช่วงเวลา คือ	
ลักษณะ คือ
1. 06.00-10.00 น.	 1.	ประเทศร้อน
		 18.00-22.00 น.	 2.	ประเทศเย็น
2.	10.00-14.00 น. 	3.	ประเทศอุ่น
	 22.00-02.00 น.	 4.	ประเทศหนาว
3.	14.00-18.00 น.    
	 02.00-06.00 น.

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

รายละเอียดของธาตุที่เป็นที่ตั้งที่แรกเกิดของโรค
	 ธาตุดิน(20 ประการ)	 ธาตุน้ำ(12 ประการ)	 ธาตุลม(6 ประการ)	 ธาตุไฟ(4 ประการ)
1.	 เกศา (ผม)	
1.	 ปิตตัง (น้ำดี)	
2.	 โลมา (ขน)	
	 มี 2 อย่างคือ	
3.	 นขา (เล็บ)	
	 1.1	 พัทธปิตตะ	
4.	 ทันตา (ฟัน)	
	 	 (น้ำดีในฝัก)	
5.	 ตะโจ (หนัง)	
	 1.2	 อพัทธปิตตะ	
6.	 มังสัง (เนื้อ)	
	 	 (น้ำดีนอกฝัก)	
7.	 นหารู (เส้นเอ็น)	
2.	 เสมหัง (น้ำเสลด)	
8.	 อัฐิ (กระดูก)	
	 มี 3 อย่างคือ	
9.	 อัฐิมิญชัง	
	 2.1	 ศอเสมหะ	
	 (เยื่อในกระดูก)	
	 2.2	 อุระเสมหะ	
10.	วักกัง (ม้าม)	
	 2.3	 คูถเสมหะ	
11.	หทยัง (หัวใจ)	
3.	 บุพโพ (น้ำหนอง)	
12.	ยกนัง (ตับ)	
4.	 โลหิตัง (น้ำเลือด)	
13.	กิโลกัง (พังผืด)	
5.	 เสโท (น้ำเหงื่อ)
14.	ปิหกัง (ไต)	
6.	 เมโท (มันข้น)
15.	ปับผาสัง (ปอด)	
7.	 อัสสุ (น้ำตา)
16.	อันตัง (ลำไส้ใหญ่)   	 8.	 วสา (มันเหลว)
17.	อันตคุณัง (ลำไส้น้อย)  	9.	 เขโฬ (น้ำลาย)
18.	อุทริยัง (อาหารใหม่)    10.	สังฆานิกา (น้ำมูก)
19.	กรีสัง (อาหารเก่า)     	11.	ลสิกา (น้ำในไขข้อ)
20.	มัตถเกมัตถลุงคัง	
12.	มูตตัง (น้ำปัสสาวะ)
	 (มันสมอง)


1.	 อุทธังคมาวาตา	
	 (ลมพัดขึ้น)	
2.	 อโธคมาวาตา	
	 (ลมพัดลง)	
3.	 กุจฉิสยาวาตา	
	 (ลมในท้อง)	
4.	 โกฏฐาสยาวาตา	
	 (ลมในลำไส้)	
5.	 อังคมังคานุสารีวาตา	
	 (ลมพัดในกาย)	
6.	 อัสสาสะปัสสาสะ	
	 วาตา	
	 (ลมหายใจ)

1.	สันตัปปัคคี
	 (ไฟสำหรับ
	 อบอุ่นกาย)
2.	ปริทัยหัคคี
	 (ไฟให้ร้อน
	 ระส่ำระส่าย)
3.	ชิรณัคคี
	 (ไฟเผากายให้
	 แก่คร่ำคร่า)
4.	ปริณามัคคี	 
	 (ไฟสำหรับ
	 ย่อยอาหาร)

	 เมื่อธาตุทั้ง 4 เกิดภาวะเสียสมดุล คือ กำเริบ หย่อน พิการ ทำให้
เกิดอาการเจ็บป่วยได้
	 กำเริบ หมายถึง ธาตุต่าง ๆ   ทำหน้าที่มากกว่าปกติ เช่น ธาตุไฟ
กำเริบทำให้ ตัวร้อน เป็นไข้ เป็นต้น
	 หย่อน หมายถึง ธาตุตาง ๆ ทำหน้าทีนอยกว่าปกติ เช่น ธาตุไฟหย่อน
่
่้
ทำให้อาหารไม่ย่อย ตัวเย็น เป็นต้น
	 พิการ หมายถึง ธาตุต่าง ๆ ทำหน้าที่ได้น้อยมากหรือไม่สามารถทำ
หน้าที่ได้เลย เช่น ไตพิการ (ธาตุดินพิการ)
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

พฤติกรรมที่เป็นมูลเหตุการเกิดโรค
พฤติกรรมที่เป็นมูลเหตุการเกิดโรค
	 	 กินอาหารมากหรือน้อยเกินไป กินอาหารบูดหรืออาหารที่ไม่เคยกิน
กินอาหารไม่ถูกกับธาตุ กินอาหารแสลงกับโรค
	 	 ฝืนอิริยาบถ ได้แก่ การนั่ง ยืน เดิน นอน ไม่สมดุลกัน ทำให้
โครงสร้างร่างกายเสียสมดุลและเสื่อมโทรม
	 	 อากาศไม่สะอาด อยู่ในที่ที่มีอากาศร้อนหรือเย็นเกินไป
	 	 การอด ได้แก่ การอดข้าว อดนอน อดน้ำ อดหรือขาดอาหาร
	 	 การกลั้นอุจจาระ ปัสสาวะ
	 	 การทำงานเกินกำลัง ทำงานมากเกินไป หรือมีกิจกรรมทางเพศ


มากเกินไป
	 	 มีความโศกเศร้าเสียใจหรือดีใจจนเกินไป ขาดอุเบกขา
	 	 มีโทสะมากเกินไป ขาดสติ
	 นอกจากนี้ ตามองค์ความรูในเรืองการใช้สมุนไพร จะใช้รสของสมุนไพร
้ ่
เป็นยารักษาโรค รสยา 9 รส คือ ฝาด หวาน มัน เค็ม เมาเบื่อ เปรี้ยว ขม
เผ็ดร้อน หอมเย็น โดยรสของสมุนไพรจะมีผลต่อการปรับสมดุลของร่างกาย
เมื่อธาตุทั้งสี่ในร่างกายสมดุลบุคคลจะไม่เจ็บป่วย หากขาดความสมดุล มักจะ
เกิดความเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจากจุดอ่อนด้านสุขภาพของแต่ละคนตามธาตุ
ต่างๆ ที่ขาดความสมดุล ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันปัญหาความเจ็บป่วยที่อาจ
เกิดขึ้น สิ่งที่สามารถช่วยได้ในเบื้องต้นคือ การบริโภคอาหารของแต่ละคนใน
ชีวิตประจำวัน โดยใช้การประยุกต์รสของ พืช ผัก ผลไม้ ที่นำมาปรุงเป็น
อาหาร (เปรี ย บเที ย บกั บ รสของสมุ นไพรที่ ใ ช้ เ ป็ น ยา) มาปรั บ สมดุ ล ของ
ร่างกาย เพื่อป้องกันความเจ็บป่วยและส่งเสริมสุขภาพได้ในระดับหนึ่ง
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

การใช้รสของอาหารเพื่อปรับสมดุลของร่างกาย
เพื่อป้องกันความเจ็บป่วยและส่งเสริมสุขภาพ

	 การเลือกรับประทาน พืชผัก ผลไม้ อาหารรสต่างๆ ให้เหมาะกับ


ธาตุเจ้าเรือน หรือธาตุทเจ็บป่วย (เสียสมดุล) ของบุคคลนันๆ จะทำให้บคคลนัน
ี่
้
ุ
้
มีธาตุที่สมดุล ซึ่งสามารถเลือกได้ดังนี
้

		 ธาตุดิน  ควรรับประทาน รส ฝาด หวาน มัน เค็ม เช่น ฝรั่งดิบ
หัวปลี กล้วย มะละกอ เผือก มัน กระหล่ำปลี ผักกะเฉด มังคุด ฟักทอง
ถัวต่างๆ เงาะ หัวมันเทศ เป็นต้น ตัวอย่างอาหารปรับสมดุลธาตุดน ผัดสะตอ
่
ิ
ยำหัวปลี น้ำพริก ผักจิ้มที่มีรสฝาด รสมัน อาหารว่าง เช่น เต้าส่วน วุ้นกะทิ
กล้วยบวชชี ตะโก้เผือก เครื่องดื่ม เช่น นมถั่วเหลือง น้ำมะพร้าว น้ำฝรั่ง
เป็นต้น
		 ธาตุน้ำ ควรรับประทาน รสเปรี้ยว เช่น มะนาว ส้ม สับปะรด
มะเขือเทศ มะยม มะกอก มะดัน กระท้อน ตัวอย่างอาหารปรับสมดุลธาตุนำ
้
แกงส้มดอกแค ลาบ หรือยำที่มีรสเปรี้ยว ผัดเปรี้ยวหวาน อาหารว่าง เช่น   
มะยมเชือม สับปะรดกวน กระท้อนลอยแก้ว มะม่วงน้ำปลาหวาน มะม่วงกวน
่
เครื่องดื่ม เช่น น้ำมะนาว น้ำส้มคั้น น้ำมะเขือเทศ เป็นต้น
		 ธาตุลม ควรรับประทาน รสเผ็ดร้อน เช่น กระเพรา โหระพา
กระเทียม ขึนฉ่าย ยีหร่า ขิง ข่า ตะไคร้ กระชาย พริกไทย ขมินชัน ผักคราด
้
่
้
ช้าพลู พริกขี้หนู ตัวอย่างอาหารปรับสมดุลธาตุลมเช่น ผัดกะเพรา ผัดขิง
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

คั่วกลิ้ง แกงเผ็ด หรืออาหารที่มีรสเผ็ด อาหารว่าง เช่น บัวลอยน้ำขิง
เต้าฮวย เต้าทึง มันต้มขิง ถั่วเขียวต้มขิง  เมี่ยงคำ เครื่องดื่ม เช่น น้ำขิง
น้ำตะไคร้ น้ำมะตูม เป็นต้น

		 ธาตุไฟ ควรรับประทาน รส ขม เย็น จืด เช่น บัวบก มะระ มะรุม
สะเดา ผักบุ้ง ตำลึง สายบัว แตงกวา คะน้า บวบ มะเขือ ผักกาดจีน
ตัวอย่างอาหารปรับสมดุลธาตุไฟ แกงจืดตำลึง ผัดบวบ มะระผัดไข่ ผัดผักบุง
้
หรืออาหารที่มีรสจืด อาหารว่าง ซาหริ่ม ไอศกรีม น้ำแข็งไส เครื่องดื่ม


น้ำแตงโมปั่น น้ำใบเตย น้ำเก็กฮวย เป็นต้น
	 การรับประทานอาหารควรรับประทานอาหารให้หลากหลายครบทุกรส
ทั้ง 4 ธาตุ ไม่ควรเลือกรับประทานเฉพาะรสใดรสหนึ่งตามธาตุเจ้าเรือนของ
ตนเอง หรือธาตุที่เจ็บป่วย (เสียสมดุล) เท่านั้น เนื่องจากร่างกายต้องการ
อาหารบำรุงธาตุทั้ง 4 ด้วย หากธาตุหนึ่งธาตุใดขาดการบำรุงจะเจ็บป่วยได้
การรับประทานอาหารที่เหมาะกับธาตุเจ้าเรือนของตนเอง หรือธาตุที่เจ็บป่วย
(เสียสมดุล) ควรรับประทานให้มากกว่าธาตุอื่นๆ ที่สมดุลอยู่แล้ว พฤติกรรม
ดังกล่าวจะทำให้ การปรับสมดุลได้ผลดี

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

การแพทย์พื้นบ้านไทย
(Thai Indigenous Medicine)
1.  ความหมายของการแพทย์พื้นบ้านไทย
	 การแพทย์พื้นบ้านไทย (Thai indigenous Medicine) ตามพระราช
บัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2542 ว่า  
“การดูแลสุขภาพกันเองในชุมชนแบบดั้งเดิม จนกลายเป็นส่วนหนึ่งของวิถี
ชีวิต เกี่ยวข้องกับความเชื่อ พิธีกรรม วัฒนธรรม ประเพณี และทรัพยากรที่
แตกต่างกันในแต่ละท้องถิ่นและเป็นที่ยอมรับของชุมชนนั้น” ความหมายนี้
ครอบคลุมทั้งการแพทย์พื้นบ้านที่มีหมอพื้นบ้านช่วยเหลือและดูแลชาวบ้าน


ในชุมชน  และประชาชนในชุมชนที่ใช้ภูมิปัญญาและประสบการณ์ในการดูแล
ตนเอง เช่น การใช้ยาต้มสมุนไพรรักษาอาการปวดเมื่อย ปวดหลัง การใช้
ยากวาดสมุนไพรรักษาอาการเจ็บคอของเด็ก การนวดในครอบครัว   การใช้
อาหารพื้นบ้านเพื่อดูแลรักษาสุขภาพ  เป็นต้น
2.  แนวคิดพื้นฐานที่สำคัญ : ว่าด้วยระบบการแพทย์ที่หลากหลาย
	 ในสั ง คมมี ร ะบบการแพทย์ แ บบพหุ ลั ก ษณ์ (Pluralistic Medical  
System)  ดังแผนภาพ 1

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

ระบบการแพทย์
พื้นบ้าน (Folk sector)

ระบบการแพทย์แบบวิชาชีพ
(Professional  sector)

ระบบการแพทย์
ของประชาชน
(Popular  sector)

( Kleinman, 1980 : 49-60 )
แผนภาพ 1 : แสดงความสัมพันธ์ของระบบการแพทย์

     จะพบว่าแบบแผนการแสวงหาวิธีการดูแลสุขภาพของประชาชน  นั้นมี
ลักษณะของการผสมผสานหรือมีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง การดูแลใน 3 ระบบ  
ระหว่างการดูแลสุขภาพตนเอง   หรือการใช้ความรูประสบการณ์ของประชาชน
้
(Popular sector) การแสวงหาวิธการดูแลโดยการพึงพาหมอพืนบ้านในชุมชน
ี
่
้
(Folk sector) และการไปรับบริการจากระบบบริการการแพทย์ที่เป็นทางการ
หรือผู้ประกอบวิชาชีพ (Professional sector) สำหรับสังคมไทยก็ยังพบ
ลักษณะการผสมผสานการดูแลสุขภาพเช่นนี้ในปัจจุบัน โดยเฉพาะการเจ็บ
ป่วยเฉพาะท้องถิ่นที่มีการอธิบายการเจ็บป่วย บนวิถีความเชื่อ ประเพณี
วัฒนธรรม (Culture - bounded Syndromes) เช่น การดูแล การผิดสำแดง
ลมผิดเดือน ฯลฯ หรือความเจ็บป่วยเรื้อรัง เบาหวาน มะเร็ง ภูมิแพ้ เป็นต้น
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
20 เรื่อง

6 เรื่อง

การนวดพื้นบ้าน*
  แนวคิดโรคและสาเหตุ
  การตรวจและเทคนิคการนวด
  ผลการนวด

การแพทย์พื้นบ้านแบบ
ประสบการณ์เชิงปฏิบัติ

78 เรื่อง

43 เรื่อง

การแพทย์พื้นบ้านแบบพิธีกรรม
/ศาสนา


ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน

116 เรื่อง

สถานะขององค์ความรู้
การแพทย์พื้นบ้านไทยในสังคมไทย

38 เรื่อง

พิธีกรรมที่มีความเชื่อแบบพุทธ-
พราหมณ์-ผี
หมอพิธีกรรมที่มีบทบาท
รักษาความเจ็บป่วย เสริมกำลังใจ
ความมั่นคงของชีวิต เสี่ยงทาย
และเสริมความสัมพันธ์ของสังคม
หมอพระและการดูแลผู้ป่วย
ด้านกาย-ใจ
การทำขวัญและคาถาอาคม

การใช้ยาสมุนไพรของประชาชน
  งานวิจัยแบบสำรวจ
  ยาดองเหล้า สูตรยาดองเหล้า 91 สูตร/พฤติกรรมการบริโภค
  ประชาชนซื้อยารักษาอาการปวดเมื่อย อาการเลือดลม ร้อนใน โรคสตรี กินผิด
  และยาบำรุง
  การปลอมปน/ปนเปื้อนของยา
ด้านอาหารธรรมชาติ/อาหารพื้นบ้าน
  งานส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ
10 เรื่อง
22 เรื่อง
6 เรื่อง
  การสำรวจอนุกรมวิธานผักพื้นบ้าน สมุนไพร แมลง
  และเห็ด>100 ชนิด/ภูมิภาค
  การแสวงหาการบริโภค การคงอยู่ของอาหารธรรมชาติและปัจจัย
ภูมิปัญญาด้านสุขภาพพื้นบ้าน
  ที่เกี่ยวข้อง
  คุณค่าด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ และพิธีกรรม

แผนภาพ 2  :  สถานะขององค์ความรู้การแพทย์พื้นบ้านในสังคมไทย

หมอพื้นบ้าน/ยาสมุนไพรพื้นบ้าน*
  การใช้ยาสมุนไพรของหมอพื้นบ้าน/ชุมชน
  การศึกษาหมอ/ผู้ป่วย
  การศึกษายาสมุนไพรแบบวิทยาศาสตร์
  หมองู 5 เรื่อง / หมอกระดูก 4 เรื่อง

19 เรื่อง

การแพทย์พื้นบ้าน*
  ศึกษาตำรา/คัมภีร์/สังคายนา
  สำรวจและการกระจายตัวของหมอพื้นบ้าน
  แนวคิด การวินิจฉัย-รักษาโรค
  บทบาทและการปรับบทบาทและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
  แนวทาง/แนวคิดการพัฒนา

28 เรื่อง

ด้านสุขภาพชาติพันธุ์
  งานวิจัยเชิงคุณภาพ (ภาคเหนือ/อีสาน)
  ระบบคิดแบบแผนชีวิตและการดูแลสุขภาพตนเอง
  ภูมิปัญญาการรักษาโรค
  การดูแลหญิงตั้งครรภ์/หลังคลอด

การดูแลสุขภาพหญิงมีครรภ์และหลังคลอด*
  งานวิจัยเชิงคุณภาพและผสมผสาน/ปฏิบัติการ
  แรงจูงใจ ความเชื่อและแบบแผนการดูแลสุขภาพตนเองของ
  หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
  การสืบทอดภูมิปัญญาโดยปรับเปลี่ยนความรู้
  +พฤติกรรม

3. สถานะองค์ความรู้และศักยภาพของภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพ / การแพทย์พื้นบ้าน 

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื
ระบบการส่งต่อ

โรงเรียน (การสืบทอดองค์ความรูการเรียนรู)้ 
้

การฟื้นฟูและส่งเสริมการดูแลสุขภาพ
ในระดับชุมชน
(Community care)

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข

แผนภาพ  3  :  การส่งเสริมและพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน

แหล่งสมุนไพร / ฐานทรัพยากรชุมชน

การสังคายนาองค์ความรู
้

การบูรณาการแพทย์พื้นบ้าน
ในระบบบริการสุขภาพภาครัฐ
(Integration in Primarycare)

การส่งเสริมและพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพด้วยภูมิปัญญา
การแพทย์พื้นบ้าน

การรับรองสิทธิหมอพืนบ้าน
้

4.

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื
คูมอการดูแลสุขภาพด้วย
่ื

การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

5. ชุดโครงการสำนักการแพทย์พนบ้านไทย ปีงบประมาณ 2553 มีดงนี้ คือ
ื้
ั
	 โครงการส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน ใน
ระบบสุขภาพชุมชน และระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ ประกอบด้วย
โครงการย่อย  8  โครงการ
	 1. โครงการจัดการความรู้และพัฒนากระบวนการแม่และเด็กด้วย


ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
	 2. โครงการพัฒนาต้นแบบการดูแลสุขภาพชุมชนด้วยสมุนไพรพื้นบ้าน
และอาหารท้องถิ่นบนฐานแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
	 3. โครงการศึกษาและพัฒนาศักยภาพหมอพื้นบ้านในการรักษาผู้ป่วย
กระดู ก หั ก ช่ ว งการศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ ใ นการผสมผสานความร่ ว มมื อ


การรักษากระดูกหักระหว่างหมอพื้นบ้านกับสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ
	 4. โครงการจัดการความรู้และพัฒนากระบวนการรักษาสัตว์พิษกัดและ
งูกัดแบบผสมผสานระหว่างหมอพื้นบ้านกับสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ
	 5. โครงการศึ ก ษาและพั ฒ นาตำรั บ ยาสมุ นไพรพื้ น บ้ า นและการใช้


ภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้านในการรักษาผู้ป่วยมะเร็ง
	 6. โครงการจัดการความรู้และพัฒนากระบวนการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน
ด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
	 7. โครงการจัดการความรู้และพัฒนากระบวนการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์  
อัมพาตด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน
	 8. โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรของสำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย
ประจำปี 2553

กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

Contenu connexe

Tendances

ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณUtai Sukviwatsirikul
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPrachaya Sriswang
 
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุอยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุVorawut Wongumpornpinit
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆLooktan Kp
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนUtai Sukviwatsirikul
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางคัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางKat Suksrikong
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุUtai Sukviwatsirikul
 
Guideline for using herbal medicine substituent in government hospital แนวทาง...
Guideline for using herbal medicine substituent in government hospital แนวทาง...Guideline for using herbal medicine substituent in government hospital แนวทาง...
Guideline for using herbal medicine substituent in government hospital แนวทาง...Vorawut Wongumpornpinit
 
ครอบครัวอบอุ่น
ครอบครัวอบอุ่นครอบครัวอบอุ่น
ครอบครัวอบอุ่นBeerza Kub
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคNinnin Ja
 
พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556
พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556
พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556อินทนนท์ อินทนพ
 
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆวัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆUtai Sukviwatsirikul
 
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554Utai Sukviwatsirikul
 
ขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทย
ขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทยขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทย
ขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทยVorawut Wongumpornpinit
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการพัน พัน
 

Tendances (20)

ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุอยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางคัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
Guideline for using herbal medicine substituent in government hospital แนวทาง...
Guideline for using herbal medicine substituent in government hospital แนวทาง...Guideline for using herbal medicine substituent in government hospital แนวทาง...
Guideline for using herbal medicine substituent in government hospital แนวทาง...
 
ครอบครัวอบอุ่น
ครอบครัวอบอุ่นครอบครัวอบอุ่น
ครอบครัวอบอุ่น
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
 
พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556
พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556
พรบ.วิชาชีพการสาธารณสุขชุมชน 2556
 
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆวัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
วัคซีนป้องกันโรคชนิดต่างๆ
 
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
Cpg osteoarthritis or osteoarthrosis 2554
 
ขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทย
ขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทยขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทย
ขั้นตอนการวิจัยการแพทย์แผนไทย ข้อเสนอและสถานการณ์การวิจัยด้านการแพทย์แผนไทย
 
อาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการอาหารและโภชนาการ
อาหารและโภชนาการ
 

En vedette

เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )Utai Sukviwatsirikul
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยsasimaphon2539
 
ติวสมุนไพรสด
ติวสมุนไพรสดติวสมุนไพรสด
ติวสมุนไพรสดMa' Nor
 
Ebooksint ตำรายาสมุนไพรไทย
Ebooksint ตำรายาสมุนไพรไทยEbooksint ตำรายาสมุนไพรไทย
Ebooksint ตำรายาสมุนไพรไทยRose Banioki
 
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
 ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น  ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น Utai Sukviwatsirikul
 
ตำราวิชาการสุคนธบำบัด
ตำราวิชาการสุคนธบำบัดตำราวิชาการสุคนธบำบัด
ตำราวิชาการสุคนธบำบัดNoiRr DaRk
 
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้งติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้งMa' Nor
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย porntiwa karndon
 
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยguesta30f391
 
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...Vorawut Wongumpornpinit
 
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมสมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมguestefb2bbf
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1Utai Sukviwatsirikul
 
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนานยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนานUdomsak Chundang
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2 ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2 Utai Sukviwatsirikul
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3 ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3 Utai Sukviwatsirikul
 
สมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือนสมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือนguest0299389a
 
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการ แพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการแพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการแพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการ แพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...Dr.Suradet Chawadet
 
งานนำเสนอ1สมุนไพในท้องถิ่น
งานนำเสนอ1สมุนไพในท้องถิ่นงานนำเสนอ1สมุนไพในท้องถิ่น
งานนำเสนอ1สมุนไพในท้องถิ่นsanya111
 
Cpg นวดไทย
Cpg นวดไทยCpg นวดไทย
Cpg นวดไทยChio Naja
 

En vedette (20)

เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
ติวสมุนไพรสด
ติวสมุนไพรสดติวสมุนไพรสด
ติวสมุนไพรสด
 
Ebooksint ตำรายาสมุนไพรไทย
Ebooksint ตำรายาสมุนไพรไทยEbooksint ตำรายาสมุนไพรไทย
Ebooksint ตำรายาสมุนไพรไทย
 
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
 ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น  ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
 
ตำราวิชาการสุคนธบำบัด
ตำราวิชาการสุคนธบำบัดตำราวิชาการสุคนธบำบัด
ตำราวิชาการสุคนธบำบัด
 
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้งติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
 
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
หนังสือ ข้อมูลสมุนไพรจีน (เมชฌ สอดส่องกฤษ พ.ศ. 2558) สำนักงานส่งเสริมบริหารงา...
 
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมสมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 1
 
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนานยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2 ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3 ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
สมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือนสมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือน
 
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการ แพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการแพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการแพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการ แพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
 
งานนำเสนอ1สมุนไพในท้องถิ่น
งานนำเสนอ1สมุนไพในท้องถิ่นงานนำเสนอ1สมุนไพในท้องถิ่น
งานนำเสนอ1สมุนไพในท้องถิ่น
 
Cpg นวดไทย
Cpg นวดไทยCpg นวดไทย
Cpg นวดไทย
 

Similaire à คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557Utai Sukviwatsirikul
 
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...Pattie Pattie
 
ปลัดสธ. วางระบบDhs
ปลัดสธ. วางระบบDhsปลัดสธ. วางระบบDhs
ปลัดสธ. วางระบบDhsCddthai Thailand
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยTanawat Sudsuk
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบUtai Sukviwatsirikul
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55sivapong klongpanich
 
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขโปรตอน บรรณารักษ์
 
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospitalDMS Library
 
แนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วนแนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วนUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนCAPD AngThong
 
นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.
นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.
นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.Dr.Suradet Chawadet
 
บริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิบริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิSunisa Sudsawang
 
Medhub 3 4 52 anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranongMedhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52 anchana na ranongNithimar Or
 

Similaire à คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (20)

โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
NHSO annual report_2557
NHSO annual report_2557NHSO annual report_2557
NHSO annual report_2557
 
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  รายงานประจำปี 2557
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ รายงานประจำปี 2557
 
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
แถลงข่าว โครงการศึกษาดูงานการจัดระบบการเรียนรู้ โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน มหาวิทยาลั...
 
ปลัดสธ. วางระบบDhs
ปลัดสธ. วางระบบDhsปลัดสธ. วางระบบDhs
ปลัดสธ. วางระบบDhs
 
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทยแผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
แผนปฎิบัติราชการ 2556 2559 กรมการแพทย์แผนไทย
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบแนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเสพยาสูบ
 
หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55หลักสูตร Mini MM in Health 55
หลักสูตร Mini MM in Health 55
 
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขรายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
รายงานวิจัยการจัดบริการสุขภาพผู้สูงอายุของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
 
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
์Needs of Elderly long term care medical services for hospital
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
แนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วนแนวทางการรักษาโรคอ้วน
แนวทางการรักษาโรคอ้วน
 
Cpg obesity in children
Cpg obesity in childrenCpg obesity in children
Cpg obesity in children
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชนแนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในชุมชน
 
9816 20607-1-sm
9816 20607-1-sm9816 20607-1-sm
9816 20607-1-sm
 
นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.
นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.
นโยบายการดำเนินงาน รมต.สธ.
 
บริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิบริการปฐมภูมิ
บริการปฐมภูมิ
 
2011 drug system_report
2011 drug system_report2011 drug system_report
2011 drug system_report
 
Medhub 3 4 52 anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranongMedhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52 anchana na ranong
 
Thai2009 2
Thai2009 2Thai2009 2
Thai2009 2
 

Plus de Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Plus de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

  • 2. คูมอการดูแลสุขภาพด้วย ่ื การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก คำนำ การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เป็นศาสตร์ที่กำลังได้รับ ความสนใจและเป็นศาสตร์ททาทายสำหรับบุคลากรด้านการสาธารณสุขอย่างมาก ี่ ้ โดยเฉพาะอย่างยิงเมือมีการนำศาสตร์นเข้าสูระบบบริการสุขภาพในสถานบริการ ่ ่ ี้ ่ สาธารณสุขของรัฐทั่วประเทศ เนื่องจากองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พนบ้านไทย ถูกละเลยในการให้บริการภาครัฐมานานนับร้อยปี การนำ ื้ ไปใช้ยังคงยึดหลักการสั่งสมจากประสบการณ์ของบรรพบุรุษเป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากการศึกษาวิจัยด้านวิชาการต้องใช้เวลาการศึกษานานพอสมควรใน การหาข้อสรุปยืนยันด้านประสิทธิผลและความปลอดภัย รวมถึงการนำไปใช้ ประโยชน์ แม้กระทังศาสตร์ดานการแพทย์ทางเลือกก็เช่นกัน ต้องมีการพิสจน์ ่ ้ ู ประสิทธิผลและความปลอดภัยเช่นกัน จึงเป็นเหตุให้มีคำถามเกี่ยวกับศาสตร์ ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกอยู่เสมอ กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เล็งเห็นความสำคัญ ของบุคลากรด้านสาธารณสุข ซึ่งถือว่าเป็นกำลังสำคัญอย่างยิ่ง ในการนำ องค์ความรู้เกี่ยวกับศาสตร์ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เข้าสู่ระบบสุขภาพในสถานพยาบาล จึงได้จัดทำคู่มือการดูแลสุขภาพด้วย การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกเล่มนี้ขึ้น เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ ที่น่าสนใจแก่บุคลากรสาธารณสุข หวังเป็นอย่างยิ่งว่า สาระภายในเล่มนี้จะเป็นประโยชน์แก่บุคลากรด้าน สาธารณสุขที่สนใจงานด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก และ สามารถนำไปใช้ประโยชน์เพื่อการดูแลสุขภาพให้เป็นอีกทางเลือกหนึ่งของ ประชาชนต่อไป แพทย์หญิงวิลาวัณย์ จึงประเสริฐ อธิบดีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
  • 3. คูมอการดูแลสุขภาพด้วย ่ื การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข แพทย์หญิงวิลาวัณย์ จึงประเสริฐ อธิบดีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก น.พ.ประพจน์ เภตรากาศ นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ (ด้านสาธารณสุข สาขาพัฒนาระบบ บริหารทางการแพทย์) น.พ.สญชัย วัฒนา รองอธิบดี กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
  • 4. คูมอการดูแลสุขภาพด้วย ่ื การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก พระโอวาท สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เนื่ อ งในโอกาสที่ ฯพณฯ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงสาธารณสุ ข นายแพทย์อุดมศิลป์ ศรีแสงนาม ได้นำคณะบุคคลซึ่งเป็นผู้บริหารระดับสูง ของกระทรวงสาธารณสุขและผู้แทนจากมูลนิธิฯ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับ งานการแพทย์แผนไทยเข้าเฝ้า สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก เมื่อวันที่ 1 กันยายน 2536 ณ วัดบวรนิเวศวิหาร ได้พระราชทานความคิดเห็นต่อการพัฒนาการแพทย์แผนไทย โดยสรุปดังนี้ 1. ขอให้ดำเนินการพัฒนาการแพทย์แผนไทยอย่างต่อเนื่อง 2. ให้ใช้วทยาศาสตร์สมัยใหม่ในการพัฒนาการแพทย์แผนไทยให้สะดวก ิ ทันสมัย และเป็นที่ยอมรับแพร่หลายโดยทั่วกัน 3. ในการตรวจวินิจฉัยด้วยการแพทย์แผนไทย ควรให้ประยุกต์ใช้ ข้อมูลการตรวจจากอุปกรณ์และเครื่องมือของแผนปัจจุบันประกอบด้วย 4. สถาบันสงฆ์ ยินดีให้ความสนับสนุน การพัฒนาการแพทย์แผนไทย คัดลอกจาก สรุปรายงานการเข้าเฝ้าถวายรายงาน เรื่อง การพัฒนาการแพทย์แผนไทย เอกสารประกอบการจัดงานพิธีเปิดสถาบันการแพทย์แผนไทยและการเสวนาทางวิชาการ วันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2536 กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
  • 5. คูมอการดูแลสุขภาพด้วย ่ื การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก พระราโชวาท สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เนื่ อ งในโอกาสที่ ฯพณฯ รั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงสาธารณสุ ข นายแพทย์อุดมศิลป์ ศรีแสงนาม ได้นำคณะบุคคลซึ่งเป็นผู้บริหารระดับสูง ของกระทรวงสาธารณสุข รวมทั้งผู้อำนวยการสถาบันการแพทย์แผนไทย แพทย์หญิงเพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ และผู้แทนจากมูลนิธิฯ และหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องกับงานการแพทย์แผนไทย เข้าเฝ้าสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เมื่อวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2536 ณ ตำหนักจิตรลดา- รโหฐาน เพือถวายรายงานเรืองการพัฒนาการแพทย์แผนไทย สมเด็จพระเทพ ่ ่ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้พระราชทานความคิดเห็นต่อการพัฒนา การแพทย์แผนไทย โดยสรุปดังนี้ 1. แนวคิดการดูแลสุขภาพตนเอง 1.1 การที่ จ ะให้ มี สุ ข ภาพดี ควรคำนึ ง ถึ ง การปรั บ วิ ถี ชี วิ ต ใน พฤติกรรมต่าง ๆ ตามแบบแผนการใช้ชีวิตประจำวัน อันจะส่งผลต่อการ ป้องกันไม่ให้เกิดการเจ็บป่วย และทำให้มีสุขภาพดี พฤติกรรมดังกล่าว ได้แก่ การออกกำลังกาย การพักผ่อน การรับประทานอาหารและการทำงาน 1.2 การดูแลสุขภาพของตนเองเมื่อเจ็บป่วยเล็ก ๆ น้อย ๆ นั้น ถ้ า เราสามารถส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารดู แ ลรั ก ษาตนเอง โดยใช้ ย าสมุ นไพรหรื อ การนวดไทย ก็จะทำให้ประหยัดรายจ่ายและยังเป็นการพึ่งตนเองได้ด้วย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
  • 6. คูมอการดูแลสุขภาพด้วย ่ื การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 2. ความคิดเห็นเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทย 2.1 การถ่ายทอดการแพทย์แผนไทยนั้น ครูแพทย์แผนโบราณ จะต้องมีการคัดเลือกคุณสมบัติของผู้เรียนคือ ต้องเป็นผู้มีความซื่อสัตย์และ มีคณธรรม (พระองค์รบสังว่า มีญาติผใหญ่ชวนพระองค์เรียนการแพทย์แผนไทย) ุ ั ่ ู้ 2.2 การประยุกต์เทคโนโลยีให้เหมาะสมกับท้องถิน เรืองเทคโนโลยี ่ ่ ทางการแพทย์ตะวันตกเป็นสิงทีทนสมัยและมีคณภาพ แต่ราคาแพงเพราะฉะนัน ่ ่ั ุ ้ ถ้าเราสามารถประยุกต์หรือเลียนแบบเทคโนโลยีตางๆ ให้เหมาะสมกับประเทศ ่ ของเรา ก็น่าจะช่วยลดต้นทุนการผลิตและประหยัดค่าใช้จ่ายในการให้บริการ ผูปวยได้เป็นอย่างดี เช่น การเลียนแบบการประดิษฐ์เตียงสำหรับผูปวยอัมพาต ้ ่ ้ ่ ซึ่งพบว่าได้ผลดีและประหยัด 2.3 คุณสมบัติของยาไทย ยาสมุนไพรบางชนิดสามารถใช้ได้ผลดี กับคนหนึ่ง แต่อาจใช้ไม่ได้ผลกับอีกคนหนึ่ง ดังนั้นการจะใช้ยาสมุนไพรจึงต้อง คำนึงถึงลักษณะเช่นนี้ของยาไทย 3. ข้อจำกัด / ปัญหาของการแพทย์แผนไทย 3.1 การนำยาแผนปัจจุบันเข้าไปผสมในตำรับยาแผนโบราณ เช่น ผสม Steroid ในยาลูกกลอนนัน พระองค์รบสังเพิมเติมว่า “เคยเอายาสมุนไพร ้ ั ่ ่ ที่เคยได้มาและส่งตรวจ พบว่ามี Steroid ผสมในยาสมุนไพรด้วย” 3.2 การรักษากระดูกแบบพืนบ้าน เกิดผลแทรกซ้อนอันไม่พงประสงค์ ้ ึ เช่น อวัยวะนั้นเสียรูปไป คัดลอกจาก สรุปรายงานการเข้าเฝ้าถวายรายงาน เรื่อง การพัฒนาการแพทย์แผนไทย เอกสารประกอบการจัดงานพิธีเปิดสถาบันการแพทย์แผนไทยและการเสวนาทางวิชาการ วันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2536 กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
  • 7. นโยบายกระทรวงสาธารณสุข 1. ส่งเสริมบทบาทอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน นโยบาย ประกอบด้วย (อสม.) ทั่ ว ประเทศให้ ป ฏิ บั ติ ง านเชิ ง รุ กในการส่ ง เสริ ม 1. นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก สุ ข ภาพในท้ อ งถิ่ น และชุ ม ชน การดู แ ลเด็ ก ผู้ สู ง อายุ 2. นโยบายความมั่นคงของรัฐ คนพิการ การดูแลผู้ป่วยในโรงพยาบาลและการเฝ้าระวัง 3. นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต โรคในชุมชน โดยจัดให้มีสวัสดิการค่าตอบแทนให้แก่ อสม. 4. นโยบายเศรษฐกิจ 5. นโยบายที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อสร้างแรงจูงใจหนุนเสริมให้ปฏิบัติงานได้อย่างคล่องตัว 6. นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจย และนวัตกรรม และมีประสิทธิภาพ ั 7. นโยบายการต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ 2. ปรับปรุงระบบบริการด้านสาธารณสุข โดยลงทุนพัฒนา 8. นโยบายการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ระบบบริการสุขภาพของภาครัฐทุกระดับให้ได้มาตรฐาน ยกระดับสถานีอนามัยเป็นโรงพยาบาลสร้างเสริมสุขภาพ นโยบายที่เกี่ยวข้องกับกระทรวงสาธารณสุข ได้แก่ ประจำตำบล นโยบายสังคมและคุณภาพชีวิต ประกอบด้วย ิ ่ 1. สนั บ สนุ น การดำเนิ น การตามแนวทางของกฎหมาย 3. เปิดโอกาสให้คลินกเข้าเป็นเครือข่ายของระบบบริการ เพือ สุขภาพแห่งชาติ โดยเร่งดำเนินมาตรการสร้างเสริมสุข ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการในโรคพื้นฐานได้ง่ายขึ้น ภาพและลดปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพและการเจ็บป่วย 4. พัฒนาระบบบริการสาธารณสุขโดยใช้บัตรประชาชนใน เรื้อรัง โดยประสานความร่วมมือและการมีส่วนร่วมจาก การเข้ารับบริการ ภาคีพัฒนาในสาขาต่างๆ ตลอดจนภาคเอกชน องค์กร 5. ลงทุ น ผลิ ต และพั ฒ นาบุ ค ลากรทางการแพทย์ แ ละ ปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน และอาสาสมัครสาธารณสุข สาธารณสุขควบคู่ไปกับการสร้างขวัญกำลังใจให้มีความ ร่วมสร้างความรู้ ความเข้าใจ สร้างแรงจูงใจ รณรงค์ให้ ก้าวหน้าในอาชีพ นโยบายรัฐบาล (แถลงต่อรัฐสภา วันที่ 29 ธันวาคม 2551) นโยบายด้านสาธารณสุข 1. ให้ ยึ ด นโยบายตามแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 พ.ศ. 2550 - 2554 และ นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ในการจัด ทำโครงการคำของบประมาณ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 - 2555 2. สนับสนุนการศึกษาวิจัยให้ครอบคลุมทั้ง การวิจัย พัฒนาองค์ความรู้ การวิจัยพัฒนากระบวนการ, การถ่ายทอดองค์ความรู้ การพัฒนาบุคลากร และ การเผยแพร่ความรู้และข้อมูล จัดทำเป็น 3 ภาษา คือ ภาษาไทย อังกฤษ และจีน 3. ให้ความสำคัญกับการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับโรคทีเ่ ป็น ปัญหาสาธารณสุขอันดับต้นๆ โดยเฉพาะกลุ่มโรคไม่ ติ ด ต่ อ เช่ น โรคของกล้ า มเนื้ อ กระดู ก และ โครงสร้าง เบาหวาน ความดันโลหิตสูง อัมพฤกษ์ อัมพาต และมะเร็ง เป็นต้น 4. การบูรณาการโครงการภายในกรม เพื่อให้เกิด เป็นภาพรวมที่ชัดเจนในการนำไปใช้ประโยชน์ นโยบายกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก คูมอการดูแลสุขภาพด้วย ่ื กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
  • 8. เกิดการพัฒนาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอนามัย รวมทั้งส่งเสริมบทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มี ส่วนร่วมในการผลิตและพัฒนาบุคลากรทางการแพทย์และ สาธารณสุข โดยจัดสรรทุนให้เพื่อกลับมาทำงานในท้องถิ่น 2. สร้างขีดความสามารถในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม โรค วินิจฉัย และดูแลรักษาพยาบาลอย่างเป็นระบบ เชื่อมโยงกับทุกภาคส่วน ทุกสาขาที่เกี่ยวข้อง เพื่อป้องกัน ปัญหาการป่วยและตายด้วยโรคอุบัติใหม่ที่รวมถึงโรคที่มี การกลายพันธุ์เป็นสายพันธุ์ใหม่ และโรคระบาดซ้ำในคน อย่างทันต่อสถานการณ์ 3. ปรับปรุงระบบบริการด้านสาธารณสุข โดยลงทุนพัฒนา ระบบบริการสุขภาพของภาครัฐในทุกระดับให้ได้มาตรฐาน ยกระดับสถานีอนามัยเป็นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ประจำตำบล และพัฒนาระบบเครือข่ายการส่งต่อในทุก ระดับให้มีประสิทธิภาพ เชื่อมโยงกันทั้งในภาครัฐและภาค เอกชน เพื่อให้ระบบหลักประกันสุขภาพมีคุณภาพอย่าง เพียงพอ ทั่วถึง มีทางเลือกหลากหลายรูปแบบ และ ครอบคลุมได้ถงการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลเอกชน ึ ที่เข้าร่วมโครงการ นโยบายรัฐบาล (แถลงต่อรัฐสภา วันที่ 29 ธันวาคม 2551) นโยบายกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก 6. ส่งเสริมบทบาทองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีส่วนร่วม 5. การสร้างเครือข่ายด้านการแพทย์แผนไทยและ ในการผลิ ต และพั ฒ นาบุ ค ลากรทางการแพทย์ แ ละ การแพทย์ทางเลือกในทุกระดับ ทั้งในประเทศและ สาธารณสุ ข โดยจั ด สรรทุ น ให้ เ พื่ อ กลั บ มาทำงานใน ต่างประเทศ ท้องถิ่น 6. การส่งเสริมให้มบคลากรด้านการแพทย์แผนไทย ีุ 7. ผลักดันการขับเคลื่อนให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางด้าน และการแพทย์ ท างเลื อ กในระบบบริ ก ารของ สุขภาพและการรักษาพยาบาลในระดับนานาชาติ โดยมี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบล ยุ ท ธศาสตร์ ก ารบริ ห ารจั ด การอย่ า งมี ส่ ว นร่ ว ม มี ก าร 7. การศึกษาทบทวนกฎหมายและกฎระเบียบที่ ประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ เกี่ ย วข้ อ งเพื่ อให้ ก ารทำงานมี ค วามคล่ อ งตั ว มี และเอกชน รวมทั้งปรับปรุงกฎ ระเบียบ มาตรฐาน มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 8. รณรงค์ให้เกิดการพัฒนาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 8. การเร่งจัดระบบรวบรวมข้อมูลการแพทย์แผนไทย สุขภาพอนามัย เช่น อาหารปลอดภัย ส้วมสาธารณะ การแพทย์พนบ้าน และการแพทย์ทางเลือกครอบคลุม ื้ โดยเฉพาะสำหรั บ นั ก เรี ย นโดยประสานความร่ ว มมื อ กั บ ทั้ งข้ อ มูล บุค ลากร ตำรับตำรา สมุนไพร และ กระทรวงศึกษาธิการ อุปกรณ์ทางการแพทย์ในอดีต ครอบคลุมทุกพื้นที่ 9. สร้างความสามารถในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค ทั่วไทย เชื่อมโยงกับทุกภาคส่วน เพื่อป้องกันปัญหาการป่วยและ 9. การเชิญผู้รู้ต่างๆมาร่วมในการวิเคราะห์และ ควบคุมโรคอุบัติใหม่ที่รวมถึงโรคที่มีการกลายพันธุ์ และ สังคยนา เพื่อนำความรู้ต่างๆ ไปใช้ประโยชน์อย่าง เหมาะสม โรคระบาดซ้ำในคนอย่างทันต่อเหตุการณ์ นโยบายกระทรวงสาธารณสุข การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก คูมอการดูแลสุขภาพด้วย ่ื กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
  • 9. 10. สร้างความสามารถในการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมโรค เชื่ อ มโยงกั บ ทุ ก ภาคส่ ว น เพื่ อ ป้ อ งกั น ปั ญ หาการป่ ว ย และควบคุ มโรคอุ บั ติ ใ หม่ ที่ ร วมถึ งโรคที่ มี ก ารกลายพั น ธุ์ และโรคระบาดซ้ำในคนอย่างทันต่อเหตุการณ์ 11. สนับสนุนโรงพยาบาลในเขตพื้นที่พิเศษ ใช้การบริหาร ในรูปแบบองค์การมหาชน 12. สนั บ สนุ น การดำเนิ น การตามแนวทางของกฎหมาย สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ โดยมี ส่ ว นร่ ว มจากการพั ฒ นาสาขา ต่างๆ ตลอดจนภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ทุกภาค และอาสาสมัครสาธารณสุข 4. ลงทุ น ผลิ ต และพั ฒ นาบุ ค ลากรทางการแพทย์ แ ละ สาธารณสุข ควบคู่กับการสร้างขวัญกำลังใจให้มีความ ก้าวหน้าในอาชีพ มีการปรับปรุงกฎระเบียบเพือให้มรายได้ ่ ี จากเงินเดือนและค่าตอบแทนอื่นๆ ที่เหมาะสม เป็นธรรม รวมทั้งปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการประกอบอาชีพ ด้านการแพทย์ มีการกระจายบุคลากรทางการแพทย์และ สาธารณสุขอย่างสอดคล้องกับความต้องการของพื้นที่ ตลอดจนการลงทุนพัฒนาและเชือมโยงระบบข้อมูลเทคโนโลยี ่ สารสนเทศด้านสุขภาพให้ทันสมัย มีมาตรฐาน สามารถใช้ ประโยชน์ร่วมกันได้อย่างคุ้มค่า 5. ผลักดันการขับเคลื่อนให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางด้าน สุขภาพและการรักษาพยาบาลในระดับนานาชาติ โดยมี ยุ ท ธศาสตร์ ก ารบริ ห ารจั ด การอย่ า งมี ส่ ว นร่ ว ม มี ก าร ประสานความร่วมมือกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง มีการใช้ ทรัพยากรทางการแพทย์ร่วมกันระหว่างภาครัฐและเอกชน รวมทั้งปรับปรุงกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง นโยบายกระทรวงสาธารณสุข นโยบายรัฐบาล (แถลงต่อรัฐสภา วันที่ 29 ธันวาคม 2551) นโยบายกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก คูมอการดูแลสุขภาพด้วย ่ื กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
  • 10. คูมอการดูแลสุขภาพด้วย ่ื การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประวัติการจัดตั้งกรม การแพทย์ แ ผนไทยเป็ น การแพทย์ ที่ ดู แ ลสุ ข ภาพประชาชนมานาน นับพันปี จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์มีการระบุถึงพันธุ์พืชสมุนไพรใน สมัยพุทธกาลหลายชนิด เช่น กุ่มบก แก่นจันทน์แดง แก่นจันทน์เหลือง ชะเอม ฯลฯ นอกจากนั้นยังพบในพระไตรปิฎกระบุว่า พระพุทธเจ้าทรง อนุญาตให้พระภิกษุรักษาโรคด้วยสมุนไพรจากพืชได้แก่ ขมิ้น ขิง ว่านน้ำ ว่านเปราะ ข่า แห้วหมู และแฝก จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ดังกล่าว เป็นสิ่งยืนยันว่า การใช้สมุนไพรในการรักษาโรคมีมาช้านาน ทั้งที่มีบันทึกไว้ เป็นหลักฐาน และไม่มบนทึกอีกมากมาย ดังนันการทีจะนำงานการแพทย์แผนไทย ีั ้ ่ และสมุนไพร มาพัฒนาปรับใช้กบสุขภาพคนไทย จึงเป็นประเด็นหนึงทีนาสนใจ ั ่ ่ ่ ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ แต่ด้วยองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย ที่ขาดการพัฒนามาเป็นเวลานาน จึงทำให้การแพทย์แผนไทยถูกลดบทบาทลง กอปรกับการแพทย์แผนตะวันตกได้เข้ามามีบทบาทในการดูแลสุขภาพของ คนไทย ยิ่งทำให้การพัฒนางานการแพทย์แผนไทยชะงักงันมากขึ้น จนกระทั่งในปี 2520 ได้มีการจัดประชุมขององค์การอนามัยโลก ณ ประเทศรัสเซีย ผลของการประชุมครังนันได้กำหนดให้มการพัฒนาภูมปญญาไทย ้ ้ ี ิั ในงานการสาธารณสุขมูลฐานเพื่อสุขภาพดีถ้วนหน้า ปี 2543 จากผลการประชุ ม ขององค์ ก ารอนามั ย โลกดั ง กล่ า ว ทำให้ การแพทย์แผนไทย ถูกหยิบยกขึนมาเป็นประเด็นทีสำคัญต่อการพัฒนาอีกครังหนึง ้ ่ ้ ่ และรัฐบาลได้กำหนดแผนการดำเนินงานให้มการพัฒนางานด้านสมุนไพรตังแต่ ี ้ ปี 2520 เป็นต้นมา จนกระทังในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 7 ่ ได้ระบุให้มีการส่งเสริมสุขภาพและจะต้องส่งเสริมให้มีการดำเนินการพัฒนา ภูมปญญาทางด้านการรักษาพยาบาลแบบพืนบ้าน เช่น แพทย์แผนไทย สมุนไพร ิั ้ กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
  • 11. คูมอการดูแลสุขภาพด้วย ่ื การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก และการนวด ประสานเข้ากับแพทย์แผนปัจจุบันและในแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติฉบับที่ 8 ได้ระบุในหัวข้อยุทธวิธีการเพิ่มประสิทธิภาพ และความสามารถในการเข้าถึงระบบบริการสาธารณสุข “ให้สนับสนุนการ พั ฒ นาเภสั ช กรรมและการแพทย์ แ ผนไทยอย่ า งจริ ง จั ง โดยสนั บ สนุ น งบประมาณปีละไม่ต่ำกว่าร้อยละ 2 ของงบประมาณด้านสุขภาพ” ในระยะ 10 ปี ที่ ผ่ า นมากระทรวงสาธารณสุ ขได้ มี ก ารพยายาม พัฒนาการแพทย์แผนไทยทังระบบ โดยในปี พ.ศ. 2532 กระทรวงสาธารณสุข ้ จากมติเห็นชอบของคณะรัฐมนตรีได้จัดตั้ง “ศูนย์ประสานงานการแพทย์และ เภสัชกรรมแผนไทย” ขึ้นเป็นองค์กรประสานการพัฒนาการแพทย์แผนไทย ภายในกองแผนงาน สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข โดยมีหน้าที่ ประสานงานการพัฒนาและดูแลโครงการวิจัยเพื่อพัฒนาการแพทย์แผนไทย แต่ด้วยความจำกัดของขนาดและโครงสร้างขององค์กร ตลอดจนความจำกัด ด้านงบประมาณทำให้องค์กร มิอาจรองรับการพัฒนาการแพทย์แผนไทยได้ อย่างเต็มที่ ดั ง นั้ น กระทรวงสาธารณสุ ข จึ ง ได้ มี ด ำริ ใ นการจั ด ตั้ ง “สถาบั น การแพทย์แผนไทย” เป็นหน่วยงานระดับกองขึ้น โดยให้สังกัดกรมการแพทย์ และโอนบทบาทหน้าที่และเจ้าหน้าที่ของ ศูนย์ประสานงานการแพทย์แผนไทย มาสั ง กั ด “สถาบั น การแพทย์ แ ผนไทย” และได้ ด ำเนิ น การจั ด ตั้ ง สถาบั น การแพทย์แผนไทยเป็นหน่วยงานภายในกรมการแพทย์อย่างไม่เป็นทางการ เมือวันที่ 24 มีนาคม พ.ศ. 2536 และจัดงานพิธเี ปิด “สถาบันการแพทย์แผนไทย” ่ อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2536 โดยใช้สำนักงาน โรงพยาบาลสงฆ์ เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร เป็นที่ปฏิบัติงาน ต่อมา นายแพทย์วทร แสงสิงแก้ว สมัยดำรงตำแหน่งอธิบดีกรมการแพทย์ ิุ ได้มีคำสั่งการจัดตั้ง สถาบันการแพทย์แผนไทย เป็นหน่วยงานระดับกอง กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
  • 12. คูมอการดูแลสุขภาพด้วย ่ื การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก มาสังกัดกรมการแพทย์ เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2536 ต่อมามีการ ผลักดัน พระราชบัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ซึ่งเริ่ม ตังแต่ปี พ.ศ. 2537 สำเร็จในปี พ.ศ. 2542 และประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษา ้ เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2542 เล่ม 110 ตอน 120 ซึ่งพระราชบัญญัติฯ ฉบับนี้ มาตรา 12 ได้กำหนดให้ สถาบันแพทย์แผนไทยสังกัดสำนักงานปลัด กระทรวงสาธารณสุขมีอำนาจหน้าที่ในการดำเนินการต่างๆ เกี่ยวกับการ คุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและสมุนไพรไทย ซึ่งได้ย้าย จากอาคารชัน 4 กรมการแพทย์ มาอยู่ ณ อาคารพิพธภัณฑ์และศูนย์ฝกอบรม ้ ิ ึ ด้านการแพทย์แผนไทย (อาคารหมอเพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ ในปัจจุบน) เมือเดือน ั ่ ธันวาคม 2544 จากนั้ น จุ ด ก้ า วกระโดดของสถาบั น การแพทย์ แ ผนไทย สู่ ก ารเป็ น กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก จึงเกิดขึ้นเมื่อผู้บริหาร เห็นความสำคัญของการแพทย์แผนไทย ประกอบกับมติคณะรัฐมนตรี เมือวันที ่ ่ 5 มีนาคม 2545 โดยรัฐบาลกำหนดความจำเป็นและขอบเขตเกียวกับการปฏิรป ่ ู ระบบราชการ จึงมีผลทำให้เกิดมีการปฏิรปโครงสร้างบทบาทภารกิจ อัตรากำลัง ู ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกขึ้น โดยโอนหน่วยงานสถาบัน การแพทย์แผนไทย ศูนย์ความร่วมมือการแพทย์ไทย-จีน และศูนย์ประสานงาน การแพทย์ทางเลือก มาสังกัดกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ที่ตั้งขึ้นใหม่ตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2545 และพระราชบั ญ ญั ติ กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.2545 (วันที่ 3 ตุลาคม 2545) และกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมพัฒนา การแพทย์ แ ผนไทยและการแพทย์ ท างเลื อ ก กระทรวงสาธารณสุ ข (วันที่ 9 ตุลาคม 2545) กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
  • 14. คูมอการดูแลสุขภาพด้วย ่ื การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก การแพทย์แผนไทย การแพทย์แผนไทย ความหมาย ตามพ.ร.บ.คุ้มครองและส่งเสริม ภูมปญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2542 หมายถึง กระบวนการทางการแพทย์ ิ ั เกี่ยวกับการตรวจ วินิจฉัย บำบัด รักษาหรือป้องกันโรค หรือการส่งเสริม ฟื้ น ฟู สุ ข ภาพของมนุ ษ ย์ ห รื อ สั ต ว์ การผดุ ง ครรภ์ การนวดไทย และให้ หมายความรวมถึงการเตรียมการผลิตยาแผนไทย และการประดิษฐ์อุปกรณ์ และเครื่องมือทางการแพทย์ ทั้งนี้โดยอาศัยความรู้หรือตำราที่ได้ถ่ายทอดและ พัฒนาสืบต่อกันมา “ตำราการแพทย์แผนไทย” หมายความว่า หลักวิชาการต่างๆ เกียวกับ ่ การแพทย์แผนไทยทั้งที่ได้บันทึกไว้ในสมุดไทย ใบลาน ศิลาจารึก หรือวัสดุ อื่นใดหรือที่มิได้มีการบันทึกไว้แต่เป็นการเรียนรู้หรือถ่ายทอดสืบต่อกันมา ไม่ว่าด้วยวิธีใด “ยาแผนไทย” หมายความว่า ยาที่ได้จากสมุนไพร โดยตรงหรือที่ได้ จากการผสม ปรุ ง หรื อ แปรสภาพสมุ นไพร และให้ ห มายความรวมถึ ง ยาแผนโบราณตามกฎหมายว่าด้วยยา “ตำรับยาไทย” หมายความว่า สูตรซึ่งระบุกรรมวิธีการผลิตและส่วน ประกอบสิ่งปรุงที่มียาแผนไทยรวมอยู่ด้วยไม่ว่าสิ่งปรุงนั้นจะมีรูปลักษณะใด “สมุนไพร” หมายความว่า พืช สัตว์ จุลชีพ ธาตุวถตุ สารสกัดดังเดิม ั ้ จากพืชหรือสัตว์ที่ใช้หรือแปรสภาพหรือผสมหรือปรุงเป็นยาหรืออาหารเพื่อ การตรวจวินิจฉัย บำบัด รักษา หรือป้องกันโรคหรือส่งเสริมสุขภาพร่างกาย ของมนุษย์หรือสัตว์ และให้ความหมายรวมถึงถิ่นกำเนิดหรือถิ่นที่อยู่ของ สิ่งดังกล่าวด้วย กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
  • 15. คูมอการดูแลสุขภาพด้วย ่ื การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก หลักการดูแลสุขภาพดีด้วยการแพทย์แผนไทย ทีอยูอาศัย ่ ่ กาลเวลา ๔ ๓ ฤดูกาล อายุ ๓ วัย ๓ ธาตุเจ้าเรือน ๔ นวด อบ ประคบ เสียสมดุล พฤติกรรม ๘ ยา อาหารปรับสมดุล คนไทยสุขภาพดี เมืองไทยสุขภาพดี เกิดโรค กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
  • 16. คูมอการดูแลสุขภาพด้วย ่ื การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก หลักและทฤษฎีการแพทย์แผนไทย ตามหลักทฤษฏีการแพทย์แผนไทย กล่าวว่า คนเราเกิดมาในร่างกาย ประกอบด้วยธาตุทั้งสี่ คือ ธาตุดิน ธาตุน้ำ ธาตุลม ธาตุไฟ ซึ่งในแต่ละคน จะมีธาตุเด่น เป็นธาตุประจำตัว เรียกว่า “ธาตุเจ้าเรือน” ธาตุเจ้าเรือน หมายถึง องค์ประกอบของธาตุทั้ง 4 ที่รวมกันอย่าง ปกติแต่จะมีธาตุอย่างใดอย่างหนึ่งเด่น หรือมากกว่าธาตุอื่น ๆ ซึ่งจะเป็น บุคลิกลักษณะและอุปนิสัยติดตัวมาตั้งแต่แรกเกิด หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “ธาตุกำเนิด” ภายหลังอาจเปลี่ยนแปลงได้ เนื่องจากพฤติกรรมการเลี้ยงดู และสิ่งแวดล้อม ซึ่งทฤษฎีการแพทย์แผนไทย ให้ความหมายของชีวิตว่า ชีวต ิ คือ ขันธ์ 5 (อันได้แก่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ) ร่างกาย ประกอบด้วยธาตุทั้ง 4 ได้แก่ ธาตุดิน (20 ประการ) ธาตุน้ำ (12 ประการ) ธาตุลม (6 ประการ) ธาตุไฟ (4 ประการ) การวิเคราะห์ธาตุเจ้าเรือนของแต่ละบุคคล สามารถวิเคราะห์ได้ดังนี้ 1. วิเคราะห์จาก วัน เดือน ปีเกิด แบบไทย 1.1 ใช้แผ่นวงกลมวิเคราะห์ธาตุเจ้าเรือน หรือโปรแกรม Pen Diag จากคอมพิวเตอร์ ซึ่งคิดค้นโดย แพทย์หญิงเพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ 1.2 วิเคราะห์จากเดือนเกิด ธาตุดิน คือ คนที่เกิดเดือน 11, 12, 1 หรือ เดือนตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม ธาตุน้ำ คือ คนที่เกิดเดือน 8, 9, 10 หรือ เดือนกรกฎาคม สิงหาคม กันยายน ธาตุลม คื อ คนที่ เ กิ ด เดื อ น 5, 6, 7 หรื อ เดื อ นเมษายน พฤษภาคม มิถุนายน ธาตุไฟ คื อ คนที่ เ กิ ด เดื อ น 2, 3, 4 หรื อ เดื อ นมกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
  • 17. คูมอการดูแลสุขภาพด้วย ่ื การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ภาวะธาตุ 4 เสียสมดุล หากร่างกายเกิดภาวะเสียสมดุลของธาตุทั้ง 4 บุคคลนั้นจะมีปัญหา ด้านสุขภาพ ทำให้เกิดการเจ็บป่วยได้งายด้วยอาการทีแตกต่างกันไป ขึนอยูกบ ่ ่ ้ ่ั ธาตุนนๆ โดยอาการเจ็บป่วยทีปรากฏจะแสดงอาการให้เห็นตามธาตุตางๆ ดังนี ั้ ่ ่ ้ ธาตุดิน มักจะเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกี่ยวกับอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย โดยมี สิ่งที่ควบคุมความเจ็บป่วยของธาตุดิน 3 ประการ ด้วยกันคือ หทยัง หรือหทัยวัตถุ (หัวใจ) หมายถึงความสมบูรณ์ของหัวใจ การทำงาน การเต้น ความสมบูรณ์ของกล้ามเนื้อหัวใจ เป็นต้น โรคที่เกิดมักเกิดจากการทำงานของหัวใจ อุทริยัง (อาหารใหม่) หมายถึง อาหารที่รับประทานเข้าไปใหม่ๆ โรคที่เกิดมักเกิดจากการกินอาหารที่ผิดปกติเรียกว่า “กินผิด” คือกินไม่ถูกกับธาตุ กินอาหารไม่สะอาด กินอาหารแสลงโรค เป็นต้น กรีสัง (อาหารเก่า) หมายถึง กากอาหารในลำไส้ใหญ่ที่จะออกมา เป็นอุจจาระ ลักษณะหรือกลิ่นของอุจจาระเป็นตัวบ่งบอกสุขภาพ อุจจาระหยาบ ละเอียด แข็ง เหลว กลิ่นเหมือนปลาเน่า ธาตุน้ำ เป็นเหตุ กลิ่นเหมือนหญ้าเน่า ธาตุไฟเป็นเหตุ กลิ่นเหมือนข้าวบูด ธาตุลมเป็นเหตุ กลิ่นเหมือนซากศพ ธาตุดินเป็นเหตุ เป็นต้น กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
  • 18. คูมอการดูแลสุขภาพด้วย ่ื การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ธาตุน้ำ มักจะเจ็บป่วยด้วยของเหลว หรือน้ำภายในร่างกาย โดยมีสิ่งที่ ควบคุมความเจ็บป่วยของธาตุน้ำ 3 ประการ ด้วยกันคือ ศอเสมหะ หมายถึง เสมหะหรือเสลดที่อยู่บริเวณลำคอ โรคที่เกิดมักเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจส่วนบน เมือกในจมูก ลำคอ หลอดลมตอนต้น เช่น มีเสมหะ ไซนัส ไข้หวัด เป็นต้น อุระเสมหะ หมายถึง เสมหะหรือเสลดที่อยู่บริเวณทรวงอก และช่องท้องส่วนบน ได้แก่ เสมหะ น้ำย่อยในกระเพาะอาหาร โรคที่เกิดมักเกี่ยวกับทรวงอกและปอด เช่น หอบหืด หลอดลมอักเสบ ปอดบวม โรคกระเพาะ เป็นต้น คูถเสมหะ หมายถึง ของเหลวที่อยู่ในช่องท้องส่วนล่างหรือ ระบบขับถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ โรคที่เกิดมักเกี่ยวข้องกับ ระบบทางเดินอาหารส่วนปลาย เมือกมูกในลำไส้ น้ำในกระเพาะปัสสาวะ เช่น ท้องเสีย บิดมูกเลือด ริดสีดวงทวาร กระเพาะปัสสาวะอักเสบ ปัสสาวะผิดปกติ เป็นต้น กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
  • 19. คูมอการดูแลสุขภาพด้วย ่ื การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ธาตุลม มักจะเจ็บป่วยด้วยระบบการไหลเวียนโลหิต และระบบประสาท โดยมีสิ่งที่ควบคุมความเจ็บป่วยของธาตุลม 3 ประการ ด้วยกันคือ หทัยวาตะ หมายถึง ภาวะจิตใจ โรคที่เกิดมักเกิดจาก การเปลี่ยนแปลงของสภาพจิตใจ อารมณ์ ความหวั่นไหว ความกังวล ทำให้เกิดการแปรปรวนด้านอารมณ์ได้ สัตถกะวาตะ หมายถึง ลมในร่างกาย ที่แหลมคม เหมือน ศัสตราวุธ ซึ่งเกี่ยวกับระบบประสาทต่างๆ และเส้นเลือดฝอย ภาวะหัวใจขาดเลือด โรคที่เกิดมักจะเกี่ยวกับเส้นเลือดฝอยแตก ตีบตัน หรือเป็นอัมพาต อาการปวด อาการชา เป็นต้น สุมนาวาตะ หมายถึง การไหลเวียนของโลหิตและระบบการทำงาน ของประสาท สมอง ไขสันหลัง โรคที่เกิดมักเกี่ยวกับ การเจ็บหลัง การชัก การกระตุก ความดันโลหิต ลมจากหัวใจ และหลอดเลือดใหญ่กลางลำตัว กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
  • 20. คูมอการดูแลสุขภาพด้วย ่ื การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ธาตุไฟ มักจะเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจากขบวนการเผาผลาญพลังงานใน ร่างกาย โดยมีสิ่งที่ควบคุมความเจ็บป่วยของธาตุไฟ 3 ประการคือ พัทธปิตตะ (ดีในฝัก) หมายถึง ขบวนการผลิตน้ำดีของตับ โรคที่เกิดมักเกี่ยวกับระบบน้ำดีภายในถุงน้ำดี ท่อน้ำดีอุตตัน ภาวะการผลิตน้ำดีของตับผิดปกติ ตับอักเสบเกิดอาการ ตัวเหลือง ตาเหลือง เกิดน้ำดีอักเสบ เป็นนิ่วเป็นต้น อพัทธปิตตะ (ดีนอกฝัก) หมายถึง ขบวนการย่อยอาหารโดย น้ำดีหรือน้ำดีในลำไส้ โรคที่เกิดมักเกี่ยวกับการทำงานของ น้ำดีในลำไส้ ระบบการย่อยอาหาร อาการคือ จุกเสียด อืดเฟ้อ อาหารไม่ย่อย ดีซ่าน เหลืองทั้งตัว ถ่ายเป็นสีเขียว เป็นต้น กำเดา หมายถึง ความร้อนที่เกิดจากขบวนการเผาผลาญ การทำงานของร่างกาย โรคที่เกิดมักเกี่ยวกับอาการตัวร้อน เป็นไข้ ร้อนใน ติดเชื้อ อักเสบ เป็นต้น กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
  • 21. คูมอการดูแลสุขภาพด้วย ่ื การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก หลักการตรวจวินิจฉัยและรักษาโรคตามทฤษฎี การแพทย์แผนไทยเบื้องต้นมีดังนี้ 1. 2. 3. 4. รู้ที่ตั้งที่แรกเกิดของโรค รู้จักชื่อของโรคที่เกิดขึ้น รู้จักสรรพคุณยาสำหรับบำบัดโรค รู้จักเลือกใช้ยาตามอาการ รู้ที่ตั้งที่แรกเกิดของโรค สมุฏฐาน หมายถึง ที่ตั้งที่แรกเกิดของโรค สมุฏฐานทางการแพทย์แผนไทย แบ่งเป็น 5 ประการ 1. ธาตุสมุฏฐาน 2. อุตุสมุฏฐาน หมายถึง ธาตุที่ เป็นที่ตั้งที่แรกเกิด ของโรคมี 4 ประการคือ 1. ปถวีธาตุ (ธาตุดิน) 2. อาโปธาตุ (ธาตุน้ำ) 3. วาโยธาตุ (ธาตุลม) 4. เตโชธาตุ (ธาตุไฟ) หมายถึง ฤดูกาล ที่เป็นที่ตั้งที่แรก เกิดของโรค มี 3 ฤดู คือ 1. ฤดูร้อน 2. ฤดูฝน 3. ฤดูหนาว 3. อายุสมุฏฐาน 4. กาลสมุฏฐาน 5. ประเทศสมุฏฐาน หมายถึง อายุที่ เป็นที่ตั้งที่แรก เกิดของโรค แบ่งเป็น 3 วัย คือ 1. ปฐมวัย (แรกเกิด-16 ปี) 2. มัชฌิมวัย (16 ปี-32 ปี) 3. ปัจฉิมวัย (32 ปีขึ้นไป) หมายถึง เวลาที่ หมายถึงถิ่นที่อยู่ เป็นที่ตั้งที่แรก อาศัยที่เป็นที่ตั้ง เกิดของโรค ที่แรกเกิดของ แบ่งเป็น 3 โรค แบ่งเป็น 4 ช่วงเวลา คือ ลักษณะ คือ 1. 06.00-10.00 น. 1. ประเทศร้อน 18.00-22.00 น. 2. ประเทศเย็น 2. 10.00-14.00 น. 3. ประเทศอุ่น 22.00-02.00 น. 4. ประเทศหนาว 3. 14.00-18.00 น. 02.00-06.00 น. กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
  • 22. คูมอการดูแลสุขภาพด้วย ่ื การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก รายละเอียดของธาตุที่เป็นที่ตั้งที่แรกเกิดของโรค ธาตุดิน(20 ประการ) ธาตุน้ำ(12 ประการ) ธาตุลม(6 ประการ) ธาตุไฟ(4 ประการ) 1. เกศา (ผม) 1. ปิตตัง (น้ำดี) 2. โลมา (ขน) มี 2 อย่างคือ 3. นขา (เล็บ) 1.1 พัทธปิตตะ 4. ทันตา (ฟัน) (น้ำดีในฝัก) 5. ตะโจ (หนัง) 1.2 อพัทธปิตตะ 6. มังสัง (เนื้อ) (น้ำดีนอกฝัก) 7. นหารู (เส้นเอ็น) 2. เสมหัง (น้ำเสลด) 8. อัฐิ (กระดูก) มี 3 อย่างคือ 9. อัฐิมิญชัง 2.1 ศอเสมหะ (เยื่อในกระดูก) 2.2 อุระเสมหะ 10. วักกัง (ม้าม) 2.3 คูถเสมหะ 11. หทยัง (หัวใจ) 3. บุพโพ (น้ำหนอง) 12. ยกนัง (ตับ) 4. โลหิตัง (น้ำเลือด) 13. กิโลกัง (พังผืด) 5. เสโท (น้ำเหงื่อ) 14. ปิหกัง (ไต) 6. เมโท (มันข้น) 15. ปับผาสัง (ปอด) 7. อัสสุ (น้ำตา) 16. อันตัง (ลำไส้ใหญ่) 8. วสา (มันเหลว) 17. อันตคุณัง (ลำไส้น้อย) 9. เขโฬ (น้ำลาย) 18. อุทริยัง (อาหารใหม่) 10. สังฆานิกา (น้ำมูก) 19. กรีสัง (อาหารเก่า) 11. ลสิกา (น้ำในไขข้อ) 20. มัตถเกมัตถลุงคัง 12. มูตตัง (น้ำปัสสาวะ) (มันสมอง) 1. อุทธังคมาวาตา (ลมพัดขึ้น) 2. อโธคมาวาตา (ลมพัดลง) 3. กุจฉิสยาวาตา (ลมในท้อง) 4. โกฏฐาสยาวาตา (ลมในลำไส้) 5. อังคมังคานุสารีวาตา (ลมพัดในกาย) 6. อัสสาสะปัสสาสะ วาตา (ลมหายใจ) 1. สันตัปปัคคี (ไฟสำหรับ อบอุ่นกาย) 2. ปริทัยหัคคี (ไฟให้ร้อน ระส่ำระส่าย) 3. ชิรณัคคี (ไฟเผากายให้ แก่คร่ำคร่า) 4. ปริณามัคคี (ไฟสำหรับ ย่อยอาหาร) เมื่อธาตุทั้ง 4 เกิดภาวะเสียสมดุล คือ กำเริบ หย่อน พิการ ทำให้ เกิดอาการเจ็บป่วยได้ กำเริบ หมายถึง ธาตุต่าง ๆ ทำหน้าที่มากกว่าปกติ เช่น ธาตุไฟ กำเริบทำให้ ตัวร้อน เป็นไข้ เป็นต้น หย่อน หมายถึง ธาตุตาง ๆ ทำหน้าทีนอยกว่าปกติ เช่น ธาตุไฟหย่อน ่ ่้ ทำให้อาหารไม่ย่อย ตัวเย็น เป็นต้น พิการ หมายถึง ธาตุต่าง ๆ ทำหน้าที่ได้น้อยมากหรือไม่สามารถทำ หน้าที่ได้เลย เช่น ไตพิการ (ธาตุดินพิการ) กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
  • 23. คูมอการดูแลสุขภาพด้วย ่ื การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก พฤติกรรมที่เป็นมูลเหตุการเกิดโรค พฤติกรรมที่เป็นมูลเหตุการเกิดโรค กินอาหารมากหรือน้อยเกินไป กินอาหารบูดหรืออาหารที่ไม่เคยกิน กินอาหารไม่ถูกกับธาตุ กินอาหารแสลงกับโรค ฝืนอิริยาบถ ได้แก่ การนั่ง ยืน เดิน นอน ไม่สมดุลกัน ทำให้ โครงสร้างร่างกายเสียสมดุลและเสื่อมโทรม อากาศไม่สะอาด อยู่ในที่ที่มีอากาศร้อนหรือเย็นเกินไป การอด ได้แก่ การอดข้าว อดนอน อดน้ำ อดหรือขาดอาหาร การกลั้นอุจจาระ ปัสสาวะ การทำงานเกินกำลัง ทำงานมากเกินไป หรือมีกิจกรรมทางเพศ มากเกินไป มีความโศกเศร้าเสียใจหรือดีใจจนเกินไป ขาดอุเบกขา มีโทสะมากเกินไป ขาดสติ นอกจากนี้ ตามองค์ความรูในเรืองการใช้สมุนไพร จะใช้รสของสมุนไพร ้ ่ เป็นยารักษาโรค รสยา 9 รส คือ ฝาด หวาน มัน เค็ม เมาเบื่อ เปรี้ยว ขม เผ็ดร้อน หอมเย็น โดยรสของสมุนไพรจะมีผลต่อการปรับสมดุลของร่างกาย เมื่อธาตุทั้งสี่ในร่างกายสมดุลบุคคลจะไม่เจ็บป่วย หากขาดความสมดุล มักจะ เกิดความเจ็บป่วยด้วยโรคที่เกิดจากจุดอ่อนด้านสุขภาพของแต่ละคนตามธาตุ ต่างๆ ที่ขาดความสมดุล ดังนั้นเพื่อเป็นการป้องกันปัญหาความเจ็บป่วยที่อาจ เกิดขึ้น สิ่งที่สามารถช่วยได้ในเบื้องต้นคือ การบริโภคอาหารของแต่ละคนใน ชีวิตประจำวัน โดยใช้การประยุกต์รสของ พืช ผัก ผลไม้ ที่นำมาปรุงเป็น อาหาร (เปรี ย บเที ย บกั บ รสของสมุ นไพรที่ ใ ช้ เ ป็ น ยา) มาปรั บ สมดุ ล ของ ร่างกาย เพื่อป้องกันความเจ็บป่วยและส่งเสริมสุขภาพได้ในระดับหนึ่ง กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
  • 24. คูมอการดูแลสุขภาพด้วย ่ื การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก การใช้รสของอาหารเพื่อปรับสมดุลของร่างกาย เพื่อป้องกันความเจ็บป่วยและส่งเสริมสุขภาพ การเลือกรับประทาน พืชผัก ผลไม้ อาหารรสต่างๆ ให้เหมาะกับ ธาตุเจ้าเรือน หรือธาตุทเจ็บป่วย (เสียสมดุล) ของบุคคลนันๆ จะทำให้บคคลนัน ี่ ้ ุ ้ มีธาตุที่สมดุล ซึ่งสามารถเลือกได้ดังนี ้ ธาตุดิน ควรรับประทาน รส ฝาด หวาน มัน เค็ม เช่น ฝรั่งดิบ หัวปลี กล้วย มะละกอ เผือก มัน กระหล่ำปลี ผักกะเฉด มังคุด ฟักทอง ถัวต่างๆ เงาะ หัวมันเทศ เป็นต้น ตัวอย่างอาหารปรับสมดุลธาตุดน ผัดสะตอ ่ ิ ยำหัวปลี น้ำพริก ผักจิ้มที่มีรสฝาด รสมัน อาหารว่าง เช่น เต้าส่วน วุ้นกะทิ กล้วยบวชชี ตะโก้เผือก เครื่องดื่ม เช่น นมถั่วเหลือง น้ำมะพร้าว น้ำฝรั่ง เป็นต้น ธาตุน้ำ ควรรับประทาน รสเปรี้ยว เช่น มะนาว ส้ม สับปะรด มะเขือเทศ มะยม มะกอก มะดัน กระท้อน ตัวอย่างอาหารปรับสมดุลธาตุนำ ้ แกงส้มดอกแค ลาบ หรือยำที่มีรสเปรี้ยว ผัดเปรี้ยวหวาน อาหารว่าง เช่น มะยมเชือม สับปะรดกวน กระท้อนลอยแก้ว มะม่วงน้ำปลาหวาน มะม่วงกวน ่ เครื่องดื่ม เช่น น้ำมะนาว น้ำส้มคั้น น้ำมะเขือเทศ เป็นต้น ธาตุลม ควรรับประทาน รสเผ็ดร้อน เช่น กระเพรา โหระพา กระเทียม ขึนฉ่าย ยีหร่า ขิง ข่า ตะไคร้ กระชาย พริกไทย ขมินชัน ผักคราด ้ ่ ้ ช้าพลู พริกขี้หนู ตัวอย่างอาหารปรับสมดุลธาตุลมเช่น ผัดกะเพรา ผัดขิง กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
  • 25. คูมอการดูแลสุขภาพด้วย ่ื การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก คั่วกลิ้ง แกงเผ็ด หรืออาหารที่มีรสเผ็ด อาหารว่าง เช่น บัวลอยน้ำขิง เต้าฮวย เต้าทึง มันต้มขิง ถั่วเขียวต้มขิง เมี่ยงคำ เครื่องดื่ม เช่น น้ำขิง น้ำตะไคร้ น้ำมะตูม เป็นต้น ธาตุไฟ ควรรับประทาน รส ขม เย็น จืด เช่น บัวบก มะระ มะรุม สะเดา ผักบุ้ง ตำลึง สายบัว แตงกวา คะน้า บวบ มะเขือ ผักกาดจีน ตัวอย่างอาหารปรับสมดุลธาตุไฟ แกงจืดตำลึง ผัดบวบ มะระผัดไข่ ผัดผักบุง ้ หรืออาหารที่มีรสจืด อาหารว่าง ซาหริ่ม ไอศกรีม น้ำแข็งไส เครื่องดื่ม น้ำแตงโมปั่น น้ำใบเตย น้ำเก็กฮวย เป็นต้น การรับประทานอาหารควรรับประทานอาหารให้หลากหลายครบทุกรส ทั้ง 4 ธาตุ ไม่ควรเลือกรับประทานเฉพาะรสใดรสหนึ่งตามธาตุเจ้าเรือนของ ตนเอง หรือธาตุที่เจ็บป่วย (เสียสมดุล) เท่านั้น เนื่องจากร่างกายต้องการ อาหารบำรุงธาตุทั้ง 4 ด้วย หากธาตุหนึ่งธาตุใดขาดการบำรุงจะเจ็บป่วยได้ การรับประทานอาหารที่เหมาะกับธาตุเจ้าเรือนของตนเอง หรือธาตุที่เจ็บป่วย (เสียสมดุล) ควรรับประทานให้มากกว่าธาตุอื่นๆ ที่สมดุลอยู่แล้ว พฤติกรรม ดังกล่าวจะทำให้ การปรับสมดุลได้ผลดี กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
  • 26. คูมอการดูแลสุขภาพด้วย ่ื การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก การแพทย์พื้นบ้านไทย (Thai Indigenous Medicine) 1. ความหมายของการแพทย์พื้นบ้านไทย การแพทย์พื้นบ้านไทย (Thai indigenous Medicine) ตามพระราช บัญญัติคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2542 ว่า “การดูแลสุขภาพกันเองในชุมชนแบบดั้งเดิม จนกลายเป็นส่วนหนึ่งของวิถี ชีวิต เกี่ยวข้องกับความเชื่อ พิธีกรรม วัฒนธรรม ประเพณี และทรัพยากรที่ แตกต่างกันในแต่ละท้องถิ่นและเป็นที่ยอมรับของชุมชนนั้น” ความหมายนี้ ครอบคลุมทั้งการแพทย์พื้นบ้านที่มีหมอพื้นบ้านช่วยเหลือและดูแลชาวบ้าน ในชุมชน และประชาชนในชุมชนที่ใช้ภูมิปัญญาและประสบการณ์ในการดูแล ตนเอง เช่น การใช้ยาต้มสมุนไพรรักษาอาการปวดเมื่อย ปวดหลัง การใช้ ยากวาดสมุนไพรรักษาอาการเจ็บคอของเด็ก การนวดในครอบครัว การใช้ อาหารพื้นบ้านเพื่อดูแลรักษาสุขภาพ เป็นต้น 2. แนวคิดพื้นฐานที่สำคัญ : ว่าด้วยระบบการแพทย์ที่หลากหลาย ในสั ง คมมี ร ะบบการแพทย์ แ บบพหุ ลั ก ษณ์ (Pluralistic Medical System) ดังแผนภาพ 1 กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
  • 27. คูมอการดูแลสุขภาพด้วย ่ื การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ระบบการแพทย์ พื้นบ้าน (Folk sector) ระบบการแพทย์แบบวิชาชีพ (Professional sector) ระบบการแพทย์ ของประชาชน (Popular sector) ( Kleinman, 1980 : 49-60 ) แผนภาพ 1 : แสดงความสัมพันธ์ของระบบการแพทย์ จะพบว่าแบบแผนการแสวงหาวิธีการดูแลสุขภาพของประชาชน นั้นมี ลักษณะของการผสมผสานหรือมีปฏิสัมพันธ์ระหว่าง การดูแลใน 3 ระบบ ระหว่างการดูแลสุขภาพตนเอง หรือการใช้ความรูประสบการณ์ของประชาชน ้ (Popular sector) การแสวงหาวิธการดูแลโดยการพึงพาหมอพืนบ้านในชุมชน ี ่ ้ (Folk sector) และการไปรับบริการจากระบบบริการการแพทย์ที่เป็นทางการ หรือผู้ประกอบวิชาชีพ (Professional sector) สำหรับสังคมไทยก็ยังพบ ลักษณะการผสมผสานการดูแลสุขภาพเช่นนี้ในปัจจุบัน โดยเฉพาะการเจ็บ ป่วยเฉพาะท้องถิ่นที่มีการอธิบายการเจ็บป่วย บนวิถีความเชื่อ ประเพณี วัฒนธรรม (Culture - bounded Syndromes) เช่น การดูแล การผิดสำแดง ลมผิดเดือน ฯลฯ หรือความเจ็บป่วยเรื้อรัง เบาหวาน มะเร็ง ภูมิแพ้ เป็นต้น กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
  • 28. กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข 20 เรื่อง 6 เรื่อง การนวดพื้นบ้าน* แนวคิดโรคและสาเหตุ การตรวจและเทคนิคการนวด ผลการนวด การแพทย์พื้นบ้านแบบ ประสบการณ์เชิงปฏิบัติ 78 เรื่อง 43 เรื่อง การแพทย์พื้นบ้านแบบพิธีกรรม /ศาสนา ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน 116 เรื่อง สถานะขององค์ความรู้ การแพทย์พื้นบ้านไทยในสังคมไทย 38 เรื่อง พิธีกรรมที่มีความเชื่อแบบพุทธ- พราหมณ์-ผี หมอพิธีกรรมที่มีบทบาท รักษาความเจ็บป่วย เสริมกำลังใจ ความมั่นคงของชีวิต เสี่ยงทาย และเสริมความสัมพันธ์ของสังคม หมอพระและการดูแลผู้ป่วย ด้านกาย-ใจ การทำขวัญและคาถาอาคม การใช้ยาสมุนไพรของประชาชน งานวิจัยแบบสำรวจ ยาดองเหล้า สูตรยาดองเหล้า 91 สูตร/พฤติกรรมการบริโภค ประชาชนซื้อยารักษาอาการปวดเมื่อย อาการเลือดลม ร้อนใน โรคสตรี กินผิด และยาบำรุง การปลอมปน/ปนเปื้อนของยา ด้านอาหารธรรมชาติ/อาหารพื้นบ้าน งานส่วนใหญ่เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ 10 เรื่อง 22 เรื่อง 6 เรื่อง การสำรวจอนุกรมวิธานผักพื้นบ้าน สมุนไพร แมลง และเห็ด>100 ชนิด/ภูมิภาค การแสวงหาการบริโภค การคงอยู่ของอาหารธรรมชาติและปัจจัย ภูมิปัญญาด้านสุขภาพพื้นบ้าน ที่เกี่ยวข้อง คุณค่าด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ และพิธีกรรม แผนภาพ 2 : สถานะขององค์ความรู้การแพทย์พื้นบ้านในสังคมไทย หมอพื้นบ้าน/ยาสมุนไพรพื้นบ้าน* การใช้ยาสมุนไพรของหมอพื้นบ้าน/ชุมชน การศึกษาหมอ/ผู้ป่วย การศึกษายาสมุนไพรแบบวิทยาศาสตร์ หมองู 5 เรื่อง / หมอกระดูก 4 เรื่อง 19 เรื่อง การแพทย์พื้นบ้าน* ศึกษาตำรา/คัมภีร์/สังคายนา สำรวจและการกระจายตัวของหมอพื้นบ้าน แนวคิด การวินิจฉัย-รักษาโรค บทบาทและการปรับบทบาทและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง แนวทาง/แนวคิดการพัฒนา 28 เรื่อง ด้านสุขภาพชาติพันธุ์ งานวิจัยเชิงคุณภาพ (ภาคเหนือ/อีสาน) ระบบคิดแบบแผนชีวิตและการดูแลสุขภาพตนเอง ภูมิปัญญาการรักษาโรค การดูแลหญิงตั้งครรภ์/หลังคลอด การดูแลสุขภาพหญิงมีครรภ์และหลังคลอด* งานวิจัยเชิงคุณภาพและผสมผสาน/ปฏิบัติการ แรงจูงใจ ความเชื่อและแบบแผนการดูแลสุขภาพตนเองของ หญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด การสืบทอดภูมิปัญญาโดยปรับเปลี่ยนความรู้ +พฤติกรรม 3. สถานะองค์ความรู้และศักยภาพของภูมิปัญญาพื้นบ้านด้านสุขภาพ / การแพทย์พื้นบ้าน การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก คูมอการดูแลสุขภาพด้วย ่ื
  • 29. ระบบการส่งต่อ โรงเรียน (การสืบทอดองค์ความรูการเรียนรู)้ ้ การฟื้นฟูและส่งเสริมการดูแลสุขภาพ ในระดับชุมชน (Community care) กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข แผนภาพ 3 : การส่งเสริมและพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน แหล่งสมุนไพร / ฐานทรัพยากรชุมชน การสังคายนาองค์ความรู ้ การบูรณาการแพทย์พื้นบ้าน ในระบบบริการสุขภาพภาครัฐ (Integration in Primarycare) การส่งเสริมและพัฒนาระบบการดูแลสุขภาพด้วยภูมิปัญญา การแพทย์พื้นบ้าน การรับรองสิทธิหมอพืนบ้าน ้ 4. การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก คูมอการดูแลสุขภาพด้วย ่ื
  • 30. คูมอการดูแลสุขภาพด้วย ่ื การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 5. ชุดโครงการสำนักการแพทย์พนบ้านไทย ปีงบประมาณ 2553 มีดงนี้ คือ ื้ ั โครงการส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน ใน ระบบสุขภาพชุมชน และระบบบริการสุขภาพระดับปฐมภูมิ ประกอบด้วย โครงการย่อย 8 โครงการ 1. โครงการจัดการความรู้และพัฒนากระบวนการแม่และเด็กด้วย ภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน 2. โครงการพัฒนาต้นแบบการดูแลสุขภาพชุมชนด้วยสมุนไพรพื้นบ้าน และอาหารท้องถิ่นบนฐานแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 3. โครงการศึกษาและพัฒนาศักยภาพหมอพื้นบ้านในการรักษาผู้ป่วย กระดู ก หั ก ช่ ว งการศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ ใ นการผสมผสานความร่ ว มมื อ การรักษากระดูกหักระหว่างหมอพื้นบ้านกับสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ 4. โครงการจัดการความรู้และพัฒนากระบวนการรักษาสัตว์พิษกัดและ งูกัดแบบผสมผสานระหว่างหมอพื้นบ้านกับสถานบริการสาธารณสุขของรัฐ 5. โครงการศึ ก ษาและพั ฒ นาตำรั บ ยาสมุ นไพรพื้ น บ้ า นและการใช้ ภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้านในการรักษาผู้ป่วยมะเร็ง 6. โครงการจัดการความรู้และพัฒนากระบวนการดูแลผู้ป่วยเบาหวาน ด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน 7. โครงการจัดการความรู้และพัฒนากระบวนการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาตด้วยภูมิปัญญาการแพทย์พื้นบ้าน 8. โครงการพัฒนาศักยภาพองค์กรของสำนักการแพทย์พื้นบ้านไทย ประจำปี 2553 กรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข