SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  4
~ 1 ~
แนวทางการป้ องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
โรงพยาบาลปากช่องนานา
เชื้อดื้อยา (Multidrug-Resistant Organism: MDRO) หมายถึง
1. เชื้อจุลชีพ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งแบคทีเรีย) ที่ดื้อต่อยาต้านจุลชีพตั้งแต่ 3
กลุ่ม (class) ขึ้นไป
2. เชื้อจุลชีพที่ผลิตเอ็นไซม์ extended spectrum ß – lactamases
(ESBLs) เช่น
Escherichia coli (ESBLs), Klebsiella pneumoniae (ESBLs),
Enterobacter cloacae(ESBLs)
3. เชื้อ Methicillin - resistant Staphylococcus aureus (MRSA)
4. เชื้อ Vancomycin - resistant enterococci (VRE)
5 . เชื้ อ Multi drug and extensively drug-resistant TB (MDR-
TB/XDR-TB)
ตัวอย่างเชื้อแบคทีเรียที่มีปัญหาดื้อยา
1. เชื้อสเตรปโตค็อกคัส นิวโมเนียอี (Streptococcus pneumoniae)
2. เชื้ออีโคไล (Escherichia coli)
3. เชื้ออะซีนีโตแบคเตอร์ บอแมนนิอาย (Acinetobacter baumannii)
4. เชื้อสูโดโมแนส แอรูจิโนซา (Pseudomonas aeruginosa)
5. เชื้อเอนเทอโรแบคเตอร์ (Enterobacter spp.)
6. เชื้อสแตปฟีโลค็อกคัส ออเรียส (Staphylococcus aureus) เช่น
MRSA
7. เชื้อวัณโรค (Mycobacterium tuberculosis)
8. เชื้อเอนเทอโรค็อคคัส (Eterococcus spp.) เช่น E. faecalis, E.
faecium, VRE
9. เชื้อเคล็บซิลล่า นิวโมเนียอี้ (Klebsiella pneumoniae)
10.เชื้อไซโตแบคเตอร์ ไดเวอร์ซัส (Citobacter diversus)
ผู้ป่วยติดเชื้อดื้อยา หมายถึง ผู้ป่วยที่ตรวจพบเชื้อดื้อยาในร่างกาย
ที่ยังไม่ได้รับการรักษา และได้รับการรักษา แต่ยังไม่สิ้นสุดการรักษา
ระดับของการติดเชื้อดื้อยา
๑ . ก า ร ติ ด เ ชื้ อ ดื้ อ ย า รุ น แ ร ง ห ม า ย ถึ ง
ผู้ป่วยที่ติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพที่มีใช้ในโรงพยาบาลทุกกลุ่ม (class)
~ 2 ~
๒ . ก า ร ติ ด เ ชื้ อ ดื้ อ ย า ป า น ก ล า ง ห ม า ย ถึ ง
ผู้ป่วยที่ติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพที่มีใช้ในโรงพยาบาลตั้งแต่ 3 กลุ่ม (class) ขึ้นไป
๓ . ก า ร ติ ด เ ชื้ อ ดื้ อ ย า ไ ม่ รุ น แ ร ง ห ม า ย ถึ ง
ผู้ป่วยที่ติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพที่มีใช้ในโรงพยาบาลน้อยกว่า 3กลุ่ม (class)
ยาต้านจุลชีพ
กลุ่มยาต้านจุลชีพ ชนิดยาที่มีใช้ใน
รพ.ปากช่องนานา
ชนิดยาที่ไม่มีใช้ใน
รพ.ปากช่องนานา
1.
Aminoglycosides
Gentamycin, Amikacin Neomycin,
Streptomycin,
Tobramycin
2. Carbapenem - Imipenem ,
Meropenem
3.
Cephalosporins
Cefazolin, Cefamandol,
Cefuroxime,
Cefotaxime,
Ceftriaxone,
Ceftazidime,
Cefdinir(Omnicef)
Cefaclor,
Cephalothin,
Ceftaroline,
Cefepime,Cepirome
4.
Chloramphenicol
Chloramphenicol -
5. Glycopeptides - Vancomycin ,
Bleomycin
6. Lincosamide Lincomycin
, Clindamycin
-
7. Macrolide Erythromycin,
Azithromycin,
Roxithromycin
Clarithromycin,
Troleandomycin
~ 3 ~
8. Penicillin Amoxicillin, Ampicillin,
Cloxacillin, PGS, Pen V
Carbenicillin,
Flucloxacillin,
Piperacillin
9. Polypeptide - Colistin, Bacitracin,
Polymyxin B
10.
Fluoroquinolone
Ciprofloxacin,
Norfloxacin, Ofloxacin
Levofloxacin,
Enoxacin
11.
Sulfonamides
Co-trimoxazole Sulfadiazine ,
Sulfasalazin
12. Tetracyclines Tetracycline,
Doxycycline
Oxytetracycline,
Demeclocycline
13. อื่นๆ Metronidazole,
Fosfomycin
แนวทางการป้ องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา โรงพยาบาลปากช่องนานา
1. ตรวจสอบการติดเชื้อของผู้ป่วย จาก
1.1 ผลเพาะเชื้อ (ในใบ Microbiology Laboratory: สีขาว)
1.2 ใบ Refer ช่องผลการชันสูตร (กรณีรับ Refer จากโรงพยาบาลอื่น)
2. พิจารณาว่าเป็ นการติดเชื้อดื้อยาหรือไม่ (เปรียบเทียบกับชื่อเชื้อตัวอย่าง
และตารางยาต้านจุลชีพ)
3. จัดระดับของการติดเชื้อดื้อยา
4. ปฏิบัติการพยาบาลตามระดับของการติดเชื้อดื้อยาอย่างเคร่งครัด
5. แจ้งพยาบาลควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลทราบทันที
การปฏิบัติพยาบาลเพื่อป้ องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
กิจกรรมการพยาบาล
ระดับของการติดเชื้อดื้
อยา
รุนแ
รง
ปานก
ลาง
ไม่รุน
แรง
1. แจ้งพยาบาลควบคุมการติดเชื้อ   
~ 4 ~
2. แจ้งบุคลากรทุกคนในหอผู้ป่วยทราบ   
3. แขวนป้ ายหน้าห้อง/เตียง และติดป้ ายหน้า Chart   
4. แยกผู้ป่วย และของใช้ทั้งหมด
รวมทั้งอุปกรณ์ทาความสะอาด
 
5. ไม่นา Chart ผู้ป่วย และเอกสารทุกชนิดเข้าห้อง
หรือวางบนเตียงผู้ป่วย
  
6. ล้างมือทุกครั้งก่อนและหลังสัมผัสผู้ป่วย,
อุปกรณ์หรือสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วย
- มีแอลกอฮอล์ แฮนด์รับ ปลายเตียง






7. สวมอุปกรณ์ป้ องกันครบถ้วน
และถอดก่อนออกจากห้องแยก/เตียงผู้ป่วย
- Mask
- ถุงมือ
- เสื้อคลุม แว่นตา



*



*



*
8.
จากัดบุคลากรที่จะเข้าไปดูแลผู้ป่วยในห้องแยก/เตียงผู้ป่ว
ย
  
9. จากัดคนเยี่ยมให้เหลือน้อยที่สุด แนะนาญาติ   
10.แยกผ้า และขยะ
เป็นขยะติดเชื้อและการแยกผ้าติดเชื้อ
  
11.เปลี่ยนผ้าปูเตียง และเช็ดเตียงทุกวัน   
12.ไม่กวาดฝุ่นบนพื้น   
13.ทาความสะอาดสิ่งแวดล้อมภายในห้อง/บริเวณเตียงผู้
ป่วยด้วยน้า+ผงซักฟอก หรือน้ายาฆ่าเชื้อทุกวัน
และเมื่อจาหน่าย
 
14.กรณีเคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปตรวจนอกหน่วยงาน/ผ่าตัด
แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ห้องผ่าตัด และเวรเปลทราบ
  
15.พยาบาลหัวหน้าทีม กากับดูแล เข้มงวด
ให้บุคลากรทางการแพทย์และญาติปฏิบัติให้ถูกต้องระมัด
ระวัง เรื่องการแพร่กระจายเชื้อ
  
16.หยุดการใช้มาตรการ contact precaution
เมื่อผลเพาะเชื้อเป็นลบ (Negative)
  
 ปฏิบัติ * ตามสถานการณ์
 ไม่ต้องปฏิบัติ ตามนโยบายหน่วยงาน

Contenu connexe

Tendances

10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPEtaem
 
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักAiman Sadeeyamu
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009taem
 
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงUtai Sukviwatsirikul
 
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Utai Sukviwatsirikul
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมRachanont Hiranwong
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554Utai Sukviwatsirikul
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuipiyarat wongnai
 

Tendances (20)

10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
CLABSI
CLABSICLABSI
CLABSI
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
CAD IHD and VHD
CAD IHD and VHDCAD IHD and VHD
CAD IHD and VHD
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
 
PALS manual 2009
PALS manual 2009PALS manual 2009
PALS manual 2009
 
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
Ciprofloxacin hydochloride tablet n_due form1
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
 
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
 
VAP
VAPVAP
VAP
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
ประชากร1
ประชากร1ประชากร1
ประชากร1
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
 
Rdu
RduRdu
Rdu
 

Similaire à แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา

6 pharmabiology science technology bio.ppt
6 pharmabiology science technology bio.ppt6 pharmabiology science technology bio.ppt
6 pharmabiology science technology bio.pptBewwyKh1
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน14LIFEYES
 
การดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรียการดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรีย2077842018
 
การดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรียการดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรีย2077842018
 
Exanthematous fever in children
Exanthematous fever in childrenExanthematous fever in children
Exanthematous fever in childrenThorsang Chayovan
 
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประ...
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประ...การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประ...
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประ...Utai Sukviwatsirikul
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)Thitaree Samphao
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...Loveis1able Khumpuangdee
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน Thitaree Samphao
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)Thitaree Samphao
 

Similaire à แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา (17)

อีโคไลดื้อยา 8 กลุ่ม
อีโคไลดื้อยา 8 กลุ่มอีโคไลดื้อยา 8 กลุ่ม
อีโคไลดื้อยา 8 กลุ่ม
 
6 pharmabiology science technology bio.ppt
6 pharmabiology science technology bio.ppt6 pharmabiology science technology bio.ppt
6 pharmabiology science technology bio.ppt
 
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
มะเร็งการรักษาและการป้องกัน1
 
01 recent advance 2
01 recent advance 201 recent advance 2
01 recent advance 2
 
K 5
K 5K 5
K 5
 
Management of tb ppt
Management of tb pptManagement of tb ppt
Management of tb ppt
 
การดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรียการดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรีย
 
การดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรียการดื้อยาของแบคทีเรีย
การดื้อยาของแบคทีเรีย
 
Exanthematous fever in children
Exanthematous fever in childrenExanthematous fever in children
Exanthematous fever in children
 
Posaconazole
PosaconazolePosaconazole
Posaconazole
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประ...
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประ...การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประ...
การให้บริการทางเภสัชกรรม ในสถานประกอบการเภสัชกรรมชุมชน (ร้านยา) ภายใต้ระบบประ...
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
 
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
 
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
แนวทางการดาเน ํ นงานป ิ องก ้ นควบค ั มการระบาดของโรคม ุ ือ เท้า ปาก สําหรบแพ...
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (Web)
 

Plus de Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนUtai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaUtai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินUtai Sukviwatsirikul
 

Plus de Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา

  • 1. ~ 1 ~ แนวทางการป้ องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา โรงพยาบาลปากช่องนานา เชื้อดื้อยา (Multidrug-Resistant Organism: MDRO) หมายถึง 1. เชื้อจุลชีพ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งแบคทีเรีย) ที่ดื้อต่อยาต้านจุลชีพตั้งแต่ 3 กลุ่ม (class) ขึ้นไป 2. เชื้อจุลชีพที่ผลิตเอ็นไซม์ extended spectrum ß – lactamases (ESBLs) เช่น Escherichia coli (ESBLs), Klebsiella pneumoniae (ESBLs), Enterobacter cloacae(ESBLs) 3. เชื้อ Methicillin - resistant Staphylococcus aureus (MRSA) 4. เชื้อ Vancomycin - resistant enterococci (VRE) 5 . เชื้ อ Multi drug and extensively drug-resistant TB (MDR- TB/XDR-TB) ตัวอย่างเชื้อแบคทีเรียที่มีปัญหาดื้อยา 1. เชื้อสเตรปโตค็อกคัส นิวโมเนียอี (Streptococcus pneumoniae) 2. เชื้ออีโคไล (Escherichia coli) 3. เชื้ออะซีนีโตแบคเตอร์ บอแมนนิอาย (Acinetobacter baumannii) 4. เชื้อสูโดโมแนส แอรูจิโนซา (Pseudomonas aeruginosa) 5. เชื้อเอนเทอโรแบคเตอร์ (Enterobacter spp.) 6. เชื้อสแตปฟีโลค็อกคัส ออเรียส (Staphylococcus aureus) เช่น MRSA 7. เชื้อวัณโรค (Mycobacterium tuberculosis) 8. เชื้อเอนเทอโรค็อคคัส (Eterococcus spp.) เช่น E. faecalis, E. faecium, VRE 9. เชื้อเคล็บซิลล่า นิวโมเนียอี้ (Klebsiella pneumoniae) 10.เชื้อไซโตแบคเตอร์ ไดเวอร์ซัส (Citobacter diversus) ผู้ป่วยติดเชื้อดื้อยา หมายถึง ผู้ป่วยที่ตรวจพบเชื้อดื้อยาในร่างกาย ที่ยังไม่ได้รับการรักษา และได้รับการรักษา แต่ยังไม่สิ้นสุดการรักษา ระดับของการติดเชื้อดื้อยา ๑ . ก า ร ติ ด เ ชื้ อ ดื้ อ ย า รุ น แ ร ง ห ม า ย ถึ ง ผู้ป่วยที่ติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพที่มีใช้ในโรงพยาบาลทุกกลุ่ม (class)
  • 2. ~ 2 ~ ๒ . ก า ร ติ ด เ ชื้ อ ดื้ อ ย า ป า น ก ล า ง ห ม า ย ถึ ง ผู้ป่วยที่ติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพที่มีใช้ในโรงพยาบาลตั้งแต่ 3 กลุ่ม (class) ขึ้นไป ๓ . ก า ร ติ ด เ ชื้ อ ดื้ อ ย า ไ ม่ รุ น แ ร ง ห ม า ย ถึ ง ผู้ป่วยที่ติดเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพที่มีใช้ในโรงพยาบาลน้อยกว่า 3กลุ่ม (class) ยาต้านจุลชีพ กลุ่มยาต้านจุลชีพ ชนิดยาที่มีใช้ใน รพ.ปากช่องนานา ชนิดยาที่ไม่มีใช้ใน รพ.ปากช่องนานา 1. Aminoglycosides Gentamycin, Amikacin Neomycin, Streptomycin, Tobramycin 2. Carbapenem - Imipenem , Meropenem 3. Cephalosporins Cefazolin, Cefamandol, Cefuroxime, Cefotaxime, Ceftriaxone, Ceftazidime, Cefdinir(Omnicef) Cefaclor, Cephalothin, Ceftaroline, Cefepime,Cepirome 4. Chloramphenicol Chloramphenicol - 5. Glycopeptides - Vancomycin , Bleomycin 6. Lincosamide Lincomycin , Clindamycin - 7. Macrolide Erythromycin, Azithromycin, Roxithromycin Clarithromycin, Troleandomycin
  • 3. ~ 3 ~ 8. Penicillin Amoxicillin, Ampicillin, Cloxacillin, PGS, Pen V Carbenicillin, Flucloxacillin, Piperacillin 9. Polypeptide - Colistin, Bacitracin, Polymyxin B 10. Fluoroquinolone Ciprofloxacin, Norfloxacin, Ofloxacin Levofloxacin, Enoxacin 11. Sulfonamides Co-trimoxazole Sulfadiazine , Sulfasalazin 12. Tetracyclines Tetracycline, Doxycycline Oxytetracycline, Demeclocycline 13. อื่นๆ Metronidazole, Fosfomycin แนวทางการป้ องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา โรงพยาบาลปากช่องนานา 1. ตรวจสอบการติดเชื้อของผู้ป่วย จาก 1.1 ผลเพาะเชื้อ (ในใบ Microbiology Laboratory: สีขาว) 1.2 ใบ Refer ช่องผลการชันสูตร (กรณีรับ Refer จากโรงพยาบาลอื่น) 2. พิจารณาว่าเป็ นการติดเชื้อดื้อยาหรือไม่ (เปรียบเทียบกับชื่อเชื้อตัวอย่าง และตารางยาต้านจุลชีพ) 3. จัดระดับของการติดเชื้อดื้อยา 4. ปฏิบัติการพยาบาลตามระดับของการติดเชื้อดื้อยาอย่างเคร่งครัด 5. แจ้งพยาบาลควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลทราบทันที การปฏิบัติพยาบาลเพื่อป้ องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา กิจกรรมการพยาบาล ระดับของการติดเชื้อดื้ อยา รุนแ รง ปานก ลาง ไม่รุน แรง 1. แจ้งพยาบาลควบคุมการติดเชื้อ   
  • 4. ~ 4 ~ 2. แจ้งบุคลากรทุกคนในหอผู้ป่วยทราบ    3. แขวนป้ ายหน้าห้อง/เตียง และติดป้ ายหน้า Chart    4. แยกผู้ป่วย และของใช้ทั้งหมด รวมทั้งอุปกรณ์ทาความสะอาด   5. ไม่นา Chart ผู้ป่วย และเอกสารทุกชนิดเข้าห้อง หรือวางบนเตียงผู้ป่วย    6. ล้างมือทุกครั้งก่อนและหลังสัมผัสผู้ป่วย, อุปกรณ์หรือสิ่งแวดล้อมรอบตัวผู้ป่วย - มีแอลกอฮอล์ แฮนด์รับ ปลายเตียง       7. สวมอุปกรณ์ป้ องกันครบถ้วน และถอดก่อนออกจากห้องแยก/เตียงผู้ป่วย - Mask - ถุงมือ - เสื้อคลุม แว่นตา    *    *    * 8. จากัดบุคลากรที่จะเข้าไปดูแลผู้ป่วยในห้องแยก/เตียงผู้ป่ว ย    9. จากัดคนเยี่ยมให้เหลือน้อยที่สุด แนะนาญาติ    10.แยกผ้า และขยะ เป็นขยะติดเชื้อและการแยกผ้าติดเชื้อ    11.เปลี่ยนผ้าปูเตียง และเช็ดเตียงทุกวัน    12.ไม่กวาดฝุ่นบนพื้น    13.ทาความสะอาดสิ่งแวดล้อมภายในห้อง/บริเวณเตียงผู้ ป่วยด้วยน้า+ผงซักฟอก หรือน้ายาฆ่าเชื้อทุกวัน และเมื่อจาหน่าย   14.กรณีเคลื่อนย้ายผู้ป่วยไปตรวจนอกหน่วยงาน/ผ่าตัด แจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง/ห้องผ่าตัด และเวรเปลทราบ    15.พยาบาลหัวหน้าทีม กากับดูแล เข้มงวด ให้บุคลากรทางการแพทย์และญาติปฏิบัติให้ถูกต้องระมัด ระวัง เรื่องการแพร่กระจายเชื้อ    16.หยุดการใช้มาตรการ contact precaution เมื่อผลเพาะเชื้อเป็นลบ (Negative)     ปฏิบัติ * ตามสถานการณ์  ไม่ต้องปฏิบัติ ตามนโยบายหน่วยงาน