SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  46
Télécharger pour lire hors ligne
หนังสือชุดข้อแนะนำการออกกำลังกายสำหรับเจ้าหน้าทีสาธารณสุข
่
ข้อแนะนำการดูแลการบาดเจ็บจากการออกกำลังกายและเล่นกีฬา
สำหรับเจ้าหน้าทีสาธารณสุข
่
ศ. ฃลินิก นพ. ธีรวัฒน์ กุลทนันทน์
สาขาเวชศาสตร์การกีฬา
ภาฃวิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดฃส์ฯ
ิ
ฃณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
ที่ปรึกษา

คณะกรรมการทีปรึกษาทางวิชาการด้านการออกกำลังกายเพือสุขภาพ
่
่
กระทรวงสาธารณสุข

บรรณาธิการ

สมชาย ลี่ทองอิน
นวลศรี วิจารณ์
อำนวย ภูภัทรพงศ์
นงพะงา ศิวานุวฒน์
ั

จัดพิมพ์โดย

กองออกกำลังกายเพือสุขภาพ
่
กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000
โทรศัพท์ : 0-2590-4588 โทรสาร : 0-2590-4584
คำนำ

คำนำ
หนังสือชุด ทบทวนการจัดสิงแวดล้อมทีเอือต่อการ ออกกำลังกายและ
่
่ ้
มาตรการทางภาษีน้ี กรมอนามัยโดย กองออกกำลังกายเพือสุขภาพได้รวบรวม
่
จากการทบทวน องค์ความรูของผูเชียวชาญ ซึงเป็นคณะกรรมการทีปรึกษา ทาง
้ ้ ่
่
่
วิชาการด้านการออกกำลังกายเพือสุขภาพ กระทรวง สาธารณสุข วัตถุประสงค์
่
ในการจัดพิมพ์เพือเป็นองค์ความรู้ ด้านการออกกำลังกายสำหรับเจ้าหน้าที่
่
สาธารณสุขและ ผูเกียวข้องได้ใช้เป็นแนวทางในการแนะนำให้ประชนชน ทัวไป
้ ่
่
ทุกกลุมวัย ทุกกลุมอาชีพ ทังผูทมสขภาพดีอยูแล้วหรือ ผูทเจ็บป่วยเล็กน้อยก็ตาม
่
่
้ ้ ่ี ี ุ
่
้ ่ี
ได้เคลือนไหวออกแรง/ออกกำลัง ได้อย่างเหมาะสมกับตนเอง เพือสุขภาพที่
่
่
สมบูรณ์แข็งแรง ไม่เป็นภาระ แก่ผอน เพือชีวตบันปลายทีมความสุข
ู้ ่ื ่ ิ ้
่ ี
กรมอนามัย หวังเป็นอย่างยิงว่าเจ้าหน้าที่ สาธารณสุข ผูเกียวข้องทุก
่
้ ่
ท่านจะได้ประโยชน์จากหนังสือ เล่มนีเป็นอย่างมาก ส่วนข้อแนะนำทีลงสู่
้
่
ประชาชน กรมอนามัยจะดำเนินการต่อจากการจัดพิมพ์หนังสือชุดนี้ ต่อไป
สารบัญ
หน้า
การบาดเจ็บจากการออกกำลังกายและเล่นกีฬา

1

การประเมินสภาพการบาดเจ็บ

2

ขั้นตอนการประเมินสภาพการบาดเจ็บ

6

การแนะนำการออกกำลังกายในวัยทำงาน

4

สารบัญ

อุบัติเหตุจากการออกกำลังกายและเล่นกีฬาที่ต้องนำส่ง
สถานพยาบาลหรือโรงพยาบาล

8

หลักการสำคัญในการปฐมพยาบาลเมื่อได้รับบาดเจ็บ

12

หลักการปฐมพยาบาลบาดเจ็บจากการออกกำลังกายและเล่นกีฬา

13

การปฐมพยาบาลกบาดเจ็บบริเวณล้ามเนื้อ

15

การปฐมพยาบาลกบาดเจ็บบริเวณเอ็น

20

การปฐมพยาบาลกบาดเจ็บบริเวณข้อต่อ

23

การปฐมพยาบาลกบาดเจ็บบริเวณกระดูก
ตำแหน่งของกระดูกร้าวทีพบได้บอยๆ จากการเล่นกีฬา
่
่
การเตรียมเครื่องมือปฐมพยาบาล

29
33
36

เอกสารอ้างอิง

38

ภาคผนวก

39
1

การบาดเจ็บจากการออกกำลังกายและเล่นกีฬา
โดยทัวไปมักเกิดจาก 2 สาเหตุหลัก คือ
่
1.การกระแทกอย่างรวดเร็วและรุนแรง (contact and acute injury)
2.การใช้งานอวัยวะมากเกินหรือซ้ำซาก (overused injury)
สำหรับการดูแลผู้ที่ได้รับการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬาเบื้องต้น
จะดู แ ลในส่ ว นการบาดเจ็ บ ที ่ เ กิ ด ทั น ที ใ นสนามเป็ น ส่ ว นใหญ่
ความรุนแรงของการบาดเจ็บสามารถแบ่งได้หลายระดับดังนี้
1.การบาดเจ็บเล็กน้อย เช่น การมีแผลถลอก ผิวหนังฉีกขาด
มีอาการตะคริวและมีการยืดของเอ็นยึดข้อมากเกิน (sprains)
ในการออกกำลั ง กายนั ้ น หากออกกำลั ง กายไม่ ถ ู ก วิ ธ ี
ไม่เหมาะสมกับสภาพร่างกายของผู้เล่น หรือออกกำลังกายในสภาพ
แวดล้อมทีไม่เหมาะสมก็อาจทำให้เกิดการบาดเจ็บได้ ตังแต่เกิดจากบาด
่
้
เจ็บเล็กน้อยถึงบาดเจ็บที่รุนแรงถึงขั้นเป็นอันตรายต่อชีวิต
การดูแลผูทได้รบบาดเจ็บจากการออกกำลังกายหรือเล่น
้ ่ี ั
กีฬาจะได้ผลดีตองกระทำอย่างถูกวิธและถูกเวลาโดยขึนกับการวินจฉัย
้
ี
้
ิ
อย่างถูกต้อง ประสบการณ์ และอาศัยฃวามร่วมมือจากหลายฝ่าย
ทังจากแพทย์ ผูฝกสอน นักกายภาพบำบัด รวมทังตัวผูเล่นด้วย
้
้ ึ
้ ้

765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543
765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543
765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543
765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543
765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543
765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543
765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543
765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543
765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543
765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543
765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543
765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543
765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543
765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543
765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543
765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543

ข้อแนะนำการดูแลการบาดเจ็บจากการออกกำลังกายและเล่นกีฬา
สำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
⌫


⌫
  

2.การบาดเจ็บรุนแรงปานกลาง เช่น เอ็นยึดข้อมีการฉีกขาด
บางส่วน (sprain) ส่วนทีได้รบบาดเจ็บบวม (swelling)และมีอาการปวด
่ ั
(pain) มีอาการเจ็บเมือเคลือนไหวอวัยวะดัง กล่าวรวมทังการเคลือนไหว
่ ่
้
่
ทำได้นอยลง (decrease range of motion)
้
3.การบาดเจ็บรุนแรงมาก (severe injuries) เช่น มีกระดูกหัก
หรือข้อเคลือน มีการเสียรูปของอวัยวะและมีอาการปวดอย่างมาก
่
4.การบาดเจ็บที่เป็นอันตรายต่อชีวิต (life threatening) เช่น
มีการบาดเจ็บที่รุนแรงต่อบริเวณลำคอหรือศรีษะ มีอาการหมดสติ
มีอาการแสดงความผิดปกติของการทำงานของหัวใจ (heart attack)
การบาดเจ็บจากการกีฬานันมีความรุนแรงแตกต่างกันตามขนาดของกำลัง
้
อัตราความเร็วความแข็ง ความอ่อน ความทื่อ หรือคมของสิ่งของ
ที่มากระทบ ทำให้อวัยวะและเนื้อเยื่อได้รับบาดเจ็บ ซึ่งเป็นอันตรายต่อ
นักกีฬา อาจทำให้เสียชีวตได้ถาไม่ได้รบการ บำบัดรักษา อย่างถูกต้อง
ิ
้
ั
และทันท่วงที การตัดสินใจว่าจะนำผู้ป่วยส่งสถานพยาบาล หรือโรง
พยาบาล หรือไม่นนจะต้องทำโดยเร็วทีสด อย่าลองปฐมพยาบาลอยูนาน
้ั
ุ่
่
เพราะอาจสายเกินแก้หรือมาช้าเกินไป
ในฐานะที่เป็นเจ้าหน้าที่สาธารณสุขซึ่งต้องดูแลผู้ได้รับบาดเจ็บ
จากการออกกำลังกายและเล่นกีฬา ทั้งบทบาททางตรง เช่น ทำหน้า
ที ่ แ พทย์ ส นามหรื อ บทบาทในทางอ้ อ ม เช่ น การพบการบาดเจ็ บ
โดยบังเอิญ ดังนัน เจ้าหน้าทีดงกล่าวควรจะต้องมีความรู้ ความสามารถ
้
่ ั
ในการ ปฏิบตการช่วยเหลือผูบาดเจ็บให้ได้รบการดูแล และความปลอดภัย
ั ิ
้
ั
ในเบื้องต้นได้
การประเมินสภาพการบาดเจ็บ (Athletic injury assessment)
ก่อนให้การช่วยเหลือผูบาดเจ็บ เจ้าหน้าทีตองทำการประเมินสภาพ
้
่ ้
การบาดเจ็บของผู้ป่วยก่อน จึงจะสามารถให้การดูแลที่เหมาะสมได้
โดยทัวๆไป มีขอควรคำนึง (Athletic Injury Assessment Considerations)
่
้
2
⌫
⌫


ทีเจ้าหน้าทีควรพิจารณาดังนี้
่
่
1. ทำการประเมิ น การบาดเจ็ บ เมื ่ อ ไร (When to Assess)
เวลาที่เหมาะสมที่สุดในการเริ่มต้นการประเมินสภาพการบาดเจ็บ คือ
ให้ทำการประเมินให้เร็วทีสดเท่าทีจะทำได้ ทังนีเนืองจาก เมือเวลาผ่านไป
ุ่
่
้ ้ ่
่
อาการและอาการแสดง (signs and symptoms) ทีเกิดจากการบาดเจ็บ
่
ซึงช่วยในการประเมินได้ถกต้อง อาจจะถูกปิดบัง ด้วยอาการปวด (pain)
่
ู
บวม (swelling) อักเสบ (inflammation) หรือ จากการหดเกร็งของ
กล้ามเนือ (muscle spasms)ได้ อย่างไรก็ตามการดำเนินของโรคที่ เกิดขึน
้
้
หลัง การบาดเจ็บ มีการเปลี่ยนแปลงต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ ( continuous
process) จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่เจ้าหน้าที่จะต้องทำการ ประเมิน
สภาพการบาดเจ็บเป็นระยะ ๆ (reassessment)
2. ทำการประเมินสภาพการบาดเจ็บที่ไหน (Where to Assess)
การบาดเจ็บจากการเล่นกีฬาและออกกำลังกายสามารถเกิดได้ทงในสนามแข่งขัน
้ั
สถานที่ฝึกซ้อม หรือที่อื่นใดก็ตามที่สามารถเล่นหรือออกกำลังกายได้
ในทางทฤษฎีแล้วสถานที่ที่เกิดเหตุบาดเจ็บเป็นที่ที่ถูกต้องที่สุดใน
การประเมินสภาพการบาดเจ็บ แต่อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบตไม่สามารถ
ั ิ
ประเมินได้ในทุกกรณี ยกตัวอย่างเช่น ในสนามการแข่งขันเมือเกิดการ
่
บาดเจ็บจำเป็นจะต้องนำผู้บาดเจ็บออกจากสนาม แข่งขันก่อนเพื่อ
ให้การแข่งขันดำเนินต่อไปได้
3. ทักษะในการประเมินสภาพการบาดเจ็บ (Personal Assessment
Skills)การประเมิ น สภาพการบาดเจ็ บ ไม่ ใ ช่ ง านที ่ ท ำได้ ง ่ า ย
เนืองจากผูทได้รบบาดเจ็บมักมีความตืนเต้น กลัว และกังวลเกียวกับการ
่
้ ่ี ั
่
่
บาดเจ็บของตนเองทำให้ยากในการประเมินดังนั้น การประเมินใน
ภาวะดั ง กล่ า ว จำเป็ น ต้ อ งอาศั ย ทั ก ษะ เฉพาะตั ว มากพอสมควร
เจ้าหน้าที่ควรได้รับการฝึกวิธีตรวจร่างกาย ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บและ
การช่วยเหลือเบื้องต้น และควรเข้ารับการฝึกเพื่อ ทบทวนความรู้
และฝึกทักษะของตนเองเป็นระยะ ๆ
3
  

4. รูจกนักกีฬา (Know the Athletes) ยิงผูประเมินมีความคุนเคย
้ั
่ ้
้
หรือรู้จักกับนักกีฬามาก่อน ยิ่งทำให้การประเมินสภาพการบาดเจ็บ
และการดูแลทำได้ดยงขึน ประวัตการเจ็บป่วย และภาวะสุขภาพปัจจุบน
ี ่ิ ้
ิ
ั
ของนักกีฬา ควรได้รบการบันทึก ซึงสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการ
ั
่
ดูแลผู้ได้รับบาดเจ็บได้ดียิ่งขึ้น ตัวอย่างข้อมูลเกี่ยวกับตัวนักกีฬา
ทีเจ้าหน้าทีควรทราบ ได้แก่ การบาดเจ็บ (current injuries) การเป็นโรค
่
่
การเป็นภูมแพ้ เป็นต้น
ิ
5. รูจกกีฬา (Know the Sport) ในการปฏิบตงานของ เจ้าหน้าทีให้
้ั
ั ิ
่
ได้ดี เจ้าหน้าที่จะต้องรู้จักการเล่น กีฬาแต่ละชนิดและ ความเสี่ยงที่
จะเกิดการบาดเจ็บต่ออวัยวะต่างๆ รวมทังความรุนแรง ทีอาจเกิดขึนได้
้
่
้
เพือทีจะได้เตรียมตัว ในการ ดูแลได้ถกต้องและเหมาะสม ซึงต่างจากผูฝก
่ ่
ู
่
้ ึ
สอนกีฬา ซึงรูจก หรือ ถนัดเฉพาะ กีฬาทีตนฝึกเท่านัน
่ ้ั
่
้
6. ทำให้มีสติ ไม่ตื่นเต้น (Remain Calm)เมื่อเกิดการบาดเจ็บ
มีบอย ๆ ครัง ทีงานแรก ซึงเจ้าหน้าทีตองทำคือการทำให้ผบาดเจ็บมีสติ
่
้ ่
่
่ ้
ู้
ไม่ตื่นเต้น ไม่กลัวหรือไม่วิตกกังวลกับอาการบาดเจ็บที่ได้รับมากนัก
คำพูดและการกระทำของเจ้าหน้าทีสามารถช่วยได้มาก แต่อย่างไรก็ตาม
่
การประเมินสภาพการบาดเจ็บก็ไม่ควรกระทำด้วยความรีบด่วนเกินไป
เพราะอาจจะทำให้เกิดความผิดพลาดได้
7. มีความตื่นตัวอยู่ตลอดเวลา (Be Alert) เจ้าหน้าที่จะต้องมี
ความตื่นตัวอยู่ตลอดเวลา ขณะที่ปฏิบัติหน้าที่ เจ้าหน้าที่จะต้องทำ
มากกว่ า การดู ก ารแข่ ง ขั น เพื ่ อ ความสนุ ก หรื อ ชั ย ชนะในเกมส์
การแข่งขันเท่านั้น แต่จะต้องสังเกตการเล่น การเคลื่อนที่ในการเล่น
ของนั ก กี ฬ าทุ ก คน และให้ ค วามสนใจเป็ น พิ เ ศษสำหรั บ นั ก กี ฬ า
ที่มีปัญหาสุขภาพหรือการบาดเจ็บอยู่ก่อน
8. มีวิจารณญาณในการตัดสินใจที่ดี (Use Good Judgment)
ในการประเมินสภาพการบาดเจ็บ เจ้าหน้าทีจะต้องทำด้วยความรวดเร็ว
่
4
⌫
⌫


ถูกต้องและแม่นยำโดยเฉพาะในเกมส์การแข่งขันที่สำคัญๆจะต้อง
สามารถตัดสินใจได้วานักกีฬาควรกลับไปเล่นต่อหรือรอสังเกต อาการ
่
9. ประสบการณ์ (Experience) ประสบการณ์ในการทำงานเป็น
เรืองสำคัญ เจ้าหน้าทีจะต้องมีความรูพนฐานเกียวกับกายวิภาคศาสตร์
่
่
้ ้ื
่
อาการและอาการแสดงเฉพาะในแต่ละการบาดเจ็บรวมทังรูเ้ ทคนิคในการประเมิน
้
สภาพการบาดเจ็บแต่ละชนิด ปัจจัยเหล่านี้ สามารถพัฒนาได้ดวยการ
้
ฝึกปฏิบตและเริมต้นด้วยการเป็นผูชวยแพทย์สนามก่อน เมือปฏิบตบอยๆ
ั ิ
่
้่
่
ั ิ ่
ก็จะทำให้เกิดความชำนาญและมีทกษะมากยิงขึน
ั
่ ้
10.ความอดทน (Patience) เจ้ า หน้ า ที ่ จ ะต้ อ งมี ค วาม
อดทนต่ อ สิ ่ ง ต่ า งๆ ที ่ เ ข้ า มากระทบระหว่ า งการปฏิ บ ั ต ิ ง านเพราะ
การบาดเจ็ บ จากการเล่ น กี ฬ ามี ไ ด้ ห ลายชนิ ด และมี ค วามรุ น แรง
แตกต่างกัน ขณะประเมินสภาพการบาดเจ็บและให้การปฐมพยาบาล
เจ้าหน้าที่จะได้รับ ความกดดันอย่างมากทั้งจากผู้ฝึกสอน พ่อแม่และ
ผูทชนชอบในตัวนักกีฬารายนัน ๆ ดังนันเจ้าหน้าทีจะต้องมีความอดทน
้ ่ี ่ื
้
้
่
และอารมณ์มนคงอยูตลอดเวลา
่ั
่
11.ทักษะในการส่งต่อผูปวย (Referral Skills) เจ้าหน้าทีจะต้องมี
้ ่
่
ความรู ้ และสามารถตั ด สิ น ใจได้ ว ่ า การบาดเจ็ บ ใด จะต้ อ งส่ ง ต่ อ
สถานพยาบาล เพือได้รบ การรักษาทีทนเวลา และถูกต้องจากแพทย์ตอไป
่ ั
่ ั
่
12.แผนการทำงาน (Plan of Action) เจ้ า หน้ า ที ่ จ ะต้ อ งมี
การวางแผนในการปฏิบัติงาน แผนรองรับภาวะฉุกเฉิน มีการเตรียม
เครื ่ อ งมื อ เครื ่ อ งใช้ ใ ห้ พ ร้ อ ม มี ก ารวางแผนเกี ่ ย วกั บ การส่ ง ต่ อ
ผู ้ ป ่ ว ยและสถานพยาบาลที ่ ใ กล้ ท ี ่ ส ุ ด รวมทั ้ ง แพทย์ ท ี ่ ป รึ ก ษา
ซึ่งสามารถให้คำแนะนำได้ เมื่อการบาดเจ็บเกินขอบเขตความรู้ความ
สามารถของเจ้าหน้าที่

5
  

ขันตอนการประเมินสภาพการบาดเจ็บ (Assessment Proce้
dures)
ในการประเมินสภาพการบาดเจ็บจากการออกกำลังกายและเล่นกีฬา
แบ่งออกได้เป็น 2 ส่วนด้วยกัน คือ
1. การสำรวจการบาดเจ็บปฐมภูมิ ( Primary Survey)
2. การสำรวจการบาดเจ็บทุตยภูมิ (Secondary Survey)
ิ
ดังมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
การสำรวจการบาดเจ็บปฐมภูมิ หมายถึง การประเมินสภาพการ
บาดเจ็บทีเกียวข้องกับการประเมินกลไกพืนฐานของการมีชวต (Basic life
่ ่
้
ีิ
support machanisms) ซึ่งประกอบด้วย ทางเดินหายใจ (Airway)
การหายใจ (Breathing) และการไหลเวี ย นเลื อ ด (Circulation)
หรือทีรจกกันโดยทัวไปในชือ ABCs of life support ถึงแม้วา การบาดเจ็บ
่ ู้ ั
่
่
่
จากการออกกำลังกาย และเล่นกีฬามีโอกาสที่จะเกิดการบาดเจ็บที่
รุนแรงถึงขั้นคุกคามการมีชีวิตรอด (Life – threatening situations)
น้อยก็ตาม แต่เจ้าหน้าทีกจะต้องมีความรู้ และตระหนักถึงภาวะดังกล่าว
่ ็
นี ้ ต ลอดเวลา และสามารถปฏิ บ ั ต ิ ก าร ช่ ว ยชี ว ิ ต ได้ อ ย่ า งเหมาะสม
และทันท่วงที ในการประเมินสภาพการบาดเจ็บปฐมภูมิจะต้องทำด้วย
ความรวดเร็ว และสมบูรณ์ เนื่องจากระยะเวลาของการมีชีวิตรอด
มีอยู่จำกัด
เมื่อเกิดการบาดเจ็บขึ้น เจ้าหน้าที่จะต้องประเมินว่า ผู้บาดเจ็บ
ยังมีความรูสกตัวอยู่ หรือไม่ ถ้าผูบาดเจ็บไม่รสกตัว (unconscious) ให้รบ
้ึ
้
ู้ ึ
ี
ตรวจสอบทางเดินหายใจ (airway) เพื่อดูว่าทางเดินหายใจเปิดโล่ง
หรือมีอากาศผ่านเข้า–ออก ปอดหรือไม่ ถ้าไม่มให้ทำการเปิดทางเดินลม
ี
หายใจ โดยการแอ่นลำคอและศรีษะ ยกปลายคางขึ้น ( chin tilt )
และดึงขากรรไกรไปข้างหลัง ( jaw thrust ) หลังจากนั้นให้ตรวจสอบ
การหายใจ (breathing) ถ้าผูบาดเจ็บไม่หายใจ ให้ชวยโดยการเป่าลม
้
่
6
⌫
⌫


เข้าปอด ด้วยการใช้ ถุงลม (ambu bag) หรือใช้วธี เป่าปาก (mount to
ิ
mount ) ต่อไปให้ทำการประเมินการไหลเวียนเลือด ( circulation )
โดยการ ตรวจสอบชีพจร หรือการเต้นของหัวใจ ถ้าหัวใจไม่เต้นให้ทำการ
ฟืนคืน ชีวต (cardiorespiratory resuscitation ) หรือ เรียกอีกอย่างว่า
้
ิ
CPR อย่าง ไรก็ตาม ประเด็นสำคัญทีเจ้าหน้าทีควรตระหนักเกียวกับการ
่
่
่
ปฏิบัติดังที่ กล่าวมาข้างต้นนี้ คือ จะต้องดำเนินการด้วยความรวดเร็ว
ไม่ควรเกิน
1 – 2 นาที ไม่เช่นนันการช่วยชีวตอาจจะไม่ได้ผล
้
ิ
หรือเกิดความพิการ ตามมาได้
แต่ถาการบาดเจ็บ ไม่รนแรง ผูบาดเจ็บสามารถพูดคุยได้ โต้ตอบได้
้
ุ
้
ให้ทำการประเมินการบาดเจ็บทุตยภูมิ และให้การปฐมพยาบาลตามชนิด
ิ
และความรุนแรงของการบาดเจ็บต่อไป
การสำรวจการบาดเจ็บทุตยภูมิ (Secondary Survey) หมายถึง การ
ิ
ประเมินสภาพการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นทั้งหมด (evaluate all injuries)
ซึ ่ ง ในทางกี ฬ าเวชศาสตร์ (sport medicine) มี ก ารใช้ บ ่ อ ยมาก
เพือประเมินธรรมชาติ (nature) ตำแหน่ง (site) และความรุนแรง(severity)
่
ของการบาดเจ็บ โดยมีขนตอนการปฏิบตตามลำดับก่อน – หลัง ดังนี้ :
้ั
ั ิ
ซักถามอาการ(history) สังเกต (observation) และตรวจร่างกาย
(physical examination)
ในการซักถามอาการ ข้อมูลที่ควรจะได้จากการพูดคุย ได้แก่
การบาดเจ็บหลัก(primary complaint) กลไกการบาดเจ็บเป็นแบบทันที
ทันใด หรือค่อยเป็น มีการเจ็บปวดเรื้อรังมาก่อน เป็นการบาดเจ็บซ้ำที่
เดิมหรือไม่ ตำแหน่งทีบาดเจ็บ อาการแสดงทีเกียวข้องกับการบาดเจ็บ
่
่ ่
ระดับความรูสกตัว เป็นต้น
้ึ
ส่วนการสังเกต สิงสำคัญทีจะต้องดูคอ สิงแวดล้อมทีเกิดบาดเจ็บโดย
่
่
ื ่
่
รวม สังเกตอาการ การทรงตัว ความสามารถในการทำหน้าทีของส่วน
่
ของร่างกาย ตรวจสอบตำแหน่งที่บาดเจ็บโดยละเอียดรวมทั้งบริเวณ
ข้างเคียง ดูใบหน้าและนัยตา เป็นต้น

7
  

สำหรับการตรวจร่างกาย ทั้งนี้เพื่อตรวจสอบการบาดเจ็บให้
ถูกต้องและแม่นยำยิงขึน รวมทังตรวจสอบความรุนแรงของการบาดเจ็บ
่ ้
้
และ การสูญเสียการทำหน้าทีของอวัยวะ เทคนิคทีใช้ ในการตรวจร่างกาย
่
่
ได้แก่ การคลำ (palpation) การตรวจสอบการเคลือนที่ และการบาดเจ็บ
่
ต่อข้อต่อต่างๆ (movement procedures) การประเมินระบบประสาท
(neurological evaluation ) และตรวจสอบการไหลเวียนเลือด (circulatory evaluation) ข้อมูลทีได้จากการตรวจร่างกาย ได้แก่ ตำแหน่งทีเจ็บ
่
่
และ/หรือกดเจ็บ (pain and point tenderness) พิสยของการเคลือนที่ และ
ั
่
ความแข็งแรงของข้อต่อ(range of motion and strength) การบวม การเสีย
รูปรวมทังอาการ (signs)อืนๆทีเกิดจากอุบตเหตุ (swelling, deformity and
้
่ ่
ั ิ
others signs of trauma) เป็นต้น
เมือทำการประเมินสภาพการบาดเจ็บเสร็จ
่
เจ้าหน้าทีกสามารถให้การปฐมพยาบาลหรือช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม
่ ็
อย่างไรก็ตามเจ้าหน้าที่ควรตระหนักไว้เสมอว่าควรดำเนินการด้วย
ความรวดเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และให้ถูกต้อง สมบูรณ์มากที่สุด
เพื่อให้ผู้บาดเจ็บ ปลอดภัยที่สุดและสามารถกลับมาเล่นกีฬาหรือออก
กำลังกายได้ดังเดิม
อุบตเหตุจากการออกกำลังกายและเล่นกีฬาทีตองนำส่งสถานพยาบาล
ั ิ
่ ้
หรือโรงพยาบาล มีดงนี้
ั
1. หมดสติเพราะถูกกระแทก ( ถึงแม้จะฟืนคืนสติแล้วก็ตาม )
้
ผูบาดเจ็บจะต้องได้รบการตรวจเช็คสมองอย่างละเอียดจากแพทย์ทนที
้
ั
ั
เพราะการบาดเจ็บหรือโรคอาจดำเนินไปอย่างรวดเร็วจนแก้ไขไม่ทนก็ได้
ั
เช่น เลือดออกใต้กะโหลกศรีษะหรือในสมองทำให้มีเลือดคั่งกดทับ
สมองส่วนทีดี อาจทำให้พการไปครึงซีกหรือไม่รสกตัวไปตลอดชีวตใน
่
ิ
่
ู้ ึ
ิ
8
⌫
⌫


บางครังถ้ายังตรวจไม่พบในขณะนันอาจต้องดูแลผูปวย ต่อไปอย่าง
้
้
้ ่
ใกล้ชิดมากต้องตรวจอาการทางสมอง และระบบประสาททุกๆ
ครึงชัวโมง เพือจะได้แก้ไขและให้การรักษาเสียแต่เนินๆ
่ ่
่
่
ในบางครั้งมีอุบัติเหตุจากการกีฬาที่มีศรีษะกระทบกระแทก
แต่คนไข้ไม่หมดสติ สมองอาจได้รบการกระทบกระเทือน ทำให้มอาการใน
ั
ี
ภายหลั ง จากเลื อ ดที ่ อ อกอย่ า งช้ า ๆ ในสมองหรื อ ใต้ ก ะโหลกศรี ษ ะ
ซึงบางครังนานเป็นเดือนกว่าทีจะแสดงอาการออกมา อาการทีแสดงว่า
่
้
่
่
มีการบาดเจ็บทางสมองในเบืองต้นทีเตือนให้เราทราบว่าจะต้องส่งผูปวย
้
่
้ ่
ไปโรงพยาบาล ในทันที คือ การมีอาเจียนพุง และปวดศรีษะอย่างรุนแรง
่
ซึ่งบางครั้งผู้ป่วยอาจไม่รู้ตัวหรือถึงแม้จะรู้แต่ไม่สามารถบอกกล่าวได้
ดังนั้น คนใกล้ชิดจึงควรจะรู้ถึงอาการแสดงเหล่านี้ จะได้รีบนำผู้ป่วย
ส่งโรงพยาบาล ได้ทนเวลา และต้องได้รบการตรวจโดยละเอียด
ั
ั
2. กระดูกหักทุกชนิด
กีฬาที่ปะทะกันโดยเฉพาะรักบี้ และฟุตบอลนั้น อาจทำให้เกิด
กระดู ก หั ก ได้ บ ่ อ ยๆ ผลของกระดู ก หั ก นั ้ น จะเจ็ บ บวมมากทั น ที
เพราะเลือดออกมาก รูปร่างเปลียนไป เช่น โก่ง คด งอ สัน และเจ็บมาก
่
้
เมื่อมีการเคลื่อนไหว บางครั้งจะได้ยินเสียงกรอบแกรบ เหมือนเสียง
กระดาษ ทรายถู ก ั น ตรงบริ เ วณปลายที ่ ห ั ก เมื ่ อ มี ก ารเคลื ่ อ นไหว
นอกจากผู้ป่วยจะเสียเลือดและเจ็บปวดมากแล้ว
การนำส่งโรงพยาบาลช้าเกิน ไปจะทำให้มีสิ่งแทรกซ้อนเป็นอันตราย
ถึงพิการได้ การนำส่งสถานพยาบาลต้องใส่เฝือกชัวคราวไว้ เมือจะเคลือน
่
่
่
ย้ายผูปวย ทีสำคัญคืออย่าพยายามดึงกระดูกเข้าทีเอง
้ ่
่
่

9
  

3. ข้อเคลือน ข้อหลุดทุกชนิด
่
การบาดเจ็บทีทำให้ขอต่อเคลือนหรือหลุดจากการเล่นกีฬานันมักจะเป็นที่
่
้
่
้
ข้อไหล่ขอศอก และข้อนิวมือผูปวยจะเจ็บปวด บวมทีบริเวณ ข้อต่อเนือง
้
้
้ ่
่
่
จากเลือดที่ออก เพราะมีการฉีกขาดของ เยื่อหุ้มข้อ และเนื้อเยื่อ ที่อยู่
รอบๆ ข้อ อย่าพยายามดึงเข้าทีเองเพราะนอกจากจะยากเนืองจากกล้าม
่
่
เนื้อรอบข้อหดเกร็งแล้ว ยังจะไปทำอันตรายเนื้อเยื่อที่ดีอีก ถ้าทำไม่
ถู ก ต้ อ งจริ ง ๆจะทำให้ อ าการมากขึ ้ น ไปอี ก ควรพยุ ง หรื อ ประคอง
อวัยวะส่วน นั้นแล้วรีบส่งพบแพทย์ต่อโดยเร็ว เพื่อที่จะเอกซเรย์ดูว่ามี
กระดู ก แตก หรื อ หั ก อื ่ น ๆร่ ว มด้ ว ยหรื อ ไม่ เพราะบางครั ้ ง อาจมี
กระดูกแตกชินเล็กๆร่วมด้วย จากนันจึงค่อยดึงเข้าทีตอไป
้
้
่ ่
4. การตกเลือดจากอวัยวะภายใน
แบ่งเป็น 3 ตำแหน่งคือ ทรวงอก ช่องท้อง เชิงกรานและบันเอว
้
ทรวงอก กระทบกระแทกทีทรวงอกพบได้บอยๆ ในนักกีฬาทีมี
่
่
่
การปะทะกัน เช่น รักบี้ ฟุตบอล บางครั้งมีกระดูกซี่โครงหักทิ่มแทง
เนือปอด หรือปอดชอกช้ำจากการถูกกระแทก ทำให้มเลือดออกจากปอด
้
ี
ถูกขังอยูภายในช่องเยือหุมปอด กดทับปอดทำให้เล็กลงพืนทีปอดสำหรับ
่
่ ้
้ ่
หายใจน้อยลง ทำให้การหายใจลำบาก
ช่องท้อง เมื่อมีการกระทบกระแทกที่ช่องท้อง อวัยวะภายใน
บอบช้ำ หรือมีเลือดออกในช่องท้อง โดยเฉพาะนักกีฬาที่มีการกระแทก
รุนแรง เช่น มวยสากล มวยไทย หรือรักบี้ บางครังถึงตับแตก ม้ามแตก
้
ทำให้ปวดท้องมาก การตรวจสอบง่ายๆว่ามีเลือดออก ภายในช่อง ท้อง
หรือไม่ ทำได้โดยใช้มอคลำทีหน้าท้องไปทัวๆ ถ้าหน้าท้องผูบาดเจ็บ เกร็ง
ื
่
่
้
ต้ า นอยู ่ ต ลอดเวลาทุ ก ๆตำแหน่ ง ที ่ ค ลำ ให้ ส งสั ย ว่ า มี การตกเลื อ ด
ภายในช่องท้อง แต่ถ้าเกร็งต้านเฉพาะที่บาดเจ็บหรือกระทบกระแทก
แสดงว่าบอบช้ำบริเวณนัน ยังไม่มการตกเลือด
้
ี
เชิงกรานและบันเอว ตำแหน่งดังกล่าวนีเกียวข้องกับ ระบบ
้
้ ่
ทางเดินปัสสาวะ และระบบสืบพันธุ์ ถ้าปัสสาวะเป็นสีนำล้างเนือ แสดงว่า
้
้
10
⌫
⌫


เป็นการบาดเจ็บทีมเลือดออกทีไต ซึงอยูดานหลังตอนบนของบันเอว หรือ
่ ี
่ ่ ่ ้
้
ในปัสสาวะเป็นเลือดหรือมีเลือดออกทางช่องคลอด แสดงว่ามีการบาด
เจ็บทีระบบสืบพันธุและกระเพาะปัสสาวะ
่
์
สำหรับการฟกช้ำทีมอาการหรือสงสัยว่าจะเป็นอันตรายต่ออวัยวะภายใน
่ี
ก็ตองนำส่งโรงพยาบาลโดยด่วนเช่นกัน
้
5. บาดเจ็บทีตา มีอาการตาพร่า ตามัวหรือเห็นว่ามีเลือดออกใน
่
ตาดำซึงอันตรายมาก
่
6. บาดแผลลึกที่มีเลือดออกมากเป็ น บาดแผลที ่ ล ึ ก กว่ า ชั ้ น
ผิวหนัง บางครั้งเห็นไขมันปูดออกมา จะมีเลือดออกเพราะหลอดเลือด
บริ เ วณชั ้ น ใต้ ผ ิ ว หนั ง ฉี ก ขาด ต้ อ งทำการปฐมพยาบาล ห้ า มเลื อ ด
และส่งพบแพทย์ทันที ถ้าช้าไปนอกจากจะเสียเลือดแล้วโอกาสเกิดการ
ติดเชื้อมีได้ง่าย
7. สิ่งแปลกปลอมเข้าทางทวารที่เอาออกไม่ได้ ทุกทวารไม่ว่า
จะเป็น จมูก หู ช่องปาก ทวารหนักหรือทวารเบา ถ้ามีสงแปลกปลอมเข้า
่ิ
ไปติดค้างอยู่แล้ว ไม่สามารถเอาออกได้เองในที่เกิดเหตุ ต้องนำส่ง
โรงพยาบาล ใช้เครืองมือช่วยเอาออกโดยด่วน เพราะอาจมีอนตรายต่างๆ
่
ั
หรือความพิการตามมาอย่างคาดไม่ถง
ึ
8. บาดเจ็บทีไม่ทราบสาเหตุแต่ผปวยมีอาการมาก บางครังอยู่
่
ู้ ่
้
เฉยๆก็มีอาการบาดเจ็บที่รุนแรงมากขึ้นถึงแม้จะมีสาเหตุ แต่ เรา
ไม่ทราบหรือค้นไม่พบต้องให้แพทย์ตรวจโดยละเอียด
อาจใช้ เ ครื ่ อ งมื อ ประกอบการตรวจด้ ว ยเพื ่ อ หาสาเหตุ ท ี ่ แ ท้ จ ริ ง
และให้การรักษาที่ถูกต้องต่อไป
อย่างไรก็ตามการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬาหรือออกกำลังกายส่วนใหญ่แล้วมัก
เกิดกับ ระบบกระดูกและกล้ามเนือ โดยแบ่งกลุมการบาดเจ็บได้ดงต่อไปนี้
้
่
ั
1. การบาดเจ็บต่อกล้ามเนือและเอ็น (ฟกช้ำและฉีกขาด)
้
2. การบาดเจ็บต่อข้อ (หลุดและเคลือน)
่
3. การบาดเจ็บต่อเนื้อเยื่อที่เกิดร่วมกับกระดูกหัก
11
  

เมื่อเนื้อเยื่อ (กล้ามเนื้อ เอ็น เนื้อเยื่อรอบๆข้อ) ได้รับบาดเจ็บ
เส้นเลือดเล็กๆบริเวณนั้นจะฉีกขาดทำให้มีเลือดออกโดยรอบอย่าง
รวดเร็ ว มี ผ ลทำให้ เ กิ ด การบวมและกดเนื ้ อ เยื ่ อ ข้ า งเคี ย ง
ทำให้มีอาการปวดและยังทำให้การกลับคืนสภาพเดิมของเนื้อเยื่อช้าลง
เพราะฉะนั้นการปฐมพยาบาล จึงมีเป้าหมายเพื่อหยุด และควบคุม
การบวมจากหลอดเลือดที่ฉีกขาดดังกล่าว
หลักสำคัญในการปฐมพยาบาลเมือได้รบบาดเจ็บ ควรปฏิบตดงนี้
่
ั
ั ิ ั
1.อย่าตืนเต้นหรือตกใจ พยายามตังสติให้มน เพือการตัดสินใจที่
่
้
่ั ่
ถู ก ต้ อ ง แล้ ว จึ ง ทำการพยาบาลตามลำดั บ ความสำคั ญ ก่ อ นหลั ง
ด้วยความรวดเร็ว พร้อมทังพูดจาปลอบโยน และให้กำลังใจแก่ผบาดเจ็บ
้
ู้
ไปพร้อมกันด้วย
2.รีบให้การปฐมพยาบาลต่อการบาดเจ็บที่อาจเป็นอันตรายต่อ
ชีวิตก่อนอื่นโดยเร็ว เช่น หัวใจหยุดเต้น การหายใจขัด การตกเลือด
เป็นต้น
3.ให้ผทได้รบบาดเจ็บนอนราบ และเอียงศรีษะไป ข้างใดข้างหนึง
ู้ ่ี ั
่
ยกเว้ น ในกรณี ท ี ่ ม ี ห ลั ก ฐาน หรื อ เกิ ด การบาดเจ็ บ บริ เ วณลำคอ
ให้นอนศีรษะตรง โดยมีหมอนหรือวัสดุอนใดทีคล้ายๆ กับประกบศีรษะ
่ื
่
เพือประคองให้ศรษะอยูในท่าตรงตลอดเวลา
่
ี
่
4.ถ้ามีผบาดเจ็บหลายๆ รายพร้อมกัน ให้พจารณาดูความสำคัญ
ู้
ิ
ว่ารายใดควรได้รับการปฐมพยาบาลก่อน
5.ทำการปฐมพยาบาลอย่างนุ่มนวลและรวดเร็วด้วยเครื่องมือ
เครืองใช้ทสะอาด อย่านำเอาความสกปรกมาเพิม
่
่ี
่
6.ปลดเปลื ้ อ งเครื ่ อ งนุ ่ ม ห่ ม ที ่ ท ำให้ ก ารปฐมพยาบาลทำได้
ไม่ ส ะดวกหรื อ อาจรั ด แน่ น เกิ น ไป แล้ ว ใช้ ผ ้ า คลุ ม หรื อ ห่ ม แทนเพื ่ อ
ความอบอุน
่
12
⌫
⌫


7.อย่าให้น้ำ อาหารหรือยา แก่ผู้ป่วยโดยเฉพาะผู้ที่ได้รับการ
บาดเจ็บที่ช่องท้อง หรือหมดสติ เพราะอาจจะทำให้อาเจียน สำลัก
ก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรงยิ่งขึ้น
8.ไม่ควรให้ยาแก้ปวดแก่ผทได้รบการกระทบ กระเทือนทีสมอง
ู้ ่ี ั
่
เพราะจะทำให้บดบังอาการทางสมอง
9.ก่อนเคลือนย้ายผูปวยต้องให้การปฐมพยาบาลเรียบร้อยก่อน ทุกครัง
่
้ ่
้
10.การเคลือนย้ายผูปวยต้องทำให้ถกต้องตามลักษณะ การบาด
่
้ ่
ู
เจ็บนันๆ เช่น อาจจะใช้การประคอง หาม อุม หรือใช้เปล และควรติดตาม
้
้
ดูแลในระหว่างทางจนกระทังถึงมือแพทย์
่
หลักการปฐมพยาบาลบาดเจ็บจากการออกกำลังกายและเล่นกีฬา
เริมจากการตรวจร่างกายเพือประเมินลักษณะ ความรุนแรงของ
่
่
บาดแผลหรือการบาดเจ็บทีได้รบ รวมทังซักถามอาการจากนักกีฬา เช่น
่ ั
้
มีบวมหรือกดเจ็บ มีอาการปวดขณะเคลื่อนหรือขยับส่วนนั้นๆ หรือไม่
หลังจากได้ข้อมูลการบาดเจ็บแล้ว ให้เริ่มทำการปฐมพยาบาลโดย
ปฏิบตตามอักษรภาษาอังกฤษ ในคำว่า “ RICE” โดยที่ R ใช้แทนคำว่า
ั ิ
Rest I ใช้แทนคำว่า Ice C ใช้แทนคำว่า Compression E ใช้แทนคำว่า
Elevation รายละเอียดของการปฏิบตตามแนวทาง RICE มีดงนี้
ั ิ
ั
1.การพัก (Rest) การใช้งานส่วนของร่างกายที่ได้รับบาดเจ็บ
ทันทีนั่นคือ ให้หยุดการเล่นกีฬา โดยเฉพาะในช่วง 6 ชั่วโมงแรกของ
การบาดเจ็บ ซึ่งถือว่าเป็นช่วงที่สำคัญ ควรมีการได้พักการใช้งาน
อย่างไรก็ตาม ส่วนใหญ่แล้วการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา หรือออกกำลัง
กาย ต้องการเวลาพักประมาณ 48 ชัวโมง ก่อนทีจะมีการเริมเคลือนไหว
่
่
่ ่
(mobilization)อีกครัง
้
13
  

2.การใช้ความเย็น (Ice) โดยการประคบเย็นซึงมีจดมุงหมาย เพือ
่ ุ ่
่
ลดการมีเลือดออกบริเวณเนื้อเยื่อ ลดบวมและอาการปวดได้ ระยะเวลา
การประคบเย็นต้องกระทำให้เหมาะสมกับบริเวณที่ได้รับการบาดเจ็บ
โดยทั่วไปการประคบเย็นให้ประคบนานครั้งละ 10 ถึง 20 นาที หยุด
ประคบ 5 นาที ทำเช่นนีไปเรือยๆ จนกระทังไม่บวมหรือทำวันละ 2 ถึง 3
้ ่
่
ครัง วิธทนยมใช้ในการประคบเย็นได้แก่
้ ี ่ี ิ
- การใช้เป็นถุงเย็น (ice pack) ซึงจะคงความเย็นได้ประมาณ 45
่
– 60 นาที และต้องมีผาห่อไว้ไม่ให้ถงเย็นสัมผัสโดยตรงกับผิวหนัง
้
ุ
- การใช้ ถ ุ ง ใส่ น ้ ำ แข็ ง ผ้ า ชุ บ น้ ำ เย็ น ในกรณี ท ี ่ ไ ม่ ม ี ถ ุ ง เย็ น
หรือบริเวณของการบาดเจ็บกว้างเกินขนาดของถุงเย็น
- การพ่นด้วยสเปรย์เย็น (cooling spray) อาจใช้ลดปวดเฉพาะทีได้
่
ชั่วคราว สามารถใช้ได้กับบริเวณที่เนื้อเยื่อใต้ผิวหนังไม่หนา เช่น คาง
สันหมัด ข้อเท้า
3.การพันผ้ายืด (Compression bandage) เพื่อกดไม่ให้มี
เลือดออก ในเนือเยือมาก มักใช้รวมกับการประคบเย็น เพือให้ได้ประโยชน์
้ ่
่
่
จากทั้งสองด้านร่วมกัน การพันผ้ายืดควรพันให้กระชับส่วนที่บาดเจ็บ
และควรใช้ผาสำลีผนใหญ่รองไว้ให้หนาๆ โดยรอบก่อนพันด้วยผ้ายืดควร
้
ื
พันผ้ายืดคลุมเหนือและใต้ตอส่วนทีบาดเจ็บ
่
่
4.การยก (Elevation) ส่วนของร่างกายทีได้รบบาดเจ็บให้สงกว่า
่ ั
ู
ระดับหัวใจ เพื่อให้เลือดไหลกลับสู่หัวใจได้สะดวก เช่น การนอนวางขา
หรื อ เท้ า บนหมอน ในกรณี ท ี ่ น ั ่ ง ให้ ว างเท้ า บนเก้ า อี ้ เป็ น ต้ น
ในกรณีบาดเจ็บรุนแรง ควรยกสูงไว้ประมาณ 24 – 48 ชัวโมง นอกจาก
่
นี ้ ก ารยกส่ ว นของร่ า งกายที ่ ไ ด้ ร ั บ บาดเจ็ บ ให้ ส ู ง ยั ง ช่ ว ยใน
การลดการกดของน้ ำ นอกเซลล์ ท ี ่ ห ลั ่ ง ออกมาสู ่ เ นื ้ อ เยื ่ อ บริ เ วณนั ้ น
ทำให้ลดการบวมลงได้
14
⌫
⌫


อย่างไรก็ตาม บางหลักปฏิบตอาจเพิมการป้องกันการบาดเจ็บเพิม
ั ิ
่
่
(Protection) ด้วยซึ่งอาจจะพบได้ในบางตำราทำให้หลักการปฏิบัติเพิ่ม
จาก“RICE” เป็น “PRICE” เช่น ในกรณีบาดเจ็บรุนแรงที่ สงสัยว่า
มีอันตราย ต่อข้อต่อ หรือกระดูกควรดาม(splint)ด้วยอุปกรณ์ที่แข็งและ
ขนาด เหมาะสม กับ อวัยวะที่ได้รับการบาดเจ็บซึ่งหา ได้ในบริเวณ
ที่เกิดเหตุเพื่อประคองอวัยวะและป้องกัน(Protection)ไม่ให้มีการบาด
เจ็บต่อเนื้อเยื่อเพิ่มเติม
ข้อควรหลีกเลียง
่
ควรหลีกเลี่ยงการใช้ความร้อนในรูปแบบต่างๆ ในระยะแรก (48
ชัวโมง) ของการบาดเจ็บเพราะจะทำให้เส้นเลือดขยายตัว มีเลือดออกใน
่
บริเวณนันเพิมขึน นำไปสูการบวมของเนือเยือโดยรอบ และจะมีอาการ
้ ่ ้
่
้ ่
ปวดมากขึน การหายจะช้าลง
้
สำหรับการดูแลปฐมพยาบาลการบาดเจ็บในแต่ละส่วน เป็นดังนี้
1. การปฐมพยาบาลบาดเจ็บบริเวณกล้ามเนื้อ
2. การปฐมพยาบาลบาดเจ็บบริเวณเอ็น
3. การปฐมพยาบาลบาดเจ็บบริเวณข้อต่อ
4. การปฐมพยาบาลบาดเจ็บบริเวณกระดูก
1. การปฐมพยาบาลบาดเจ็บบริเวณกล้ามเนือ
้
กล้ามเนื้อที่ใช้ในการเคลื่อนไหว วิ่งหรือออกกำลังกาย คือ กล้าม
เนื้อลาย โดยแต่ละใยของกล้ามเนื้อจะรวมกันเป็นมัดกล้ามเนื้อ การ
ออกกำลัง กายกล้ามเนือให้แข็งแรงจะทำให้กล้ามเนือนันทนต่อการ ปวด
้
้ ้
เมือย และอักเสบได้ การเสียงต่อการบาดเจ็บก็มนอย กล้ามเนือมีหน้าที่
่
่
ี ้
้
ยืดและหด ถ้ามีความแข็งแรงยืดหยุ่นดี เมื่อเกิดแรงกระตุก กระชาก
ทำให้เกิดการฉีกขาดได้ยาก การบาดเจ็บของกล้ามเนือมีดงนี้
้ ั
15
  

1. ตะคริว (cramp)
เกิดจากการหดเกร็งตัวชัวคราวของกล้ามเนือนันๆ ทังมัด
่
้ ้
้
ทำให้เห็นเป็นก้อนหรือเป็นลูก จะมีอาการเจ็บปวดมาก และอยู่นอก
เหนือการบังคับจากจิตใจ อาจจะเกิดได้บ่อยๆ และซ้ำที่เดิม หรือ
เป็นหลายๆ มัดพร้อมกันได้ สาเหตุเกิดจากกล้ามเนื้อ ไม่แข็งแรง
หรือไม่ได้รบการฝึกอย่างเพียงพอ เมือวิงหรือใช้งานมาก เกินไป นอกจาก
ั
่ ่
นี้การที่ร่างกายขาดเกลือแร่บางชนิด เช่น แคลเซียม ฯลฯ หรือใน
สภาพอากาศทีเย็นหรือการรัดผ้ายึดแน่นเกินไป เลือดมาเลียงกล้ามเนือ
่
้
้
น้อย จะยิงก่อให้เกิดตะคริวได้งายขึน
่
่ ้
การปฐมพยาบาล
ในขณะที่กำลังเล่นกีฬาแล้วเกิดเป็นตะคริวให้หยุดพักทันที
จากนั้นเหยียดและยืดกล้ามเนื้อมัดนี้ให้เต็มที่ประมาณ 5 – 10 นาที
เมือคลายการเกร็งตัวแล้วจึงนวดต่อด้วยน้ำมันนวดทีรอนด้วยอุงมือเบาๆ
่
่้
้
ห้ามจับบีบหรือขยำ เพราะจะทำให้กล้ามเนือหดเกร็งตัวเกิดตะคริวได้อก
้
ี
หลังจากนันต้องบริหารกล้ามเนือมัดนันเป็นพิเศษ เพือให้แข็งแรงอยูเสมอ
้
้
้
่
่
จะได้ไม่เกิดอาการขึ้นมาอีก โดยทั่วไปแล้วตะคริวมักเกิดกับกล้าม
เนือมัดใหญ่ๆ เช่น กล้ามเนือน่อง แต่กสามารถพบได้ในกล้ามเนือมัดเล็กๆ
้
้
็
้
เช่น กล้ามเนือแขน กล้ามเนือระหว่างกระดูกซีโครง (intercostal muscles)
้
้
่
หลักการทัวไปในการปฐมพยาบาลตะคริวในกรณีทไม่สามารถยืดกล้ามเนือ
่
่ี
้
(passive stretching) ได้ให้ผบาดเจ็บพัก และหายใจเข้าออกลึกๆ (deep
ู้
breathing) และประคบด้วยความเย็น (ice pack) อาการเจ็บปวดกล้าม
เนือจากตะคริวก็จะค่อยทุเลาลง
้
ตัวอย่างเมื่อขณะเล่นกีฬาแล้วเกิดเป็นตะคริวที่น่อง มีอาการปวดที่
น่องมาก คลำดูจะแข็งเป็นลูก ใช้ขาข้างนันต่อไปไม่ได้ การปฐมพยาบาล
้
คือ ให้นักกีฬาผู้นั้นพัก ถอดรองเท้าและถุงเท้าออกให้หมด นั่งหรือ
นอนราบ ให้เข่าอยูในท่าเหยียดตรง ค่อยๆ ใช้มอดันปลายเท้าให้กระดก
่
ื
ขึนเต็มทีอย่างช้าๆ ทำอยูในท่านีประมาณ 5 – 10 นาที กล้ามเนือน่องจะ
้
่
่
้
้
16
⌫
⌫


คลายการเกร็งตัว อาการปวดจะลดลง จากนันให้นอนคว่ำ ทาน้ำมันนวดที่
้
ร้อน และนวดด้วยอุ้งมือเบาๆ เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดให้มา
ทีกล้ามเนือมัดนันมากขึน
่
้
้
้
2. กล้ามเนือบวม
้
เป็นการบาดเจ็บทีเกิดขึนจากการบวมของกล้ามเนือในช่องว่างทีจำกัด
่ ้
้
่
เพราะมีเยือพังผืดทีคอนข้างเหนียวห่อหุมอยูทำให้ปวดมาก ปวดอยูตลอด
่
่ ่
้ ่
่
เวลา กินยาแก้ปวดก็ไม่หาย ถ้าลองเหยียดกล้ามเนือมัดนัน จะเจ็บปวด
้
้
อย่าง มาก สาเหตุเกิดจากการที่มีเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อมัดนั้น
หรือกลุ่มนั้นน้อย พบในนักวิ่งที่เริ่มต้นฝึกซ้อมหนักเกินไป กล้ามเนื้อ
ยังไม่คนเคยและแข็งแรงพอ มักพบในกล้ามเนือทีขา (หน้าแข้งและน่อง)
ุ้
้ ่
ในรายทีมอาการเกิดขึน ถึงแม้เจ็บแล้วก็ยงฝืนวิงต่อ จะเป็นอันตรายมาก
่ ี
้
ั
่
เพราะกล้ามเนื้อที่บวมจะไปกดทับเส้นประสาท หลอดเลือด ทำให้
ไม่ ม ี ป ระสาทสั ่ ง งานและกล้ า มเนื ้ อ ตาย จึ ง เกิ ด เป็ น อั ม พาต หรื อ
ถึงกับเสียขาไปเลยก็ได้
การปฐมพยาบาล
เมือมีอาการเกิดขึนให้หยุดเล่นกีฬาทันที แล้วประคบด้วยผ้าชุบ
่
้
น้ำอุน ยกเท้าสูง หลังจากอาการดีขนแล้ว ต้องฝึกโดยบริหารกล้ามเนือ
่
้ึ
้
กลุ่มนี้ให้แข็งแรง เพื่อให้ทนการบาดเจ็บชนิดนี้ได้ และเป็นการป้องกัน
ไม่ให้เกิดอาการนี้อีก ค่อยๆ เพิ่มความหนักของการฝึกทีละน้อยๆ และ
สังเกตอาการด้วย ถ้ามีอาการผิดปกติให้หยุดทันที ระหว่างนีกตองบริหาร
้ ็ ้
กล้ า มเนื ้ อ นี ้ ใ ห้ แ ข็ ง แรงควบคู ่ ก ั น ไปด้ ว ย ก็ จ ะสามารถฝึ ก หนั ก เพิ ่ ม
ไปได้เรือยๆ ในรายทีมอาการมากดังกล่าวแล้ว เมือพบแพทย์จะต้องรีบ
่
่ ี
่
ทำการผ่าตัดรักษาทันที โดยเปิดช่องว่างของพังผืดทีหอหุมกล้ามเนือออก
่ ่ ้
้
เพื่อให้กล้ามเนื้อขยายตัวได้เต็มที่ ไม่ให้กล้ามเนื้อที่บวมอยู่ในเนื้อที่
จำกัดตาย หรือไปกดทับเส้นประสาทและเส้นเลือด ซึงถ้าช้าไปหรือให้การ
่
รักษาไม่ถกต้องจะทำให้สวนปลายของอวัยวะ เช่น ขาเกิดพิการหรือตาย
ู
่
หมดโอกาสเล่นกีฬาอีกต่อไป
17
  

3. กล้ามเนือชอกช้ำ (contusion)
้
เกิดจากถูกกระแทกที่กล้ามเนื้อด้วยของแข็ง ทำให้กล้ามเนื้อ
ชอกช้ำและหลอดเลือดที่มาเลี้ยงกล้ามเนื้อฉีกขาด มีเลือดออกคั่งอยู่ใน
กล้ามเนือ ถ้าเป็นมากหรือได้รบการรักษาไม่ถกต้อง เลือดทีคงจะไปจับ
้
ั
ู
่ ่ั
กันเป็นก้อนเดียว เกิดเป็นพังผืดทำให้กล้ามเนื้อทำงานได้ไม่เต็มที่
และเกิดการเจ็บปวดได้
การปฐมพยาบาล
เมื่อได้รับบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อจากการกระทบกระแทก ให้หยุด
พักทันที พร้อมกับประคบน้ำแข็งประมาณ 15 – 20 นาที เพือป้องกัน
่
ไม่ให้เลือดออก หรือออกน้อยทีสด จากนันใช้ผายืด หรือผ้าพันทับกล้าม
ุ่
้
้
เนื้อนั้น เพื่อจะได้มีแรงกดหรือหยุดการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อมัดนั้น
หลังจากนัน 1- 2 วัน ให้ประคบน้ำร้อนหรือนวดด้วยน้ำมันทีรอนเบาๆ
้
่้
เพื่อให้เลือดที่ออกอยู่กระจายตัวและถูกดูดซึมกลับไป ในที่สุดจะได้ไม่มี
การยึดติดด้วยพังผืดที่ จะทำให้ประสิทธิภาพของกล้ามเนือเสียไป
้
4. กล้ามเนือฉีกขาด (strain)
้
เกิดจาก 2 สาเหตุ คือ แรงกระทบจากภายนอกและ ตัวกล้ามเนือ
้
เอง ดังนี้
1.เกิดจากแรงกระทบภายนอก เกิดจากการถูกกระทบด้วย
ของแข็งอย่างแรง ทำให้กล้ามเนือฉีกขาดและมีเลือดออกมาก
้
2.จากตัวกล้ามเนือเอง เมือวิงหลบหลุม หรือเปลียนท่าการเล่น
้
่ ่
่
กีฬาทันที ทำให้มีการหดเกร็งของกล้ามเนื้อมัดนั้นโดยฉับพลัน เกิด
การฉีกขาดขึน ทังนีเพราะกล้ามเนือมัดนันไม่แข็งแรง มีความทนทานน้อย
้ ้ ้
้
้
เมื่อเกิดการฉีกขาดของกล้ามเนื้อทันที เราสามารถแบ่งระดับ
ง่ายๆโดยใช้มือหรือนิ้วคลำดู จะพบร่องบุ๋ม ตรงตำแหน่งที่ฉีกขาด
แต่ระยะต่อมาจะบอกได้ยากเพราะจะมี เลือดออกมากลบร่องตรงที่
ฉีกขาดทำให้ตรวจ หรือวินจฉัย แบ่งระดับ ความรุนแรงได้ยาก
ิ
18
⌫
⌫


การปฐมพยาบาล
เมือมีการฉีกขาดของกล้ามเนือเกิดขึน การปฐมพยาบาลทัวไปก็คอ
่
้
้
่
ื
หยุดเล่นกีฬาทันที แล้วประคบน้ำแข็ง 15 – 20 นาที พัก 5 นาที
สลั บ กั น ไป จนไม่ ม ี ก ารบวมเพิ ่ ม ขึ ้ น พร้ อ มๆกั บ ใช้ ผ ้ า ยื ด รั ด ให้
เกิดแรงกดบริเวณนั้น ต้องระวังไม่ รัดแน่นจนเกินไป และให้ยกส่วน
ปลายสูง เพือให้เลือดไหลเวียนกลับสูหวใจได้สะดวก เป็นการลดอาการ
่
่ ั
บวม หลัง จากนัน 1 – 2 วัน ให้ประคบน้ำร้อน เพือให้หลอดเลือดบริเวณ
้
่
นันขยายตัว จะได้ดดซับเอาเลือดทีออกกลับไป เมือเริมมีกล้ามเนือฉีกขาด
้
ู
่
่ ่
้
ควรตรวจดูโดยเร็ว โดยการคลำเพือดูระดับการฉีกขาด ถ้าเป็นการฉีกขาด
่
ระดับที่ 1 เส้นใยกล้ามเนือ (muscle fibers) ฉีกขาดน้อยกว่า 10% บวม
้
เล็กน้อยหรือไม่บวม ปวดไม่มาก วิงหรือเคลือนไหวต่อไปได้ ประมาณ
่
่
3 วัน อาการจะหายไป ถ้าเป็นระดับที่ 2 เส้นใยกล้ามเนื้อฉีกขาด 1050% บวมมากขึน ปวดมาก เล่นกีฬาต่อไปไม่ได้ พอเดินได้ หลังจากปฐม
้
พยาบาลแล้ว ต้องทำให้กล้ามเนื้อที่ฉีกขาดนั้นอยู่นิ่ง ๆ เพื่อให้ไม่มี
แผลเป็น หรือมีพงผืดจับน้อยทีสด โดยการยึดด้วยปลาสเตอร์(เฝือกอ่อน)
ั
ุ่
3 สัปดาห์ก็จะหายเป็นปกติ ถ้ามีการเคลื่อนไหว จะทำให้มีแผลเป็น
ใหญ่ แ ละมี พ ั ง ผื ด เกิ ด ขึ ้ น ประสิ ท ธิ ภ าพของกล้ า มเนื ้ อ จะลดลงไป
ถ้าตรวจพบโดยใช้นิ้วคลำพบร่องบุ๋มใหญ่ พบว่าเป็นระดับที่ 3 เส้นใย
กล้ า มเนื ้ อ มี ก ารฉี ก ขาด 50-100% บวมมาก ปวดมากหรื อ น้ อ ย
(ถ้าฉีกขาดสมบูรณ์) เล่นกีฬาหรือเดินต่อไปได้ เพราะกล้ามเนื้อไม่
สามารถทำงานได้ ต้องรีบส่งพบแพทย์ทันที เพราะต้องรักษาโดย
การผ่าตัด เย็บต่อกล้ามเนือและเข้าเฝือก การให้ยาพวกต้านการอักเสบ
้
รับประทานจะทำให้หายเร็วขึน
้

19
  

2. การปฐมพยาบาลบาดเจ็บบริเวณเอ็น
เอ็นเป็นตัวเชือมระหว่างกล้ามเนือและกระดูก สามารถยืด และ หด
่
้
ตัวได้ ทำให้เกิดการเคลื่อนไหว ประกอบด้วยเอ็นและเยื่อหุ้มเอ็น
การบาดเจ็บทีเอ็นนีมกเกิดจากการใช้งานมากเกินไป หรือ เกิดจากการ
่
้ ั
บาดเจ็ บ โดยทางอ้อม ส่ว นการบาดเจ็บโดยตรงจากการถูกกระทบ
กระแทกนัน พบได้ไม่บอยนัก (ส่วนใหญ่จะเป็นเอ็นทีอยูในตำแหน่งตืนๆ
้
่
่ ่
้
เช่น ทีขอมือ เป็นต้น) การบาดเจ็บเกียวกับเอ็นมีดงต่อไปนี้
่ ้
่
ั
1.ปลอกหุมเอ็นอักเสบ(tenovaginitis)
้
ที่พบได้บ่อยๆ จากการเล่นกีฬา คือบริเวณข้อมือและนิ้วมือ
เนื่องจากการใช้งานมากเกินไป เช่น การเหวี่ยง บิด หรือสะบัดบริเวณ
ข้อมือ และการบีบกำ หรือเกร็งบริเวณนิ้วมือ ทำให้ปลอกหุ้มเอ็น
มีการอักเสบ และหนาตัวขึ้น ทำให้ช ่องที่เอ็น จะลอดผ่านแคบลง
เกิ ด การติ ด ขั ด ในการเคลื ่ อ นที ่ ข องเอ็ น เกิ ด การเจ็ บ ปวดเมื ่ อ มี ก าร
เคลื่อนไหวมีอาการบวม กดเจ็บ และจะเจ็บมากเมื่อมีการบิดข้อมือ
หรือยืดนิ้วออก
การปฐมพยาบาล
ในรายเฉียบพลันให้การปฐมพยาบาลแบบทัวๆ ไป คือ ใช้นำเย็น
่
้
ประคบ พักให้ยาแก้ปวดและยาต้านการอักเสบนาน 3 สัปดาห์ พร้อมๆ
กั บ การรั ก ษาทางกายภาพบำบั ด หลั ง จากเวลาผ่ า นไป 2 วั น เช่ น
ประคบร้อนหรือคลื่นเหนือเสียง (อัลตราซาวด์) ถ้าไม่หายให้ฉีดยา
ต้านการอักเสบสเตียรอยด์เฉพาะที่ในรายที่เป็นเรื้อรังอาจต้องผ่าตัด
เปิดปลอกหุมเอ็นออก เพือให้เอ็นเคลือนไหวได้สะดวก การป้องกัน คือ
้
่
่
ต้อง หลีกเลียงการเล่นกีฬาทีหนักเกินไปในทันที ต้องค่อยๆเพิมการฝึก
่
่
่
ทีละน้อยๆ และบริหารกล้ามเนื้อให้แข็งแรงอยู่เสมอ(เอ็นที่อยู่ต่อกับ
กล้ามเนือ จะแข็งแรงตามไปด้วย)
้
20
⌫
⌫


2.เยือหุมเอ็นอักเสบ (paratendinitis)
่ ้
จะมีอาการปวดบวม และกดเจ็บรอบๆ เอ็นนันๆ มักพบทีเอ็นร้อย
้
่
หวาย เอ็นใต้ตาตุมด้านนอก สาเหตุเกิดจากการใช้งานมากเกินไป เช่น
่
วิงมากเกินไปทำให้เกิดการอักเสบขึน การอักเสบอาจเป็นแบบเฉียบพลัน
่
้
มี ก ารอั ก เสบเกิ ด ขึ ้ น ที ล ะน้ อ ยสะสมไว้ จ นเกิ ด อาการขึ ้ น มาทั น ที
หรือเป็นแบบเรือรัง ซึงทังทีมอาการแล้ว แต่กยงใช้งาน หรือเล่นกีฬาต่อไป
้
่ ้ ่ ี
็ั
เรือยๆ หรือเพียงแค่พกชัวคราวแล้วไปเล่นกีฬาอีกทังๆ ทียงไม่หาย พวก
่
ั ่
้ ่ั
นี้มักต้องลงเอยด้วยการผ่าตัดรักษา
การปฐมพยาบาล
เหมือนๆกับการปฐมพยาบาลปลอกเอ็นอักเสบ คือ ประคบเย็น พัก
และ ให้ยา ในรายทีเป็นการอักเสบครังแรกจริงๆ อาจไม่ตองให้ยา เพียง
่
้
้
แต่พักก็สามารถหายได้ แต่ต้องไม่ลืมการบริหารและฟื้นฟูกล้ามเนื้อ
และเอ็นนั้นให้แข็งแรงก่อนเสมอเพื่อจะได้ไม่เกิดการบาดเจ็บซ้ำเดิมอีก
3.เอ็นอักเสบ (tendinitis)
เป็นการอักเสบของตัวเอ็นเอง มักพบภายในส่วนกลางของเส้นเอ็น
เพราะมีเลือดมาเลี้ยงน้อย เกิดจากการเล่นกีฬา หรือซ้อมหนักเกินไป
ใช้งานมากเกินไป หรือเกิดจากอุปกรณ์การเล่นไม่ถกต้อง เช่น รองเท้าพืน
ู
้
แข็งเกินไป พื้นที่หรือสนามเล่นกีฬาแข็งมาก หรือมีการโหมเล่นกีฬา
หนักทันที หรือเพิมความเร็วจากการวิงอย่างกะทันหัน ทีพบได้บอยๆ คือ
่
่
่
่
เอ็นร้อยหวายอักเสบ เอ็นข้อมืออักเสบ จะมีอาการปวด บวม เจ็บ กดเจ็บ
และมักมีอาการปวดในตอนเช้าวันรุ่งขึ้น หลังจากเล่นกีฬาหรือฝึกซ้อม
มากเกินไป เมือสายๆ อาการจะน้อยลงไป แต่เมือเริมเล่นกีฬาจะมีอาการ
่
่ ่
ปวดอีกอาการมักเป็นเรื้อรัง และแสดงอาการมากน้อยต่างกันออกไป
นักกีฬาทีมรางกายและสมรรถภาพไม่สมบูรณ์ หรือเล่นกีฬาด้วยเทคนิค
่ ี่
ที ่ ไ ม่ ถ ู ก ต้ อ ง จะเสี ่ ย งต่ อ การเกิ ด การบาดเจ็ บ ในลั ก ษณะนี ้ ไ ด้ ง ่ า ย
ทีพบได้บอยๆ คือ เอ็นบริเวณข้อไหล่อกเสบ หรือเอ็นร้อยหวายอักเสบ
่
่
ั
21
  

เช่น นักกีฬาวอลเลย์บอล และนักแบดมินตันทีตองตบลูกหนักหน่วง และ
่ ้
บางครัง ต้องใช้งานถีมาก หรือในนักวิงทีซอมหนักและวิงบนพืนทีแข็ง
้
่
่ ่ ้
่
้ ่
เป็นต้น
การปฐมพยาบาล
ในรายที่มีอาการเฉียบพลันให้ใช้หลักการปฐมพยาบาลทั่วไป คือ
พักและประคบเย็น มักไม่ค่อยใช้วิธีผ่าตัดรักษา การให้พักและให้
รับประทานยาต้านการอักเสบ ร่วมกับการทำกายภาพบำบัด ทำให้อาการ
หายเป็นปกติได้ การป้องกันนั้นต้องค่อยๆเพิ่มการเล่นกีฬามากขึ้นทีละ
น้ อ ย อย่ า หั ก โหมฝึ ก หรื อ เพิ ่ ม ความเร็ ว ในการเล่ น อย่ า งกะทั น หั น
และต้องบริหารกล้ามเนื้อให้แข็งแรงอยู่เสมอ เพื่อให้มีเอ็นที่แข็งแรง
ทีสำคัญคือ เทคนิคการเล่นกีฬา และอุปกรณ์กฬาต้องถูกต้อง
่
ี
4. เอ็นฉีกขาด
มักพบในนักกีฬาสูงอายุ (มากกว่า 40 ปี) เนืองจากการเล่นกีฬาชนิด
่
ทีจะต้องเปลียนทิศทางและความเร็วทันทีทนใด เช่น วิงหลบหลุมหลบบ่อ
่
่
ั
่
หรือบิดหมุนตัวทันที เกิดการฉีกขาดของเอ็นเป็นบางส่วน หรือมีการ
ฉีกขาดโดยสมบูรณ์ มักพบทีเอ็นร้อยหวายซึงเสือม เนืองจากการใช้งาน
่
่ ่
่
มาก หรือพวกทีเคยรักษาโดยการฉีดยา สเตียรอยด์เฉพาะทีเข้าไปในเอ็น
่
่
(อันตรายมาก) เมื่อมีการฉีกขาดขณะเล่นกีฬาจะมีอาการเจ็บปวดมาก
บวม เล่นกีฬาต่อไปไม่ได้ เพราะเดินหรือวิงไม่ได้ ถ้าฉีกขาดมากถึงกับขาด
่
อย่าง สมบูรณ์จะทำให้กระดกข้อเท้าลงไม่ได้ เป็นต้น
การปฐมพยาบาล
ให้ใช้หลักการปฐมพยาบาลทั่วไปดังได้กล่าวมาแล้ว จากนั้นควร
ให้แพทย์ทำการรักษาต่อ ถ้าไม่สามารถหายไปได้เองใน 3 วัน แสดงว่ามี
การฉีกขาดเป็นบางส่วน ต้องยึดหรือล็อกให้อยู่นิ่งๆ โดยใช้เฝือกปูน
หรือเฝือกอ่อน( พันผ้าปลาสเตอร์ )นาน 3 สัปดาห์ แต่ถามีการฉีกขาดโดย
้
สมบูรณ์ หรือเกือบสมบูรณ์ ( 50 – 100% ) ต้องรักษาโดยการผ่าตัดเย็บ
22
Sport injury handbook
Sport injury handbook
Sport injury handbook
Sport injury handbook
Sport injury handbook
Sport injury handbook
Sport injury handbook
Sport injury handbook
Sport injury handbook
Sport injury handbook
Sport injury handbook
Sport injury handbook
Sport injury handbook
Sport injury handbook
Sport injury handbook
Sport injury handbook
Sport injury handbook
Sport injury handbook
Sport injury handbook
Sport injury handbook

Contenu connexe

Tendances

การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...Chutchavarn Wongsaree
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...Utai Sukviwatsirikul
 
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อSarawut Fnp
 
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551Utai Sukviwatsirikul
 
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีการจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีtechno UCH
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009taem
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชเรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชZiwapohn Peecharoensap
 
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนคู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนVorawut Wongumpornpinit
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)piyarat wongnai
 
Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceBasic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceLoveis1able Khumpuangdee
 
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Utai Sukviwatsirikul
 

Tendances (20)

การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
 
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
คู่มือการให้ความรู้ เพื่อจัดการภาวะความดันโลหิตสูงด้วยตนเอง Handbook for hype...
 
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
การปฏิบัติตามหลักฐานเชิงประจักษ์ (Evidence-Based Practice: EBP) 2551
 
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีการจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
 
Cpg for management of gout 2555
Cpg for management of gout 2555Cpg for management of gout 2555
Cpg for management of gout 2555
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
Hepatocellular carcinoma
Hepatocellular carcinomaHepatocellular carcinoma
Hepatocellular carcinoma
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชเรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
 
Cpr Aed (Thai)
Cpr Aed (Thai)Cpr Aed (Thai)
Cpr Aed (Thai)
 
Guideline for management of gout
Guideline for management of goutGuideline for management of gout
Guideline for management of gout
 
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
แนวทางเวชปฏิบัติการออกกำลังกายในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง 2555
 
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนคู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)
 
Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with referenceBasic mechanical ventilation sep 2552 with reference
Basic mechanical ventilation sep 2552 with reference
 
Disc Herniation
Disc HerniationDisc Herniation
Disc Herniation
 
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
 
Wound care
Wound careWound care
Wound care
 

En vedette

8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพWatcharin Chongkonsatit
 
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาลการเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาลAphisit Aunbusdumberdor
 
Managing sports injuries
Managing sports injuriesManaging sports injuries
Managing sports injuriesnatjkeen
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพUtai Sukviwatsirikul
 
มลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำมลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำGreen Greenz
 
bioDensity Overview
bioDensity OverviewbioDensity Overview
bioDensity OverviewGreg Maurer
 
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559Utai Sukviwatsirikul
 
อ้วนและอ้วนลงพุง
อ้วนและอ้วนลงพุงอ้วนและอ้วนลงพุง
อ้วนและอ้วนลงพุงUtai Sukviwatsirikul
 
มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศGreen Greenz
 
การสื่อสารเพื่อสุขภาพ Health Communication
การสื่อสารเพื่อสุขภาพ Health Communicationการสื่อสารเพื่อสุขภาพ Health Communication
การสื่อสารเพื่อสุขภาพ Health CommunicationUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการปฐมพยาบาล (FIRST AID GUIDE)
คู่มือการปฐมพยาบาล (FIRST AID GUIDE)คู่มือการปฐมพยาบาล (FIRST AID GUIDE)
คู่มือการปฐมพยาบาล (FIRST AID GUIDE)Utai Sukviwatsirikul
 
ขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูลขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูลGreen Greenz
 
Upper limb (week 2 3)
Upper limb (week 2   3)Upper limb (week 2   3)
Upper limb (week 2 3)Leesah Mapa
 
Sports Performance
Sports PerformanceSports Performance
Sports Performancenatjkeen
 

En vedette (20)

1. a&p skeletal 1
1. a&p skeletal 11. a&p skeletal 1
1. a&p skeletal 1
 
Pocket Guide to Lung Function Tests - sample chapter
Pocket Guide to Lung Function Tests - sample chapterPocket Guide to Lung Function Tests - sample chapter
Pocket Guide to Lung Function Tests - sample chapter
 
Lesson 2 joints
Lesson 2   jointsLesson 2   joints
Lesson 2 joints
 
8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ8 การส่งเสริมสุขภาพ
8 การส่งเสริมสุขภาพ
 
บทที่ 3
บทที่  3บทที่  3
บทที่ 3
 
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาลการเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
การเคลื่อนไหวเชิงกลทางการพยาบาล
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
การดำรงชีพ
การดำรงชีพการดำรงชีพ
การดำรงชีพ
 
Managing sports injuries
Managing sports injuriesManaging sports injuries
Managing sports injuries
 
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพการปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
การปฏิรูประบบสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
 
มลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำมลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำ
 
bioDensity Overview
bioDensity OverviewbioDensity Overview
bioDensity Overview
 
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559
แนวทางการตรวจสุขภาพที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน 2559
 
อ้วนและอ้วนลงพุง
อ้วนและอ้วนลงพุงอ้วนและอ้วนลงพุง
อ้วนและอ้วนลงพุง
 
มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศ
 
การสื่อสารเพื่อสุขภาพ Health Communication
การสื่อสารเพื่อสุขภาพ Health Communicationการสื่อสารเพื่อสุขภาพ Health Communication
การสื่อสารเพื่อสุขภาพ Health Communication
 
คู่มือการปฐมพยาบาล (FIRST AID GUIDE)
คู่มือการปฐมพยาบาล (FIRST AID GUIDE)คู่มือการปฐมพยาบาล (FIRST AID GUIDE)
คู่มือการปฐมพยาบาล (FIRST AID GUIDE)
 
ขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูลขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูล
 
Upper limb (week 2 3)
Upper limb (week 2   3)Upper limb (week 2   3)
Upper limb (week 2 3)
 
Sports Performance
Sports PerformanceSports Performance
Sports Performance
 

Similaire à Sport injury handbook

การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลการจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลโรงพยาบาลสารภี
 
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain clinic pnk
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3taem
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookUtai Sukviwatsirikul
 
2 trauma care & outcome _ update 17 เมย. 2560
2  trauma care & outcome  _ update 17 เมย. 25602  trauma care & outcome  _ update 17 เมย. 2560
2 trauma care & outcome _ update 17 เมย. 2560Krongdai Unhasuta
 

Similaire à Sport injury handbook (7)

การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาลการจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
การจัดบริการอาชีวอนามัยในโรงพยาบาล
 
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
 
Myofascialpain fibromyalgia
Myofascialpain fibromyalgiaMyofascialpain fibromyalgia
Myofascialpain fibromyalgia
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3Thai Emergency Medicine Journal no. 3
Thai Emergency Medicine Journal no. 3
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV HandbookMiddle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
Middle East Respiratory Syndrome Coronavirus : MERS-CoV Handbook
 
2 trauma care & outcome _ update 17 เมย. 2560
2  trauma care & outcome  _ update 17 เมย. 25602  trauma care & outcome  _ update 17 เมย. 2560
2 trauma care & outcome _ update 17 เมย. 2560
 

Plus de Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Plus de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

Sport injury handbook

  • 1.
  • 2. หนังสือชุดข้อแนะนำการออกกำลังกายสำหรับเจ้าหน้าทีสาธารณสุข ่ ข้อแนะนำการดูแลการบาดเจ็บจากการออกกำลังกายและเล่นกีฬา สำหรับเจ้าหน้าทีสาธารณสุข ่ ศ. ฃลินิก นพ. ธีรวัฒน์ กุลทนันทน์ สาขาเวชศาสตร์การกีฬา ภาฃวิชาศัลยศาสตร์ออร์โธปิดฃส์ฯ ิ ฃณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล ที่ปรึกษา คณะกรรมการทีปรึกษาทางวิชาการด้านการออกกำลังกายเพือสุขภาพ ่ ่ กระทรวงสาธารณสุข บรรณาธิการ สมชาย ลี่ทองอิน นวลศรี วิจารณ์ อำนวย ภูภัทรพงศ์ นงพะงา ศิวานุวฒน์ ั จัดพิมพ์โดย กองออกกำลังกายเพือสุขภาพ ่ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทรศัพท์ : 0-2590-4588 โทรสาร : 0-2590-4584
  • 3. คำนำ คำนำ หนังสือชุด ทบทวนการจัดสิงแวดล้อมทีเอือต่อการ ออกกำลังกายและ ่ ่ ้ มาตรการทางภาษีน้ี กรมอนามัยโดย กองออกกำลังกายเพือสุขภาพได้รวบรวม ่ จากการทบทวน องค์ความรูของผูเชียวชาญ ซึงเป็นคณะกรรมการทีปรึกษา ทาง ้ ้ ่ ่ ่ วิชาการด้านการออกกำลังกายเพือสุขภาพ กระทรวง สาธารณสุข วัตถุประสงค์ ่ ในการจัดพิมพ์เพือเป็นองค์ความรู้ ด้านการออกกำลังกายสำหรับเจ้าหน้าที่ ่ สาธารณสุขและ ผูเกียวข้องได้ใช้เป็นแนวทางในการแนะนำให้ประชนชน ทัวไป ้ ่ ่ ทุกกลุมวัย ทุกกลุมอาชีพ ทังผูทมสขภาพดีอยูแล้วหรือ ผูทเจ็บป่วยเล็กน้อยก็ตาม ่ ่ ้ ้ ่ี ี ุ ่ ้ ่ี ได้เคลือนไหวออกแรง/ออกกำลัง ได้อย่างเหมาะสมกับตนเอง เพือสุขภาพที่ ่ ่ สมบูรณ์แข็งแรง ไม่เป็นภาระ แก่ผอน เพือชีวตบันปลายทีมความสุข ู้ ่ื ่ ิ ้ ่ ี กรมอนามัย หวังเป็นอย่างยิงว่าเจ้าหน้าที่ สาธารณสุข ผูเกียวข้องทุก ่ ้ ่ ท่านจะได้ประโยชน์จากหนังสือ เล่มนีเป็นอย่างมาก ส่วนข้อแนะนำทีลงสู่ ้ ่ ประชาชน กรมอนามัยจะดำเนินการต่อจากการจัดพิมพ์หนังสือชุดนี้ ต่อไป
  • 4. สารบัญ หน้า การบาดเจ็บจากการออกกำลังกายและเล่นกีฬา 1 การประเมินสภาพการบาดเจ็บ 2 ขั้นตอนการประเมินสภาพการบาดเจ็บ 6 การแนะนำการออกกำลังกายในวัยทำงาน 4 สารบัญ อุบัติเหตุจากการออกกำลังกายและเล่นกีฬาที่ต้องนำส่ง สถานพยาบาลหรือโรงพยาบาล 8 หลักการสำคัญในการปฐมพยาบาลเมื่อได้รับบาดเจ็บ 12 หลักการปฐมพยาบาลบาดเจ็บจากการออกกำลังกายและเล่นกีฬา 13 การปฐมพยาบาลกบาดเจ็บบริเวณล้ามเนื้อ 15 การปฐมพยาบาลกบาดเจ็บบริเวณเอ็น 20 การปฐมพยาบาลกบาดเจ็บบริเวณข้อต่อ 23 การปฐมพยาบาลกบาดเจ็บบริเวณกระดูก ตำแหน่งของกระดูกร้าวทีพบได้บอยๆ จากการเล่นกีฬา ่ ่ การเตรียมเครื่องมือปฐมพยาบาล 29 33 36 เอกสารอ้างอิง 38 ภาคผนวก 39
  • 5. 1 การบาดเจ็บจากการออกกำลังกายและเล่นกีฬา โดยทัวไปมักเกิดจาก 2 สาเหตุหลัก คือ ่ 1.การกระแทกอย่างรวดเร็วและรุนแรง (contact and acute injury) 2.การใช้งานอวัยวะมากเกินหรือซ้ำซาก (overused injury) สำหรับการดูแลผู้ที่ได้รับการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬาเบื้องต้น จะดู แ ลในส่ ว นการบาดเจ็ บ ที ่ เ กิ ด ทั น ที ใ นสนามเป็ น ส่ ว นใหญ่ ความรุนแรงของการบาดเจ็บสามารถแบ่งได้หลายระดับดังนี้ 1.การบาดเจ็บเล็กน้อย เช่น การมีแผลถลอก ผิวหนังฉีกขาด มีอาการตะคริวและมีการยืดของเอ็นยึดข้อมากเกิน (sprains) ในการออกกำลั ง กายนั ้ น หากออกกำลั ง กายไม่ ถ ู ก วิ ธ ี ไม่เหมาะสมกับสภาพร่างกายของผู้เล่น หรือออกกำลังกายในสภาพ แวดล้อมทีไม่เหมาะสมก็อาจทำให้เกิดการบาดเจ็บได้ ตังแต่เกิดจากบาด ่ ้ เจ็บเล็กน้อยถึงบาดเจ็บที่รุนแรงถึงขั้นเป็นอันตรายต่อชีวิต การดูแลผูทได้รบบาดเจ็บจากการออกกำลังกายหรือเล่น ้ ่ี ั กีฬาจะได้ผลดีตองกระทำอย่างถูกวิธและถูกเวลาโดยขึนกับการวินจฉัย ้ ี ้ ิ อย่างถูกต้อง ประสบการณ์ และอาศัยฃวามร่วมมือจากหลายฝ่าย ทังจากแพทย์ ผูฝกสอน นักกายภาพบำบัด รวมทังตัวผูเล่นด้วย ้ ้ ึ ้ ้ 765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543 765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543 765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543 765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543 765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543 765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543 765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543 765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543 765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543 765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543 765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543 765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543 765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543 765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543 765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543 765432109876543212109876543210987654321098765432121098765432109876543210987654321210987654321098765432109876543 ข้อแนะนำการดูแลการบาดเจ็บจากการออกกำลังกายและเล่นกีฬา สำหรับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ⌫  ⌫
  • 6.    2.การบาดเจ็บรุนแรงปานกลาง เช่น เอ็นยึดข้อมีการฉีกขาด บางส่วน (sprain) ส่วนทีได้รบบาดเจ็บบวม (swelling)และมีอาการปวด ่ ั (pain) มีอาการเจ็บเมือเคลือนไหวอวัยวะดัง กล่าวรวมทังการเคลือนไหว ่ ่ ้ ่ ทำได้นอยลง (decrease range of motion) ้ 3.การบาดเจ็บรุนแรงมาก (severe injuries) เช่น มีกระดูกหัก หรือข้อเคลือน มีการเสียรูปของอวัยวะและมีอาการปวดอย่างมาก ่ 4.การบาดเจ็บที่เป็นอันตรายต่อชีวิต (life threatening) เช่น มีการบาดเจ็บที่รุนแรงต่อบริเวณลำคอหรือศรีษะ มีอาการหมดสติ มีอาการแสดงความผิดปกติของการทำงานของหัวใจ (heart attack) การบาดเจ็บจากการกีฬานันมีความรุนแรงแตกต่างกันตามขนาดของกำลัง ้ อัตราความเร็วความแข็ง ความอ่อน ความทื่อ หรือคมของสิ่งของ ที่มากระทบ ทำให้อวัยวะและเนื้อเยื่อได้รับบาดเจ็บ ซึ่งเป็นอันตรายต่อ นักกีฬา อาจทำให้เสียชีวตได้ถาไม่ได้รบการ บำบัดรักษา อย่างถูกต้อง ิ ้ ั และทันท่วงที การตัดสินใจว่าจะนำผู้ป่วยส่งสถานพยาบาล หรือโรง พยาบาล หรือไม่นนจะต้องทำโดยเร็วทีสด อย่าลองปฐมพยาบาลอยูนาน ้ั ุ่ ่ เพราะอาจสายเกินแก้หรือมาช้าเกินไป ในฐานะที่เป็นเจ้าหน้าที่สาธารณสุขซึ่งต้องดูแลผู้ได้รับบาดเจ็บ จากการออกกำลังกายและเล่นกีฬา ทั้งบทบาททางตรง เช่น ทำหน้า ที ่ แ พทย์ ส นามหรื อ บทบาทในทางอ้ อ ม เช่ น การพบการบาดเจ็ บ โดยบังเอิญ ดังนัน เจ้าหน้าทีดงกล่าวควรจะต้องมีความรู้ ความสามารถ ้ ่ ั ในการ ปฏิบตการช่วยเหลือผูบาดเจ็บให้ได้รบการดูแล และความปลอดภัย ั ิ ้ ั ในเบื้องต้นได้ การประเมินสภาพการบาดเจ็บ (Athletic injury assessment) ก่อนให้การช่วยเหลือผูบาดเจ็บ เจ้าหน้าทีตองทำการประเมินสภาพ ้ ่ ้ การบาดเจ็บของผู้ป่วยก่อน จึงจะสามารถให้การดูแลที่เหมาะสมได้ โดยทัวๆไป มีขอควรคำนึง (Athletic Injury Assessment Considerations) ่ ้ 2
  • 7. ⌫ ⌫  ทีเจ้าหน้าทีควรพิจารณาดังนี้ ่ ่ 1. ทำการประเมิ น การบาดเจ็ บ เมื ่ อ ไร (When to Assess) เวลาที่เหมาะสมที่สุดในการเริ่มต้นการประเมินสภาพการบาดเจ็บ คือ ให้ทำการประเมินให้เร็วทีสดเท่าทีจะทำได้ ทังนีเนืองจาก เมือเวลาผ่านไป ุ่ ่ ้ ้ ่ ่ อาการและอาการแสดง (signs and symptoms) ทีเกิดจากการบาดเจ็บ ่ ซึงช่วยในการประเมินได้ถกต้อง อาจจะถูกปิดบัง ด้วยอาการปวด (pain) ่ ู บวม (swelling) อักเสบ (inflammation) หรือ จากการหดเกร็งของ กล้ามเนือ (muscle spasms)ได้ อย่างไรก็ตามการดำเนินของโรคที่ เกิดขึน ้ ้ หลัง การบาดเจ็บ มีการเปลี่ยนแปลงต่อเนื่องไปเรื่อย ๆ ( continuous process) จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่เจ้าหน้าที่จะต้องทำการ ประเมิน สภาพการบาดเจ็บเป็นระยะ ๆ (reassessment) 2. ทำการประเมินสภาพการบาดเจ็บที่ไหน (Where to Assess) การบาดเจ็บจากการเล่นกีฬาและออกกำลังกายสามารถเกิดได้ทงในสนามแข่งขัน ้ั สถานที่ฝึกซ้อม หรือที่อื่นใดก็ตามที่สามารถเล่นหรือออกกำลังกายได้ ในทางทฤษฎีแล้วสถานที่ที่เกิดเหตุบาดเจ็บเป็นที่ที่ถูกต้องที่สุดใน การประเมินสภาพการบาดเจ็บ แต่อย่างไรก็ตาม ในทางปฏิบตไม่สามารถ ั ิ ประเมินได้ในทุกกรณี ยกตัวอย่างเช่น ในสนามการแข่งขันเมือเกิดการ ่ บาดเจ็บจำเป็นจะต้องนำผู้บาดเจ็บออกจากสนาม แข่งขันก่อนเพื่อ ให้การแข่งขันดำเนินต่อไปได้ 3. ทักษะในการประเมินสภาพการบาดเจ็บ (Personal Assessment Skills)การประเมิ น สภาพการบาดเจ็ บ ไม่ ใ ช่ ง านที ่ ท ำได้ ง ่ า ย เนืองจากผูทได้รบบาดเจ็บมักมีความตืนเต้น กลัว และกังวลเกียวกับการ ่ ้ ่ี ั ่ ่ บาดเจ็บของตนเองทำให้ยากในการประเมินดังนั้น การประเมินใน ภาวะดั ง กล่ า ว จำเป็ น ต้ อ งอาศั ย ทั ก ษะ เฉพาะตั ว มากพอสมควร เจ้าหน้าที่ควรได้รับการฝึกวิธีตรวจร่างกาย ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บและ การช่วยเหลือเบื้องต้น และควรเข้ารับการฝึกเพื่อ ทบทวนความรู้ และฝึกทักษะของตนเองเป็นระยะ ๆ 3
  • 8.    4. รูจกนักกีฬา (Know the Athletes) ยิงผูประเมินมีความคุนเคย ้ั ่ ้ ้ หรือรู้จักกับนักกีฬามาก่อน ยิ่งทำให้การประเมินสภาพการบาดเจ็บ และการดูแลทำได้ดยงขึน ประวัตการเจ็บป่วย และภาวะสุขภาพปัจจุบน ี ่ิ ้ ิ ั ของนักกีฬา ควรได้รบการบันทึก ซึงสามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการ ั ่ ดูแลผู้ได้รับบาดเจ็บได้ดียิ่งขึ้น ตัวอย่างข้อมูลเกี่ยวกับตัวนักกีฬา ทีเจ้าหน้าทีควรทราบ ได้แก่ การบาดเจ็บ (current injuries) การเป็นโรค ่ ่ การเป็นภูมแพ้ เป็นต้น ิ 5. รูจกกีฬา (Know the Sport) ในการปฏิบตงานของ เจ้าหน้าทีให้ ้ั ั ิ ่ ได้ดี เจ้าหน้าที่จะต้องรู้จักการเล่น กีฬาแต่ละชนิดและ ความเสี่ยงที่ จะเกิดการบาดเจ็บต่ออวัยวะต่างๆ รวมทังความรุนแรง ทีอาจเกิดขึนได้ ้ ่ ้ เพือทีจะได้เตรียมตัว ในการ ดูแลได้ถกต้องและเหมาะสม ซึงต่างจากผูฝก ่ ่ ู ่ ้ ึ สอนกีฬา ซึงรูจก หรือ ถนัดเฉพาะ กีฬาทีตนฝึกเท่านัน ่ ้ั ่ ้ 6. ทำให้มีสติ ไม่ตื่นเต้น (Remain Calm)เมื่อเกิดการบาดเจ็บ มีบอย ๆ ครัง ทีงานแรก ซึงเจ้าหน้าทีตองทำคือการทำให้ผบาดเจ็บมีสติ ่ ้ ่ ่ ่ ้ ู้ ไม่ตื่นเต้น ไม่กลัวหรือไม่วิตกกังวลกับอาการบาดเจ็บที่ได้รับมากนัก คำพูดและการกระทำของเจ้าหน้าทีสามารถช่วยได้มาก แต่อย่างไรก็ตาม ่ การประเมินสภาพการบาดเจ็บก็ไม่ควรกระทำด้วยความรีบด่วนเกินไป เพราะอาจจะทำให้เกิดความผิดพลาดได้ 7. มีความตื่นตัวอยู่ตลอดเวลา (Be Alert) เจ้าหน้าที่จะต้องมี ความตื่นตัวอยู่ตลอดเวลา ขณะที่ปฏิบัติหน้าที่ เจ้าหน้าที่จะต้องทำ มากกว่ า การดู ก ารแข่ ง ขั น เพื ่ อ ความสนุ ก หรื อ ชั ย ชนะในเกมส์ การแข่งขันเท่านั้น แต่จะต้องสังเกตการเล่น การเคลื่อนที่ในการเล่น ของนั ก กี ฬ าทุ ก คน และให้ ค วามสนใจเป็ น พิ เ ศษสำหรั บ นั ก กี ฬ า ที่มีปัญหาสุขภาพหรือการบาดเจ็บอยู่ก่อน 8. มีวิจารณญาณในการตัดสินใจที่ดี (Use Good Judgment) ในการประเมินสภาพการบาดเจ็บ เจ้าหน้าทีจะต้องทำด้วยความรวดเร็ว ่ 4
  • 9. ⌫ ⌫  ถูกต้องและแม่นยำโดยเฉพาะในเกมส์การแข่งขันที่สำคัญๆจะต้อง สามารถตัดสินใจได้วานักกีฬาควรกลับไปเล่นต่อหรือรอสังเกต อาการ ่ 9. ประสบการณ์ (Experience) ประสบการณ์ในการทำงานเป็น เรืองสำคัญ เจ้าหน้าทีจะต้องมีความรูพนฐานเกียวกับกายวิภาคศาสตร์ ่ ่ ้ ้ื ่ อาการและอาการแสดงเฉพาะในแต่ละการบาดเจ็บรวมทังรูเ้ ทคนิคในการประเมิน ้ สภาพการบาดเจ็บแต่ละชนิด ปัจจัยเหล่านี้ สามารถพัฒนาได้ดวยการ ้ ฝึกปฏิบตและเริมต้นด้วยการเป็นผูชวยแพทย์สนามก่อน เมือปฏิบตบอยๆ ั ิ ่ ้่ ่ ั ิ ่ ก็จะทำให้เกิดความชำนาญและมีทกษะมากยิงขึน ั ่ ้ 10.ความอดทน (Patience) เจ้ า หน้ า ที ่ จ ะต้ อ งมี ค วาม อดทนต่ อ สิ ่ ง ต่ า งๆ ที ่ เ ข้ า มากระทบระหว่ า งการปฏิ บ ั ต ิ ง านเพราะ การบาดเจ็ บ จากการเล่ น กี ฬ ามี ไ ด้ ห ลายชนิ ด และมี ค วามรุ น แรง แตกต่างกัน ขณะประเมินสภาพการบาดเจ็บและให้การปฐมพยาบาล เจ้าหน้าที่จะได้รับ ความกดดันอย่างมากทั้งจากผู้ฝึกสอน พ่อแม่และ ผูทชนชอบในตัวนักกีฬารายนัน ๆ ดังนันเจ้าหน้าทีจะต้องมีความอดทน ้ ่ี ่ื ้ ้ ่ และอารมณ์มนคงอยูตลอดเวลา ่ั ่ 11.ทักษะในการส่งต่อผูปวย (Referral Skills) เจ้าหน้าทีจะต้องมี ้ ่ ่ ความรู ้ และสามารถตั ด สิ น ใจได้ ว ่ า การบาดเจ็ บ ใด จะต้ อ งส่ ง ต่ อ สถานพยาบาล เพือได้รบ การรักษาทีทนเวลา และถูกต้องจากแพทย์ตอไป ่ ั ่ ั ่ 12.แผนการทำงาน (Plan of Action) เจ้ า หน้ า ที ่ จ ะต้ อ งมี การวางแผนในการปฏิบัติงาน แผนรองรับภาวะฉุกเฉิน มีการเตรียม เครื ่ อ งมื อ เครื ่ อ งใช้ ใ ห้ พ ร้ อ ม มี ก ารวางแผนเกี ่ ย วกั บ การส่ ง ต่ อ ผู ้ ป ่ ว ยและสถานพยาบาลที ่ ใ กล้ ท ี ่ ส ุ ด รวมทั ้ ง แพทย์ ท ี ่ ป รึ ก ษา ซึ่งสามารถให้คำแนะนำได้ เมื่อการบาดเจ็บเกินขอบเขตความรู้ความ สามารถของเจ้าหน้าที่ 5
  • 10.    ขันตอนการประเมินสภาพการบาดเจ็บ (Assessment Proce้ dures) ในการประเมินสภาพการบาดเจ็บจากการออกกำลังกายและเล่นกีฬา แบ่งออกได้เป็น 2 ส่วนด้วยกัน คือ 1. การสำรวจการบาดเจ็บปฐมภูมิ ( Primary Survey) 2. การสำรวจการบาดเจ็บทุตยภูมิ (Secondary Survey) ิ ดังมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ การสำรวจการบาดเจ็บปฐมภูมิ หมายถึง การประเมินสภาพการ บาดเจ็บทีเกียวข้องกับการประเมินกลไกพืนฐานของการมีชวต (Basic life ่ ่ ้ ีิ support machanisms) ซึ่งประกอบด้วย ทางเดินหายใจ (Airway) การหายใจ (Breathing) และการไหลเวี ย นเลื อ ด (Circulation) หรือทีรจกกันโดยทัวไปในชือ ABCs of life support ถึงแม้วา การบาดเจ็บ ่ ู้ ั ่ ่ ่ จากการออกกำลังกาย และเล่นกีฬามีโอกาสที่จะเกิดการบาดเจ็บที่ รุนแรงถึงขั้นคุกคามการมีชีวิตรอด (Life – threatening situations) น้อยก็ตาม แต่เจ้าหน้าทีกจะต้องมีความรู้ และตระหนักถึงภาวะดังกล่าว ่ ็ นี ้ ต ลอดเวลา และสามารถปฏิ บ ั ต ิ ก าร ช่ ว ยชี ว ิ ต ได้ อ ย่ า งเหมาะสม และทันท่วงที ในการประเมินสภาพการบาดเจ็บปฐมภูมิจะต้องทำด้วย ความรวดเร็ว และสมบูรณ์ เนื่องจากระยะเวลาของการมีชีวิตรอด มีอยู่จำกัด เมื่อเกิดการบาดเจ็บขึ้น เจ้าหน้าที่จะต้องประเมินว่า ผู้บาดเจ็บ ยังมีความรูสกตัวอยู่ หรือไม่ ถ้าผูบาดเจ็บไม่รสกตัว (unconscious) ให้รบ ้ึ ้ ู้ ึ ี ตรวจสอบทางเดินหายใจ (airway) เพื่อดูว่าทางเดินหายใจเปิดโล่ง หรือมีอากาศผ่านเข้า–ออก ปอดหรือไม่ ถ้าไม่มให้ทำการเปิดทางเดินลม ี หายใจ โดยการแอ่นลำคอและศรีษะ ยกปลายคางขึ้น ( chin tilt ) และดึงขากรรไกรไปข้างหลัง ( jaw thrust ) หลังจากนั้นให้ตรวจสอบ การหายใจ (breathing) ถ้าผูบาดเจ็บไม่หายใจ ให้ชวยโดยการเป่าลม ้ ่ 6
  • 11. ⌫ ⌫  เข้าปอด ด้วยการใช้ ถุงลม (ambu bag) หรือใช้วธี เป่าปาก (mount to ิ mount ) ต่อไปให้ทำการประเมินการไหลเวียนเลือด ( circulation ) โดยการ ตรวจสอบชีพจร หรือการเต้นของหัวใจ ถ้าหัวใจไม่เต้นให้ทำการ ฟืนคืน ชีวต (cardiorespiratory resuscitation ) หรือ เรียกอีกอย่างว่า ้ ิ CPR อย่าง ไรก็ตาม ประเด็นสำคัญทีเจ้าหน้าทีควรตระหนักเกียวกับการ ่ ่ ่ ปฏิบัติดังที่ กล่าวมาข้างต้นนี้ คือ จะต้องดำเนินการด้วยความรวดเร็ว ไม่ควรเกิน 1 – 2 นาที ไม่เช่นนันการช่วยชีวตอาจจะไม่ได้ผล ้ ิ หรือเกิดความพิการ ตามมาได้ แต่ถาการบาดเจ็บ ไม่รนแรง ผูบาดเจ็บสามารถพูดคุยได้ โต้ตอบได้ ้ ุ ้ ให้ทำการประเมินการบาดเจ็บทุตยภูมิ และให้การปฐมพยาบาลตามชนิด ิ และความรุนแรงของการบาดเจ็บต่อไป การสำรวจการบาดเจ็บทุตยภูมิ (Secondary Survey) หมายถึง การ ิ ประเมินสภาพการบาดเจ็บที่เกิดขึ้นทั้งหมด (evaluate all injuries) ซึ ่ ง ในทางกี ฬ าเวชศาสตร์ (sport medicine) มี ก ารใช้ บ ่ อ ยมาก เพือประเมินธรรมชาติ (nature) ตำแหน่ง (site) และความรุนแรง(severity) ่ ของการบาดเจ็บ โดยมีขนตอนการปฏิบตตามลำดับก่อน – หลัง ดังนี้ : ้ั ั ิ ซักถามอาการ(history) สังเกต (observation) และตรวจร่างกาย (physical examination) ในการซักถามอาการ ข้อมูลที่ควรจะได้จากการพูดคุย ได้แก่ การบาดเจ็บหลัก(primary complaint) กลไกการบาดเจ็บเป็นแบบทันที ทันใด หรือค่อยเป็น มีการเจ็บปวดเรื้อรังมาก่อน เป็นการบาดเจ็บซ้ำที่ เดิมหรือไม่ ตำแหน่งทีบาดเจ็บ อาการแสดงทีเกียวข้องกับการบาดเจ็บ ่ ่ ่ ระดับความรูสกตัว เป็นต้น ้ึ ส่วนการสังเกต สิงสำคัญทีจะต้องดูคอ สิงแวดล้อมทีเกิดบาดเจ็บโดย ่ ่ ื ่ ่ รวม สังเกตอาการ การทรงตัว ความสามารถในการทำหน้าทีของส่วน ่ ของร่างกาย ตรวจสอบตำแหน่งที่บาดเจ็บโดยละเอียดรวมทั้งบริเวณ ข้างเคียง ดูใบหน้าและนัยตา เป็นต้น 7
  • 12.    สำหรับการตรวจร่างกาย ทั้งนี้เพื่อตรวจสอบการบาดเจ็บให้ ถูกต้องและแม่นยำยิงขึน รวมทังตรวจสอบความรุนแรงของการบาดเจ็บ ่ ้ ้ และ การสูญเสียการทำหน้าทีของอวัยวะ เทคนิคทีใช้ ในการตรวจร่างกาย ่ ่ ได้แก่ การคลำ (palpation) การตรวจสอบการเคลือนที่ และการบาดเจ็บ ่ ต่อข้อต่อต่างๆ (movement procedures) การประเมินระบบประสาท (neurological evaluation ) และตรวจสอบการไหลเวียนเลือด (circulatory evaluation) ข้อมูลทีได้จากการตรวจร่างกาย ได้แก่ ตำแหน่งทีเจ็บ ่ ่ และ/หรือกดเจ็บ (pain and point tenderness) พิสยของการเคลือนที่ และ ั ่ ความแข็งแรงของข้อต่อ(range of motion and strength) การบวม การเสีย รูปรวมทังอาการ (signs)อืนๆทีเกิดจากอุบตเหตุ (swelling, deformity and ้ ่ ่ ั ิ others signs of trauma) เป็นต้น เมือทำการประเมินสภาพการบาดเจ็บเสร็จ ่ เจ้าหน้าทีกสามารถให้การปฐมพยาบาลหรือช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม ่ ็ อย่างไรก็ตามเจ้าหน้าที่ควรตระหนักไว้เสมอว่าควรดำเนินการด้วย ความรวดเร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และให้ถูกต้อง สมบูรณ์มากที่สุด เพื่อให้ผู้บาดเจ็บ ปลอดภัยที่สุดและสามารถกลับมาเล่นกีฬาหรือออก กำลังกายได้ดังเดิม อุบตเหตุจากการออกกำลังกายและเล่นกีฬาทีตองนำส่งสถานพยาบาล ั ิ ่ ้ หรือโรงพยาบาล มีดงนี้ ั 1. หมดสติเพราะถูกกระแทก ( ถึงแม้จะฟืนคืนสติแล้วก็ตาม ) ้ ผูบาดเจ็บจะต้องได้รบการตรวจเช็คสมองอย่างละเอียดจากแพทย์ทนที ้ ั ั เพราะการบาดเจ็บหรือโรคอาจดำเนินไปอย่างรวดเร็วจนแก้ไขไม่ทนก็ได้ ั เช่น เลือดออกใต้กะโหลกศรีษะหรือในสมองทำให้มีเลือดคั่งกดทับ สมองส่วนทีดี อาจทำให้พการไปครึงซีกหรือไม่รสกตัวไปตลอดชีวตใน ่ ิ ่ ู้ ึ ิ 8
  • 13. ⌫ ⌫  บางครังถ้ายังตรวจไม่พบในขณะนันอาจต้องดูแลผูปวย ต่อไปอย่าง ้ ้ ้ ่ ใกล้ชิดมากต้องตรวจอาการทางสมอง และระบบประสาททุกๆ ครึงชัวโมง เพือจะได้แก้ไขและให้การรักษาเสียแต่เนินๆ ่ ่ ่ ่ ในบางครั้งมีอุบัติเหตุจากการกีฬาที่มีศรีษะกระทบกระแทก แต่คนไข้ไม่หมดสติ สมองอาจได้รบการกระทบกระเทือน ทำให้มอาการใน ั ี ภายหลั ง จากเลื อ ดที ่ อ อกอย่ า งช้ า ๆ ในสมองหรื อ ใต้ ก ะโหลกศรี ษ ะ ซึงบางครังนานเป็นเดือนกว่าทีจะแสดงอาการออกมา อาการทีแสดงว่า ่ ้ ่ ่ มีการบาดเจ็บทางสมองในเบืองต้นทีเตือนให้เราทราบว่าจะต้องส่งผูปวย ้ ่ ้ ่ ไปโรงพยาบาล ในทันที คือ การมีอาเจียนพุง และปวดศรีษะอย่างรุนแรง ่ ซึ่งบางครั้งผู้ป่วยอาจไม่รู้ตัวหรือถึงแม้จะรู้แต่ไม่สามารถบอกกล่าวได้ ดังนั้น คนใกล้ชิดจึงควรจะรู้ถึงอาการแสดงเหล่านี้ จะได้รีบนำผู้ป่วย ส่งโรงพยาบาล ได้ทนเวลา และต้องได้รบการตรวจโดยละเอียด ั ั 2. กระดูกหักทุกชนิด กีฬาที่ปะทะกันโดยเฉพาะรักบี้ และฟุตบอลนั้น อาจทำให้เกิด กระดู ก หั ก ได้ บ ่ อ ยๆ ผลของกระดู ก หั ก นั ้ น จะเจ็ บ บวมมากทั น ที เพราะเลือดออกมาก รูปร่างเปลียนไป เช่น โก่ง คด งอ สัน และเจ็บมาก ่ ้ เมื่อมีการเคลื่อนไหว บางครั้งจะได้ยินเสียงกรอบแกรบ เหมือนเสียง กระดาษ ทรายถู ก ั น ตรงบริ เ วณปลายที ่ ห ั ก เมื ่ อ มี ก ารเคลื ่ อ นไหว นอกจากผู้ป่วยจะเสียเลือดและเจ็บปวดมากแล้ว การนำส่งโรงพยาบาลช้าเกิน ไปจะทำให้มีสิ่งแทรกซ้อนเป็นอันตราย ถึงพิการได้ การนำส่งสถานพยาบาลต้องใส่เฝือกชัวคราวไว้ เมือจะเคลือน ่ ่ ่ ย้ายผูปวย ทีสำคัญคืออย่าพยายามดึงกระดูกเข้าทีเอง ้ ่ ่ ่ 9
  • 14.    3. ข้อเคลือน ข้อหลุดทุกชนิด ่ การบาดเจ็บทีทำให้ขอต่อเคลือนหรือหลุดจากการเล่นกีฬานันมักจะเป็นที่ ่ ้ ่ ้ ข้อไหล่ขอศอก และข้อนิวมือผูปวยจะเจ็บปวด บวมทีบริเวณ ข้อต่อเนือง ้ ้ ้ ่ ่ ่ จากเลือดที่ออก เพราะมีการฉีกขาดของ เยื่อหุ้มข้อ และเนื้อเยื่อ ที่อยู่ รอบๆ ข้อ อย่าพยายามดึงเข้าทีเองเพราะนอกจากจะยากเนืองจากกล้าม ่ ่ เนื้อรอบข้อหดเกร็งแล้ว ยังจะไปทำอันตรายเนื้อเยื่อที่ดีอีก ถ้าทำไม่ ถู ก ต้ อ งจริ ง ๆจะทำให้ อ าการมากขึ ้ น ไปอี ก ควรพยุ ง หรื อ ประคอง อวัยวะส่วน นั้นแล้วรีบส่งพบแพทย์ต่อโดยเร็ว เพื่อที่จะเอกซเรย์ดูว่ามี กระดู ก แตก หรื อ หั ก อื ่ น ๆร่ ว มด้ ว ยหรื อ ไม่ เพราะบางครั ้ ง อาจมี กระดูกแตกชินเล็กๆร่วมด้วย จากนันจึงค่อยดึงเข้าทีตอไป ้ ้ ่ ่ 4. การตกเลือดจากอวัยวะภายใน แบ่งเป็น 3 ตำแหน่งคือ ทรวงอก ช่องท้อง เชิงกรานและบันเอว ้ ทรวงอก กระทบกระแทกทีทรวงอกพบได้บอยๆ ในนักกีฬาทีมี ่ ่ ่ การปะทะกัน เช่น รักบี้ ฟุตบอล บางครั้งมีกระดูกซี่โครงหักทิ่มแทง เนือปอด หรือปอดชอกช้ำจากการถูกกระแทก ทำให้มเลือดออกจากปอด ้ ี ถูกขังอยูภายในช่องเยือหุมปอด กดทับปอดทำให้เล็กลงพืนทีปอดสำหรับ ่ ่ ้ ้ ่ หายใจน้อยลง ทำให้การหายใจลำบาก ช่องท้อง เมื่อมีการกระทบกระแทกที่ช่องท้อง อวัยวะภายใน บอบช้ำ หรือมีเลือดออกในช่องท้อง โดยเฉพาะนักกีฬาที่มีการกระแทก รุนแรง เช่น มวยสากล มวยไทย หรือรักบี้ บางครังถึงตับแตก ม้ามแตก ้ ทำให้ปวดท้องมาก การตรวจสอบง่ายๆว่ามีเลือดออก ภายในช่อง ท้อง หรือไม่ ทำได้โดยใช้มอคลำทีหน้าท้องไปทัวๆ ถ้าหน้าท้องผูบาดเจ็บ เกร็ง ื ่ ่ ้ ต้ า นอยู ่ ต ลอดเวลาทุ ก ๆตำแหน่ ง ที ่ ค ลำ ให้ ส งสั ย ว่ า มี การตกเลื อ ด ภายในช่องท้อง แต่ถ้าเกร็งต้านเฉพาะที่บาดเจ็บหรือกระทบกระแทก แสดงว่าบอบช้ำบริเวณนัน ยังไม่มการตกเลือด ้ ี เชิงกรานและบันเอว ตำแหน่งดังกล่าวนีเกียวข้องกับ ระบบ ้ ้ ่ ทางเดินปัสสาวะ และระบบสืบพันธุ์ ถ้าปัสสาวะเป็นสีนำล้างเนือ แสดงว่า ้ ้ 10
  • 15. ⌫ ⌫  เป็นการบาดเจ็บทีมเลือดออกทีไต ซึงอยูดานหลังตอนบนของบันเอว หรือ ่ ี ่ ่ ่ ้ ้ ในปัสสาวะเป็นเลือดหรือมีเลือดออกทางช่องคลอด แสดงว่ามีการบาด เจ็บทีระบบสืบพันธุและกระเพาะปัสสาวะ ่ ์ สำหรับการฟกช้ำทีมอาการหรือสงสัยว่าจะเป็นอันตรายต่ออวัยวะภายใน ่ี ก็ตองนำส่งโรงพยาบาลโดยด่วนเช่นกัน ้ 5. บาดเจ็บทีตา มีอาการตาพร่า ตามัวหรือเห็นว่ามีเลือดออกใน ่ ตาดำซึงอันตรายมาก ่ 6. บาดแผลลึกที่มีเลือดออกมากเป็ น บาดแผลที ่ ล ึ ก กว่ า ชั ้ น ผิวหนัง บางครั้งเห็นไขมันปูดออกมา จะมีเลือดออกเพราะหลอดเลือด บริ เ วณชั ้ น ใต้ ผ ิ ว หนั ง ฉี ก ขาด ต้ อ งทำการปฐมพยาบาล ห้ า มเลื อ ด และส่งพบแพทย์ทันที ถ้าช้าไปนอกจากจะเสียเลือดแล้วโอกาสเกิดการ ติดเชื้อมีได้ง่าย 7. สิ่งแปลกปลอมเข้าทางทวารที่เอาออกไม่ได้ ทุกทวารไม่ว่า จะเป็น จมูก หู ช่องปาก ทวารหนักหรือทวารเบา ถ้ามีสงแปลกปลอมเข้า ่ิ ไปติดค้างอยู่แล้ว ไม่สามารถเอาออกได้เองในที่เกิดเหตุ ต้องนำส่ง โรงพยาบาล ใช้เครืองมือช่วยเอาออกโดยด่วน เพราะอาจมีอนตรายต่างๆ ่ ั หรือความพิการตามมาอย่างคาดไม่ถง ึ 8. บาดเจ็บทีไม่ทราบสาเหตุแต่ผปวยมีอาการมาก บางครังอยู่ ่ ู้ ่ ้ เฉยๆก็มีอาการบาดเจ็บที่รุนแรงมากขึ้นถึงแม้จะมีสาเหตุ แต่ เรา ไม่ทราบหรือค้นไม่พบต้องให้แพทย์ตรวจโดยละเอียด อาจใช้ เ ครื ่ อ งมื อ ประกอบการตรวจด้ ว ยเพื ่ อ หาสาเหตุ ท ี ่ แ ท้ จ ริ ง และให้การรักษาที่ถูกต้องต่อไป อย่างไรก็ตามการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬาหรือออกกำลังกายส่วนใหญ่แล้วมัก เกิดกับ ระบบกระดูกและกล้ามเนือ โดยแบ่งกลุมการบาดเจ็บได้ดงต่อไปนี้ ้ ่ ั 1. การบาดเจ็บต่อกล้ามเนือและเอ็น (ฟกช้ำและฉีกขาด) ้ 2. การบาดเจ็บต่อข้อ (หลุดและเคลือน) ่ 3. การบาดเจ็บต่อเนื้อเยื่อที่เกิดร่วมกับกระดูกหัก 11
  • 16.    เมื่อเนื้อเยื่อ (กล้ามเนื้อ เอ็น เนื้อเยื่อรอบๆข้อ) ได้รับบาดเจ็บ เส้นเลือดเล็กๆบริเวณนั้นจะฉีกขาดทำให้มีเลือดออกโดยรอบอย่าง รวดเร็ ว มี ผ ลทำให้ เ กิ ด การบวมและกดเนื ้ อ เยื ่ อ ข้ า งเคี ย ง ทำให้มีอาการปวดและยังทำให้การกลับคืนสภาพเดิมของเนื้อเยื่อช้าลง เพราะฉะนั้นการปฐมพยาบาล จึงมีเป้าหมายเพื่อหยุด และควบคุม การบวมจากหลอดเลือดที่ฉีกขาดดังกล่าว หลักสำคัญในการปฐมพยาบาลเมือได้รบบาดเจ็บ ควรปฏิบตดงนี้ ่ ั ั ิ ั 1.อย่าตืนเต้นหรือตกใจ พยายามตังสติให้มน เพือการตัดสินใจที่ ่ ้ ่ั ่ ถู ก ต้ อ ง แล้ ว จึ ง ทำการพยาบาลตามลำดั บ ความสำคั ญ ก่ อ นหลั ง ด้วยความรวดเร็ว พร้อมทังพูดจาปลอบโยน และให้กำลังใจแก่ผบาดเจ็บ ้ ู้ ไปพร้อมกันด้วย 2.รีบให้การปฐมพยาบาลต่อการบาดเจ็บที่อาจเป็นอันตรายต่อ ชีวิตก่อนอื่นโดยเร็ว เช่น หัวใจหยุดเต้น การหายใจขัด การตกเลือด เป็นต้น 3.ให้ผทได้รบบาดเจ็บนอนราบ และเอียงศรีษะไป ข้างใดข้างหนึง ู้ ่ี ั ่ ยกเว้ น ในกรณี ท ี ่ ม ี ห ลั ก ฐาน หรื อ เกิ ด การบาดเจ็ บ บริ เ วณลำคอ ให้นอนศีรษะตรง โดยมีหมอนหรือวัสดุอนใดทีคล้ายๆ กับประกบศีรษะ ่ื ่ เพือประคองให้ศรษะอยูในท่าตรงตลอดเวลา ่ ี ่ 4.ถ้ามีผบาดเจ็บหลายๆ รายพร้อมกัน ให้พจารณาดูความสำคัญ ู้ ิ ว่ารายใดควรได้รับการปฐมพยาบาลก่อน 5.ทำการปฐมพยาบาลอย่างนุ่มนวลและรวดเร็วด้วยเครื่องมือ เครืองใช้ทสะอาด อย่านำเอาความสกปรกมาเพิม ่ ่ี ่ 6.ปลดเปลื ้ อ งเครื ่ อ งนุ ่ ม ห่ ม ที ่ ท ำให้ ก ารปฐมพยาบาลทำได้ ไม่ ส ะดวกหรื อ อาจรั ด แน่ น เกิ น ไป แล้ ว ใช้ ผ ้ า คลุ ม หรื อ ห่ ม แทนเพื ่ อ ความอบอุน ่ 12
  • 17. ⌫ ⌫  7.อย่าให้น้ำ อาหารหรือยา แก่ผู้ป่วยโดยเฉพาะผู้ที่ได้รับการ บาดเจ็บที่ช่องท้อง หรือหมดสติ เพราะอาจจะทำให้อาเจียน สำลัก ก่อให้เกิดอันตรายร้ายแรงยิ่งขึ้น 8.ไม่ควรให้ยาแก้ปวดแก่ผทได้รบการกระทบ กระเทือนทีสมอง ู้ ่ี ั ่ เพราะจะทำให้บดบังอาการทางสมอง 9.ก่อนเคลือนย้ายผูปวยต้องให้การปฐมพยาบาลเรียบร้อยก่อน ทุกครัง ่ ้ ่ ้ 10.การเคลือนย้ายผูปวยต้องทำให้ถกต้องตามลักษณะ การบาด ่ ้ ่ ู เจ็บนันๆ เช่น อาจจะใช้การประคอง หาม อุม หรือใช้เปล และควรติดตาม ้ ้ ดูแลในระหว่างทางจนกระทังถึงมือแพทย์ ่ หลักการปฐมพยาบาลบาดเจ็บจากการออกกำลังกายและเล่นกีฬา เริมจากการตรวจร่างกายเพือประเมินลักษณะ ความรุนแรงของ ่ ่ บาดแผลหรือการบาดเจ็บทีได้รบ รวมทังซักถามอาการจากนักกีฬา เช่น ่ ั ้ มีบวมหรือกดเจ็บ มีอาการปวดขณะเคลื่อนหรือขยับส่วนนั้นๆ หรือไม่ หลังจากได้ข้อมูลการบาดเจ็บแล้ว ให้เริ่มทำการปฐมพยาบาลโดย ปฏิบตตามอักษรภาษาอังกฤษ ในคำว่า “ RICE” โดยที่ R ใช้แทนคำว่า ั ิ Rest I ใช้แทนคำว่า Ice C ใช้แทนคำว่า Compression E ใช้แทนคำว่า Elevation รายละเอียดของการปฏิบตตามแนวทาง RICE มีดงนี้ ั ิ ั 1.การพัก (Rest) การใช้งานส่วนของร่างกายที่ได้รับบาดเจ็บ ทันทีนั่นคือ ให้หยุดการเล่นกีฬา โดยเฉพาะในช่วง 6 ชั่วโมงแรกของ การบาดเจ็บ ซึ่งถือว่าเป็นช่วงที่สำคัญ ควรมีการได้พักการใช้งาน อย่างไรก็ตาม ส่วนใหญ่แล้วการบาดเจ็บจากการเล่นกีฬา หรือออกกำลัง กาย ต้องการเวลาพักประมาณ 48 ชัวโมง ก่อนทีจะมีการเริมเคลือนไหว ่ ่ ่ ่ (mobilization)อีกครัง ้ 13
  • 18.    2.การใช้ความเย็น (Ice) โดยการประคบเย็นซึงมีจดมุงหมาย เพือ ่ ุ ่ ่ ลดการมีเลือดออกบริเวณเนื้อเยื่อ ลดบวมและอาการปวดได้ ระยะเวลา การประคบเย็นต้องกระทำให้เหมาะสมกับบริเวณที่ได้รับการบาดเจ็บ โดยทั่วไปการประคบเย็นให้ประคบนานครั้งละ 10 ถึง 20 นาที หยุด ประคบ 5 นาที ทำเช่นนีไปเรือยๆ จนกระทังไม่บวมหรือทำวันละ 2 ถึง 3 ้ ่ ่ ครัง วิธทนยมใช้ในการประคบเย็นได้แก่ ้ ี ่ี ิ - การใช้เป็นถุงเย็น (ice pack) ซึงจะคงความเย็นได้ประมาณ 45 ่ – 60 นาที และต้องมีผาห่อไว้ไม่ให้ถงเย็นสัมผัสโดยตรงกับผิวหนัง ้ ุ - การใช้ ถ ุ ง ใส่ น ้ ำ แข็ ง ผ้ า ชุ บ น้ ำ เย็ น ในกรณี ท ี ่ ไ ม่ ม ี ถ ุ ง เย็ น หรือบริเวณของการบาดเจ็บกว้างเกินขนาดของถุงเย็น - การพ่นด้วยสเปรย์เย็น (cooling spray) อาจใช้ลดปวดเฉพาะทีได้ ่ ชั่วคราว สามารถใช้ได้กับบริเวณที่เนื้อเยื่อใต้ผิวหนังไม่หนา เช่น คาง สันหมัด ข้อเท้า 3.การพันผ้ายืด (Compression bandage) เพื่อกดไม่ให้มี เลือดออก ในเนือเยือมาก มักใช้รวมกับการประคบเย็น เพือให้ได้ประโยชน์ ้ ่ ่ ่ จากทั้งสองด้านร่วมกัน การพันผ้ายืดควรพันให้กระชับส่วนที่บาดเจ็บ และควรใช้ผาสำลีผนใหญ่รองไว้ให้หนาๆ โดยรอบก่อนพันด้วยผ้ายืดควร ้ ื พันผ้ายืดคลุมเหนือและใต้ตอส่วนทีบาดเจ็บ ่ ่ 4.การยก (Elevation) ส่วนของร่างกายทีได้รบบาดเจ็บให้สงกว่า ่ ั ู ระดับหัวใจ เพื่อให้เลือดไหลกลับสู่หัวใจได้สะดวก เช่น การนอนวางขา หรื อ เท้ า บนหมอน ในกรณี ท ี ่ น ั ่ ง ให้ ว างเท้ า บนเก้ า อี ้ เป็ น ต้ น ในกรณีบาดเจ็บรุนแรง ควรยกสูงไว้ประมาณ 24 – 48 ชัวโมง นอกจาก ่ นี ้ ก ารยกส่ ว นของร่ า งกายที ่ ไ ด้ ร ั บ บาดเจ็ บ ให้ ส ู ง ยั ง ช่ ว ยใน การลดการกดของน้ ำ นอกเซลล์ ท ี ่ ห ลั ่ ง ออกมาสู ่ เ นื ้ อ เยื ่ อ บริ เ วณนั ้ น ทำให้ลดการบวมลงได้ 14
  • 19. ⌫ ⌫  อย่างไรก็ตาม บางหลักปฏิบตอาจเพิมการป้องกันการบาดเจ็บเพิม ั ิ ่ ่ (Protection) ด้วยซึ่งอาจจะพบได้ในบางตำราทำให้หลักการปฏิบัติเพิ่ม จาก“RICE” เป็น “PRICE” เช่น ในกรณีบาดเจ็บรุนแรงที่ สงสัยว่า มีอันตราย ต่อข้อต่อ หรือกระดูกควรดาม(splint)ด้วยอุปกรณ์ที่แข็งและ ขนาด เหมาะสม กับ อวัยวะที่ได้รับการบาดเจ็บซึ่งหา ได้ในบริเวณ ที่เกิดเหตุเพื่อประคองอวัยวะและป้องกัน(Protection)ไม่ให้มีการบาด เจ็บต่อเนื้อเยื่อเพิ่มเติม ข้อควรหลีกเลียง ่ ควรหลีกเลี่ยงการใช้ความร้อนในรูปแบบต่างๆ ในระยะแรก (48 ชัวโมง) ของการบาดเจ็บเพราะจะทำให้เส้นเลือดขยายตัว มีเลือดออกใน ่ บริเวณนันเพิมขึน นำไปสูการบวมของเนือเยือโดยรอบ และจะมีอาการ ้ ่ ้ ่ ้ ่ ปวดมากขึน การหายจะช้าลง ้ สำหรับการดูแลปฐมพยาบาลการบาดเจ็บในแต่ละส่วน เป็นดังนี้ 1. การปฐมพยาบาลบาดเจ็บบริเวณกล้ามเนื้อ 2. การปฐมพยาบาลบาดเจ็บบริเวณเอ็น 3. การปฐมพยาบาลบาดเจ็บบริเวณข้อต่อ 4. การปฐมพยาบาลบาดเจ็บบริเวณกระดูก 1. การปฐมพยาบาลบาดเจ็บบริเวณกล้ามเนือ ้ กล้ามเนื้อที่ใช้ในการเคลื่อนไหว วิ่งหรือออกกำลังกาย คือ กล้าม เนื้อลาย โดยแต่ละใยของกล้ามเนื้อจะรวมกันเป็นมัดกล้ามเนื้อ การ ออกกำลัง กายกล้ามเนือให้แข็งแรงจะทำให้กล้ามเนือนันทนต่อการ ปวด ้ ้ ้ เมือย และอักเสบได้ การเสียงต่อการบาดเจ็บก็มนอย กล้ามเนือมีหน้าที่ ่ ่ ี ้ ้ ยืดและหด ถ้ามีความแข็งแรงยืดหยุ่นดี เมื่อเกิดแรงกระตุก กระชาก ทำให้เกิดการฉีกขาดได้ยาก การบาดเจ็บของกล้ามเนือมีดงนี้ ้ ั 15
  • 20.    1. ตะคริว (cramp) เกิดจากการหดเกร็งตัวชัวคราวของกล้ามเนือนันๆ ทังมัด ่ ้ ้ ้ ทำให้เห็นเป็นก้อนหรือเป็นลูก จะมีอาการเจ็บปวดมาก และอยู่นอก เหนือการบังคับจากจิตใจ อาจจะเกิดได้บ่อยๆ และซ้ำที่เดิม หรือ เป็นหลายๆ มัดพร้อมกันได้ สาเหตุเกิดจากกล้ามเนื้อ ไม่แข็งแรง หรือไม่ได้รบการฝึกอย่างเพียงพอ เมือวิงหรือใช้งานมาก เกินไป นอกจาก ั ่ ่ นี้การที่ร่างกายขาดเกลือแร่บางชนิด เช่น แคลเซียม ฯลฯ หรือใน สภาพอากาศทีเย็นหรือการรัดผ้ายึดแน่นเกินไป เลือดมาเลียงกล้ามเนือ ่ ้ ้ น้อย จะยิงก่อให้เกิดตะคริวได้งายขึน ่ ่ ้ การปฐมพยาบาล ในขณะที่กำลังเล่นกีฬาแล้วเกิดเป็นตะคริวให้หยุดพักทันที จากนั้นเหยียดและยืดกล้ามเนื้อมัดนี้ให้เต็มที่ประมาณ 5 – 10 นาที เมือคลายการเกร็งตัวแล้วจึงนวดต่อด้วยน้ำมันนวดทีรอนด้วยอุงมือเบาๆ ่ ่้ ้ ห้ามจับบีบหรือขยำ เพราะจะทำให้กล้ามเนือหดเกร็งตัวเกิดตะคริวได้อก ้ ี หลังจากนันต้องบริหารกล้ามเนือมัดนันเป็นพิเศษ เพือให้แข็งแรงอยูเสมอ ้ ้ ้ ่ ่ จะได้ไม่เกิดอาการขึ้นมาอีก โดยทั่วไปแล้วตะคริวมักเกิดกับกล้าม เนือมัดใหญ่ๆ เช่น กล้ามเนือน่อง แต่กสามารถพบได้ในกล้ามเนือมัดเล็กๆ ้ ้ ็ ้ เช่น กล้ามเนือแขน กล้ามเนือระหว่างกระดูกซีโครง (intercostal muscles) ้ ้ ่ หลักการทัวไปในการปฐมพยาบาลตะคริวในกรณีทไม่สามารถยืดกล้ามเนือ ่ ่ี ้ (passive stretching) ได้ให้ผบาดเจ็บพัก และหายใจเข้าออกลึกๆ (deep ู้ breathing) และประคบด้วยความเย็น (ice pack) อาการเจ็บปวดกล้าม เนือจากตะคริวก็จะค่อยทุเลาลง ้ ตัวอย่างเมื่อขณะเล่นกีฬาแล้วเกิดเป็นตะคริวที่น่อง มีอาการปวดที่ น่องมาก คลำดูจะแข็งเป็นลูก ใช้ขาข้างนันต่อไปไม่ได้ การปฐมพยาบาล ้ คือ ให้นักกีฬาผู้นั้นพัก ถอดรองเท้าและถุงเท้าออกให้หมด นั่งหรือ นอนราบ ให้เข่าอยูในท่าเหยียดตรง ค่อยๆ ใช้มอดันปลายเท้าให้กระดก ่ ื ขึนเต็มทีอย่างช้าๆ ทำอยูในท่านีประมาณ 5 – 10 นาที กล้ามเนือน่องจะ ้ ่ ่ ้ ้ 16
  • 21. ⌫ ⌫  คลายการเกร็งตัว อาการปวดจะลดลง จากนันให้นอนคว่ำ ทาน้ำมันนวดที่ ้ ร้อน และนวดด้วยอุ้งมือเบาๆ เพื่อกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดให้มา ทีกล้ามเนือมัดนันมากขึน ่ ้ ้ ้ 2. กล้ามเนือบวม ้ เป็นการบาดเจ็บทีเกิดขึนจากการบวมของกล้ามเนือในช่องว่างทีจำกัด ่ ้ ้ ่ เพราะมีเยือพังผืดทีคอนข้างเหนียวห่อหุมอยูทำให้ปวดมาก ปวดอยูตลอด ่ ่ ่ ้ ่ ่ เวลา กินยาแก้ปวดก็ไม่หาย ถ้าลองเหยียดกล้ามเนือมัดนัน จะเจ็บปวด ้ ้ อย่าง มาก สาเหตุเกิดจากการที่มีเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อมัดนั้น หรือกลุ่มนั้นน้อย พบในนักวิ่งที่เริ่มต้นฝึกซ้อมหนักเกินไป กล้ามเนื้อ ยังไม่คนเคยและแข็งแรงพอ มักพบในกล้ามเนือทีขา (หน้าแข้งและน่อง) ุ้ ้ ่ ในรายทีมอาการเกิดขึน ถึงแม้เจ็บแล้วก็ยงฝืนวิงต่อ จะเป็นอันตรายมาก ่ ี ้ ั ่ เพราะกล้ามเนื้อที่บวมจะไปกดทับเส้นประสาท หลอดเลือด ทำให้ ไม่ ม ี ป ระสาทสั ่ ง งานและกล้ า มเนื ้ อ ตาย จึ ง เกิ ด เป็ น อั ม พาต หรื อ ถึงกับเสียขาไปเลยก็ได้ การปฐมพยาบาล เมือมีอาการเกิดขึนให้หยุดเล่นกีฬาทันที แล้วประคบด้วยผ้าชุบ ่ ้ น้ำอุน ยกเท้าสูง หลังจากอาการดีขนแล้ว ต้องฝึกโดยบริหารกล้ามเนือ ่ ้ึ ้ กลุ่มนี้ให้แข็งแรง เพื่อให้ทนการบาดเจ็บชนิดนี้ได้ และเป็นการป้องกัน ไม่ให้เกิดอาการนี้อีก ค่อยๆ เพิ่มความหนักของการฝึกทีละน้อยๆ และ สังเกตอาการด้วย ถ้ามีอาการผิดปกติให้หยุดทันที ระหว่างนีกตองบริหาร ้ ็ ้ กล้ า มเนื ้ อ นี ้ ใ ห้ แ ข็ ง แรงควบคู ่ ก ั น ไปด้ ว ย ก็ จ ะสามารถฝึ ก หนั ก เพิ ่ ม ไปได้เรือยๆ ในรายทีมอาการมากดังกล่าวแล้ว เมือพบแพทย์จะต้องรีบ ่ ่ ี ่ ทำการผ่าตัดรักษาทันที โดยเปิดช่องว่างของพังผืดทีหอหุมกล้ามเนือออก ่ ่ ้ ้ เพื่อให้กล้ามเนื้อขยายตัวได้เต็มที่ ไม่ให้กล้ามเนื้อที่บวมอยู่ในเนื้อที่ จำกัดตาย หรือไปกดทับเส้นประสาทและเส้นเลือด ซึงถ้าช้าไปหรือให้การ ่ รักษาไม่ถกต้องจะทำให้สวนปลายของอวัยวะ เช่น ขาเกิดพิการหรือตาย ู ่ หมดโอกาสเล่นกีฬาอีกต่อไป 17
  • 22.    3. กล้ามเนือชอกช้ำ (contusion) ้ เกิดจากถูกกระแทกที่กล้ามเนื้อด้วยของแข็ง ทำให้กล้ามเนื้อ ชอกช้ำและหลอดเลือดที่มาเลี้ยงกล้ามเนื้อฉีกขาด มีเลือดออกคั่งอยู่ใน กล้ามเนือ ถ้าเป็นมากหรือได้รบการรักษาไม่ถกต้อง เลือดทีคงจะไปจับ ้ ั ู ่ ่ั กันเป็นก้อนเดียว เกิดเป็นพังผืดทำให้กล้ามเนื้อทำงานได้ไม่เต็มที่ และเกิดการเจ็บปวดได้ การปฐมพยาบาล เมื่อได้รับบาดเจ็บที่กล้ามเนื้อจากการกระทบกระแทก ให้หยุด พักทันที พร้อมกับประคบน้ำแข็งประมาณ 15 – 20 นาที เพือป้องกัน ่ ไม่ให้เลือดออก หรือออกน้อยทีสด จากนันใช้ผายืด หรือผ้าพันทับกล้าม ุ่ ้ ้ เนื้อนั้น เพื่อจะได้มีแรงกดหรือหยุดการเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อมัดนั้น หลังจากนัน 1- 2 วัน ให้ประคบน้ำร้อนหรือนวดด้วยน้ำมันทีรอนเบาๆ ้ ่้ เพื่อให้เลือดที่ออกอยู่กระจายตัวและถูกดูดซึมกลับไป ในที่สุดจะได้ไม่มี การยึดติดด้วยพังผืดที่ จะทำให้ประสิทธิภาพของกล้ามเนือเสียไป ้ 4. กล้ามเนือฉีกขาด (strain) ้ เกิดจาก 2 สาเหตุ คือ แรงกระทบจากภายนอกและ ตัวกล้ามเนือ ้ เอง ดังนี้ 1.เกิดจากแรงกระทบภายนอก เกิดจากการถูกกระทบด้วย ของแข็งอย่างแรง ทำให้กล้ามเนือฉีกขาดและมีเลือดออกมาก ้ 2.จากตัวกล้ามเนือเอง เมือวิงหลบหลุม หรือเปลียนท่าการเล่น ้ ่ ่ ่ กีฬาทันที ทำให้มีการหดเกร็งของกล้ามเนื้อมัดนั้นโดยฉับพลัน เกิด การฉีกขาดขึน ทังนีเพราะกล้ามเนือมัดนันไม่แข็งแรง มีความทนทานน้อย ้ ้ ้ ้ ้ เมื่อเกิดการฉีกขาดของกล้ามเนื้อทันที เราสามารถแบ่งระดับ ง่ายๆโดยใช้มือหรือนิ้วคลำดู จะพบร่องบุ๋ม ตรงตำแหน่งที่ฉีกขาด แต่ระยะต่อมาจะบอกได้ยากเพราะจะมี เลือดออกมากลบร่องตรงที่ ฉีกขาดทำให้ตรวจ หรือวินจฉัย แบ่งระดับ ความรุนแรงได้ยาก ิ 18
  • 23. ⌫ ⌫  การปฐมพยาบาล เมือมีการฉีกขาดของกล้ามเนือเกิดขึน การปฐมพยาบาลทัวไปก็คอ ่ ้ ้ ่ ื หยุดเล่นกีฬาทันที แล้วประคบน้ำแข็ง 15 – 20 นาที พัก 5 นาที สลั บ กั น ไป จนไม่ ม ี ก ารบวมเพิ ่ ม ขึ ้ น พร้ อ มๆกั บ ใช้ ผ ้ า ยื ด รั ด ให้ เกิดแรงกดบริเวณนั้น ต้องระวังไม่ รัดแน่นจนเกินไป และให้ยกส่วน ปลายสูง เพือให้เลือดไหลเวียนกลับสูหวใจได้สะดวก เป็นการลดอาการ ่ ่ ั บวม หลัง จากนัน 1 – 2 วัน ให้ประคบน้ำร้อน เพือให้หลอดเลือดบริเวณ ้ ่ นันขยายตัว จะได้ดดซับเอาเลือดทีออกกลับไป เมือเริมมีกล้ามเนือฉีกขาด ้ ู ่ ่ ่ ้ ควรตรวจดูโดยเร็ว โดยการคลำเพือดูระดับการฉีกขาด ถ้าเป็นการฉีกขาด ่ ระดับที่ 1 เส้นใยกล้ามเนือ (muscle fibers) ฉีกขาดน้อยกว่า 10% บวม ้ เล็กน้อยหรือไม่บวม ปวดไม่มาก วิงหรือเคลือนไหวต่อไปได้ ประมาณ ่ ่ 3 วัน อาการจะหายไป ถ้าเป็นระดับที่ 2 เส้นใยกล้ามเนื้อฉีกขาด 1050% บวมมากขึน ปวดมาก เล่นกีฬาต่อไปไม่ได้ พอเดินได้ หลังจากปฐม ้ พยาบาลแล้ว ต้องทำให้กล้ามเนื้อที่ฉีกขาดนั้นอยู่นิ่ง ๆ เพื่อให้ไม่มี แผลเป็น หรือมีพงผืดจับน้อยทีสด โดยการยึดด้วยปลาสเตอร์(เฝือกอ่อน) ั ุ่ 3 สัปดาห์ก็จะหายเป็นปกติ ถ้ามีการเคลื่อนไหว จะทำให้มีแผลเป็น ใหญ่ แ ละมี พ ั ง ผื ด เกิ ด ขึ ้ น ประสิ ท ธิ ภ าพของกล้ า มเนื ้ อ จะลดลงไป ถ้าตรวจพบโดยใช้นิ้วคลำพบร่องบุ๋มใหญ่ พบว่าเป็นระดับที่ 3 เส้นใย กล้ า มเนื ้ อ มี ก ารฉี ก ขาด 50-100% บวมมาก ปวดมากหรื อ น้ อ ย (ถ้าฉีกขาดสมบูรณ์) เล่นกีฬาหรือเดินต่อไปได้ เพราะกล้ามเนื้อไม่ สามารถทำงานได้ ต้องรีบส่งพบแพทย์ทันที เพราะต้องรักษาโดย การผ่าตัด เย็บต่อกล้ามเนือและเข้าเฝือก การให้ยาพวกต้านการอักเสบ ้ รับประทานจะทำให้หายเร็วขึน ้ 19
  • 24.    2. การปฐมพยาบาลบาดเจ็บบริเวณเอ็น เอ็นเป็นตัวเชือมระหว่างกล้ามเนือและกระดูก สามารถยืด และ หด ่ ้ ตัวได้ ทำให้เกิดการเคลื่อนไหว ประกอบด้วยเอ็นและเยื่อหุ้มเอ็น การบาดเจ็บทีเอ็นนีมกเกิดจากการใช้งานมากเกินไป หรือ เกิดจากการ ่ ้ ั บาดเจ็ บ โดยทางอ้อม ส่ว นการบาดเจ็บโดยตรงจากการถูกกระทบ กระแทกนัน พบได้ไม่บอยนัก (ส่วนใหญ่จะเป็นเอ็นทีอยูในตำแหน่งตืนๆ ้ ่ ่ ่ ้ เช่น ทีขอมือ เป็นต้น) การบาดเจ็บเกียวกับเอ็นมีดงต่อไปนี้ ่ ้ ่ ั 1.ปลอกหุมเอ็นอักเสบ(tenovaginitis) ้ ที่พบได้บ่อยๆ จากการเล่นกีฬา คือบริเวณข้อมือและนิ้วมือ เนื่องจากการใช้งานมากเกินไป เช่น การเหวี่ยง บิด หรือสะบัดบริเวณ ข้อมือ และการบีบกำ หรือเกร็งบริเวณนิ้วมือ ทำให้ปลอกหุ้มเอ็น มีการอักเสบ และหนาตัวขึ้น ทำให้ช ่องที่เอ็น จะลอดผ่านแคบลง เกิ ด การติ ด ขั ด ในการเคลื ่ อ นที ่ ข องเอ็ น เกิ ด การเจ็ บ ปวดเมื ่ อ มี ก าร เคลื่อนไหวมีอาการบวม กดเจ็บ และจะเจ็บมากเมื่อมีการบิดข้อมือ หรือยืดนิ้วออก การปฐมพยาบาล ในรายเฉียบพลันให้การปฐมพยาบาลแบบทัวๆ ไป คือ ใช้นำเย็น ่ ้ ประคบ พักให้ยาแก้ปวดและยาต้านการอักเสบนาน 3 สัปดาห์ พร้อมๆ กั บ การรั ก ษาทางกายภาพบำบั ด หลั ง จากเวลาผ่ า นไป 2 วั น เช่ น ประคบร้อนหรือคลื่นเหนือเสียง (อัลตราซาวด์) ถ้าไม่หายให้ฉีดยา ต้านการอักเสบสเตียรอยด์เฉพาะที่ในรายที่เป็นเรื้อรังอาจต้องผ่าตัด เปิดปลอกหุมเอ็นออก เพือให้เอ็นเคลือนไหวได้สะดวก การป้องกัน คือ ้ ่ ่ ต้อง หลีกเลียงการเล่นกีฬาทีหนักเกินไปในทันที ต้องค่อยๆเพิมการฝึก ่ ่ ่ ทีละน้อยๆ และบริหารกล้ามเนื้อให้แข็งแรงอยู่เสมอ(เอ็นที่อยู่ต่อกับ กล้ามเนือ จะแข็งแรงตามไปด้วย) ้ 20
  • 25. ⌫ ⌫  2.เยือหุมเอ็นอักเสบ (paratendinitis) ่ ้ จะมีอาการปวดบวม และกดเจ็บรอบๆ เอ็นนันๆ มักพบทีเอ็นร้อย ้ ่ หวาย เอ็นใต้ตาตุมด้านนอก สาเหตุเกิดจากการใช้งานมากเกินไป เช่น ่ วิงมากเกินไปทำให้เกิดการอักเสบขึน การอักเสบอาจเป็นแบบเฉียบพลัน ่ ้ มี ก ารอั ก เสบเกิ ด ขึ ้ น ที ล ะน้ อ ยสะสมไว้ จ นเกิ ด อาการขึ ้ น มาทั น ที หรือเป็นแบบเรือรัง ซึงทังทีมอาการแล้ว แต่กยงใช้งาน หรือเล่นกีฬาต่อไป ้ ่ ้ ่ ี ็ั เรือยๆ หรือเพียงแค่พกชัวคราวแล้วไปเล่นกีฬาอีกทังๆ ทียงไม่หาย พวก ่ ั ่ ้ ่ั นี้มักต้องลงเอยด้วยการผ่าตัดรักษา การปฐมพยาบาล เหมือนๆกับการปฐมพยาบาลปลอกเอ็นอักเสบ คือ ประคบเย็น พัก และ ให้ยา ในรายทีเป็นการอักเสบครังแรกจริงๆ อาจไม่ตองให้ยา เพียง ่ ้ ้ แต่พักก็สามารถหายได้ แต่ต้องไม่ลืมการบริหารและฟื้นฟูกล้ามเนื้อ และเอ็นนั้นให้แข็งแรงก่อนเสมอเพื่อจะได้ไม่เกิดการบาดเจ็บซ้ำเดิมอีก 3.เอ็นอักเสบ (tendinitis) เป็นการอักเสบของตัวเอ็นเอง มักพบภายในส่วนกลางของเส้นเอ็น เพราะมีเลือดมาเลี้ยงน้อย เกิดจากการเล่นกีฬา หรือซ้อมหนักเกินไป ใช้งานมากเกินไป หรือเกิดจากอุปกรณ์การเล่นไม่ถกต้อง เช่น รองเท้าพืน ู ้ แข็งเกินไป พื้นที่หรือสนามเล่นกีฬาแข็งมาก หรือมีการโหมเล่นกีฬา หนักทันที หรือเพิมความเร็วจากการวิงอย่างกะทันหัน ทีพบได้บอยๆ คือ ่ ่ ่ ่ เอ็นร้อยหวายอักเสบ เอ็นข้อมืออักเสบ จะมีอาการปวด บวม เจ็บ กดเจ็บ และมักมีอาการปวดในตอนเช้าวันรุ่งขึ้น หลังจากเล่นกีฬาหรือฝึกซ้อม มากเกินไป เมือสายๆ อาการจะน้อยลงไป แต่เมือเริมเล่นกีฬาจะมีอาการ ่ ่ ่ ปวดอีกอาการมักเป็นเรื้อรัง และแสดงอาการมากน้อยต่างกันออกไป นักกีฬาทีมรางกายและสมรรถภาพไม่สมบูรณ์ หรือเล่นกีฬาด้วยเทคนิค ่ ี่ ที ่ ไ ม่ ถ ู ก ต้ อ ง จะเสี ่ ย งต่ อ การเกิ ด การบาดเจ็ บ ในลั ก ษณะนี ้ ไ ด้ ง ่ า ย ทีพบได้บอยๆ คือ เอ็นบริเวณข้อไหล่อกเสบ หรือเอ็นร้อยหวายอักเสบ ่ ่ ั 21
  • 26.    เช่น นักกีฬาวอลเลย์บอล และนักแบดมินตันทีตองตบลูกหนักหน่วง และ ่ ้ บางครัง ต้องใช้งานถีมาก หรือในนักวิงทีซอมหนักและวิงบนพืนทีแข็ง ้ ่ ่ ่ ้ ่ ้ ่ เป็นต้น การปฐมพยาบาล ในรายที่มีอาการเฉียบพลันให้ใช้หลักการปฐมพยาบาลทั่วไป คือ พักและประคบเย็น มักไม่ค่อยใช้วิธีผ่าตัดรักษา การให้พักและให้ รับประทานยาต้านการอักเสบ ร่วมกับการทำกายภาพบำบัด ทำให้อาการ หายเป็นปกติได้ การป้องกันนั้นต้องค่อยๆเพิ่มการเล่นกีฬามากขึ้นทีละ น้ อ ย อย่ า หั ก โหมฝึ ก หรื อ เพิ ่ ม ความเร็ ว ในการเล่ น อย่ า งกะทั น หั น และต้องบริหารกล้ามเนื้อให้แข็งแรงอยู่เสมอ เพื่อให้มีเอ็นที่แข็งแรง ทีสำคัญคือ เทคนิคการเล่นกีฬา และอุปกรณ์กฬาต้องถูกต้อง ่ ี 4. เอ็นฉีกขาด มักพบในนักกีฬาสูงอายุ (มากกว่า 40 ปี) เนืองจากการเล่นกีฬาชนิด ่ ทีจะต้องเปลียนทิศทางและความเร็วทันทีทนใด เช่น วิงหลบหลุมหลบบ่อ ่ ่ ั ่ หรือบิดหมุนตัวทันที เกิดการฉีกขาดของเอ็นเป็นบางส่วน หรือมีการ ฉีกขาดโดยสมบูรณ์ มักพบทีเอ็นร้อยหวายซึงเสือม เนืองจากการใช้งาน ่ ่ ่ ่ มาก หรือพวกทีเคยรักษาโดยการฉีดยา สเตียรอยด์เฉพาะทีเข้าไปในเอ็น ่ ่ (อันตรายมาก) เมื่อมีการฉีกขาดขณะเล่นกีฬาจะมีอาการเจ็บปวดมาก บวม เล่นกีฬาต่อไปไม่ได้ เพราะเดินหรือวิงไม่ได้ ถ้าฉีกขาดมากถึงกับขาด ่ อย่าง สมบูรณ์จะทำให้กระดกข้อเท้าลงไม่ได้ เป็นต้น การปฐมพยาบาล ให้ใช้หลักการปฐมพยาบาลทั่วไปดังได้กล่าวมาแล้ว จากนั้นควร ให้แพทย์ทำการรักษาต่อ ถ้าไม่สามารถหายไปได้เองใน 3 วัน แสดงว่ามี การฉีกขาดเป็นบางส่วน ต้องยึดหรือล็อกให้อยู่นิ่งๆ โดยใช้เฝือกปูน หรือเฝือกอ่อน( พันผ้าปลาสเตอร์ )นาน 3 สัปดาห์ แต่ถามีการฉีกขาดโดย ้ สมบูรณ์ หรือเกือบสมบูรณ์ ( 50 – 100% ) ต้องรักษาโดยการผ่าตัดเย็บ 22